โครงงาน โครงงานสรรพคุณของแตงกวาท่ีมีผลต่อสภาพผวิ หนา้ จดั ทาโดย นางสาว ประสิตา คาปาตนั เลขท่ี 4 นางสาว เพชรลดา พมิ ดี เลขท่ี 5 นางสาว กันตพร อุดนัน เลขที่ 9 นางสาว จริ ัชญา จนั ทร์พฤกษ์ เลขที่ 7 นางสาว อนิ ทริ า บุญเกิด เลขท่ี 22 นางสาว พมิ พกานต์ ถนอมวงศ์ เลขท3่ี 7 ช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี 5/8 เสนอ ครู ดารงค์ คนั ธะเรศย์ ภาคเรียนท่ี 1 ปี การศึกษา 2564 โรงเรียนปัว อาเภอปัว จงั หวดั น่าน สานางานเขตพื้นทก่ี ารศึกษามัธยมศึกษาน่าน
โครงงาน โครงงานสรรพคุณของแตงกวาที่มีผลตอ่ สภาพผวิ หนา้ จดั ทาโดย นางสาว ประสิตา คาปาตนั เลขที่ 4 นางสาว เพชรลดา พิมดี เลขที่ 5 นางสาว กนั ตพร อดุ นนั เลขท่ี 9 นางสาว จิรัชญา จนั ทร์พฤกษ์ เลขท่ี 7 นางสาว อินทิรา บญุ เกิด เลขท่ี 22 นางสาว พิมพกานต์ ถนอมวงศ์ เลขท่ี37 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 5/8 เสนอ ครู ดารงค์ คนั ธะเรศย์ ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2564 โรงเรียนปัว อาเภอปัว จงั หวดั น่าน สานางานเขตพ้ืนที่การศึกษามธั ยมศึกษาน่าน
ก กติ ตกิ รรมประกาศ โครงงานน้ีสาเร็จลลุ ว่ งไดด้ ว้ ยความกรุณาจากคณุ ครูดารงค์ คนั ทะเรศค์ อาจารยท์ ี่ปรึกษาโครงงาน ท่ีไดใ้ หค้ าเสนอแนะ แนวคดิ ตลอดจนแกไ้ ขขอ้ บกพร่องต่างๆ มาโดยตลอด จนโครงงานอบี คุ๊ เล่มน้ีเสร็จ สมบูรณ์ ผศู้ กึ ษาจึงขอกราบขอบพระคุณเป็นอยา่ งสูง ขอบคุณเพอ่ื นทุดคน คุณครูที่ใหค้ วามร่วมมอื ในการใหค้ าแนะนา ซ่ึงเป็นส่วนหน่ึงที่ทาใหโ้ ครงงาน สาเร็จลุล่วงไปดว้ ยดี สุดทา้ ยน้ีพวกเราขอขอบพระคุณครูที่ช่วยเสริมสนบั สนุน กระตนุ้ เตือนและเป็นกาลงั ใจใหต้ ลอดมา ใหผ้ เู้ ขียนจดั ทาโครงงานในคร้ังน้ี
ข โครงงาน Is1 เรื่อง สรรพคุณของแตงกวาทม่ี ผี ลต่อสภาพผวิ หน้า ผ้จู ดั ทา นางสาว ประสิตา คาปาตนั นางสาว เพชรลดา พิมดี นางสาว กนั ตพร อดุ นนั นางสาว จิรัชญา จนั ทร์พฤกษ์ นางสาว อินทิรา บุญเกิด นางสาว พิมพกานต์ ถนอมวงศ์ อาจารย์ท่ีปรึกษา ครู ดารงค์ คนั ธะเรศย์ ท่ีต้งั 157/2 ต.อวน อ.ปัว จ.น่าน ระยะเวลาในการดาเนินการ กรกฎาคม-กนั ยายน บทคดั ย่อ โครงงานเร่ืองน้ีจดั ทา ข้ึนเพื่อให้รู้จกั ถึงการใชแ้ ตงกวาให้เกิดประโยชนต์ อ่ ชีวิตประจาวนั ของคนในปัจจุบนั โครงงานเล่มน้ีเป็นโครงงานวิทยาศาสตร์ซ่ึงจดั ทาเพ่ือศึกษาเรื่องเก่ียวกบั การใชแ้ ตงกวา ใหเ้ กิดประโยชน์ เพ่ือท่ีจะสามารถนามาใชก้ บั ชีวิตประจาวนั โดยผจู้ ดั ทาไดอ้ อกศึกษาคน้ ควา้ จากอินเทอร์เนต็ และจากคนในชุมชน ผจู้ ดั ทาไดค้ วามรู้สรรพคณุ ของแตงกวาในการนาแตงกวา มาแปรรูปเป็ นผลิตภณั ฑ์ ผจู้ ดั ทาหวงั เป็นอยา่ งย่งิ ว่ารายงานเล่มน้ีจะมีประโยชนต์ ่อผทู้ ี่คิดจะศึกษาสรรพคุณของ แตงกวาที่มีผลต่อผวิ หนา้ ไม่มากกน็ อ้ ย ขอขอบคณุ
ค สารบญั เร่ือง หนา้ กิตติกรรมประกาศ ......................................................................................................................................ก บทคดั ยอ่ ......................................................................................................................................................ข สารบญั .......................................................................................................................................................ค บทท่ี 1 บทนา...............................................................................................................................................1 ความสาคญั และความเป็นมาของปัญหา.........................................................................................1 วตั ถุประสงคข์ องการศกึ ษา............................................................................................................1 สมมติฐานของการศกึ ษา................................................................................................................1 ขอบเขตของการศึกษา....................................................................................................................1 นิยามศพั ท.์ .....................................................................................................................................1 ประโยชน์ทค่ี าดวา่ จะไดร้ ับ............................................................................................................2 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจยั ท่ีเก่ียวขอ้ ง.......................................................................................................3 สรรพคุณของแตงกวา....................................................................................................................4 บทท่ี 3 วธิ ีดาเนินการ..................................................................................................................................6 ระเบียบวิธีใชใ้ นการศึกษา.............................................................................................................6 ประชากรท่ีใชใ้ นการศึกษา............................................................................................................6 ระยะเวลาท่ีใชใ้ นการศกึ ษา............................................................................................................7 วธิ ีดาเนินการศกึ ษา........................................................................................................................8 สถติ ิที่ใชใ้ นการศึกษา ...................................................................................................................8 เครื่องมือที่ใชใ้ นการศกึ ษา ............................................................................................................8 มาตราส่วน 5 ระดบั .......................................................................................................................8 การพจิ ารณาค่าเฉลีย่ .....................................................................................................................8 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล..................................................................................................................9 การวิเคราะห์ขอ้ มูล .......................................................................................................................9 บทที่ 4 ผลการวิเคราะหข์ อ้ มูล....................................................................................................................10 การวิเคราะหข์ อ้ มลู .......................................................................................................................10
บทท่ี 5 สรุปผล อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ.......................................................................................11 วตั ถปุ ระสงคข์ องการศกึ ษา.......................................................................................................11 สมมตุ ิฐานของการศกึ ษา...........................................................................................................11 ขอบเขตของการศกึ ษา...............................................................................................................11 ประชากรท่ีใชใ้ นการศึกษา .......................................................................................................12 สรุปผลการศกึ ษา.......................................................................................................................12 การอภิปรายผล..........................................................................................................................12 ขอ้ เสนอแนะ..............................................................................................................................12 บรรณานุกรม.............................................................................................................................13
1 บทท1่ี บทนา ความสาคญั และความเป็ นมาของปัญหา แตงกวาเป็นพชื ท่ีสามารถปลูกไดง้ ่ายในประเทศไทยและนิยมปลูกกนั มากในภาค ตะวนั ออกเฉียงเหนือหรือภาคอสี านซ่ึงเป็นภาคที่ผศู้ ึกษาอาศยั อยจู่ ึงมีความคิดท่ีจะนาแตงกวาท่ีหาไดง้ ่ายใน ทอ้ งถิ่นมาประยกุ ตใ์ ชใ้ หไ้ ดป้ ระโยชนม์ าท่ีสุด แตงกวานอกจากจะเป็นพชื ท่ีสามารถรับประทานไดแ้ ลว้ และสามาเป็นเครื่องเคียงที่คนไทยนิยม นามาใชเ้ ป็นเคร่ืองเคียง เช่น นาไปแจ่วกบั น้าพริกปลาทู และปัจจุบนั แตงกวาเป็นยอดนิยมในหมู่แม่คา้ ทข่ี าย ลูกช้ิน แมค่ า้ มกั จะนาแตงกวามาเป็นเคร่ืองเคียง และจะเป็นเคร่ืองเคียงของผบู้ ริโภคไดเ้ ป็นอยา่ งดีนอกจาก จะเป็นเคร่ืองเคียงแลว้ ยงั สามารถนาไปประกอบอาหารไดอ้ กี เช่น ผดั แตงกวา แกงจืดแตงกวา และเป็นที่ชื่น ชอบสาหรับเด็ก เพราะเดก็ ๆชอบนาแตงกวา ไปรับประทานเลน่ ๆเพราะแตงกวาจะมีรสหวานกรอบทาให้ เป็นท่ีชื่นชอบของเด็กๆและยงั ชุ่มชื่นไปดว้ ยน้าที่อยใู่ นแตงกวา แตงกวายงั เป็นสมนุ ไพรมีสรรพคุณทางยาคือมสี รรพคุณเกี่ยวกบั การบารุงผวิ อยา่ งดี โดยเฉพาะการ บารุงผวิ และแกป้ ัญหาต่างๆของผวิ หนา้ เช่น ลดความมนั บนใบหนา้ ช่วยในการกระชบั รูขุมขนช่วยในการ ฆา่ เช้ืออ่อนๆบนใบหนา้ รักษารอยดาคล้าสาหรับคนนอนดกึ ลดรอยเหี่ยวยน่ บนใบหนา้ ผศู้ ึกษาจึงสนใจท่ี จะศึกษาเกี่ยวกบั สรรพคุณของแตงกวา วตั ถุประสงค์การของการศึกษา 1.เพ่อื ศึกษาสรรพคณุ ของแตงกวาที่มผี ลต่อสภาพผวิ สมมุตฐิ านของการศึกษา สรรพคุณของแตงกวาสามารถทาใหป้ ัญหาต่างๆบนใบหนา้ ลดลงได้ ขอบเขตของการศึกษา นกั เรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาปี ท่ี5/8
2 1. กล่มุ ตวั อย่างทใี่ ช้ในการศึกษา นกั เรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาปี ท่ี 5/8 2. เนื้อหา สรรพคุณของแตงกวาท่ีมผี ลต่อสภาพผวิ บนใบหนา้ 3. ระยะเวลา ระยะเวลาท่ีทาการทดลอง กรกฎาคม- กนั ยายน พ.ศ.2564 นยิ ามศัพท์ 1. สภาพผวิ บนใบหนา้ หมายถึง ส่ิงต่างๆที่เกิดข้นึ บนใบหนา้ เช่น สิว ฝ้า ริวรอยต่างๆ ความหมองคล้าบน ใบหนา้ ประโยชน์ทค่ี าดว่าจะได้รับ ทาใหท้ ราบว่าแตงกวาที่มอี ยตู่ ามทอ้ งถิน่ ต่างๆน้นั มสี รรพคุณในการชว่ ยลดปัญหาต่างๆบนใบหนา้ ใหล้ ดลงได้ เช่นใบหนา้ ที่มีความมนั จดุ ด่างดา ความหมองคล้า เป็นแนวทางในการรักษาใบหนา้ อยา่ งถูกวิธี จากแตงกวาท่ีมอี ยตู่ ามทอ้ งถ่นิ ทว่ั ไปซ่ึงแตงกวาน้นั ก็เป็นสมุนไพรชนิดหน่ึงท่ีช่วยรักษาปัญหาต่างๆบน ใบหนา้ ใหล้ ดนอ้ ยลงได้
3 บทท่2ี เอกสารและงานวิจัยที่เก่ยี วข้อง การศึกษาในคร้ังน้ี ผศู้ กึ ษาไดศ้ กึ ษาเอกสารและงานวจิ ยั ท่ีเกี่ยวขอ้ ง โดยแบ่งเน้ือหาของเอกสาร งานวิจยั ออกเป็นหวั ขอ้ ต่างๆดงั น้ี 1.สรรพคุณของแตงกวา ภญ.ดร.สุภาภรณ์ ปิติพร หวั หนา้ กลมุ่ งานเภสชั กรรมโรงพยาบาลเจา้ พระยาอภยั ภูเบศร กล่าวไวว้ ่า ผวิ หนงั นบั เป็นอวยั วะท่ีอยนู่ อกสุด ซ่ึงทาหนา้ ที่ปกป้องร่างกายจากความร้อน ความเยน็ แสงเช้ือโรค และ สารต่างๆ ที่จะเขา้ สู่ร่างกาย โดยมกี ลไกท่ีหลากหลาย เช่น ระบบการควบคุมอณุ หภูมผิ า่ นต่อมเหง่ือ ระบบ การเก็บกกั น้าและไขมนั เพ่อื ป้องกนั การกระทบกระแทก และการซึมผา่ นของสารต่างๆ ระบบภูมคิ ุม้ กนั เพอ่ื ป้องกนั เช้ือโรคต่างๆ เขา้ สูร้ ่างกาย เป็นตน้ ผวิ หนา้ ก็มีบทบาทท่ีสาคญั ไม่นอ้ ย คือความมนั่ ใจของทุกคน ไม่ว่าจะเป็นหญิงหรือชาย ดงั น้นั ในทุก ยคุ ทุกสมยั จึงมกี ารใชส้ มุนไพรเพื่อการดูแลผวิ หนา้ กนั มาอยา่ งยาวนาน \"แตงกวา\" ก็นบั เป็นอกี หน่ึงสมนุ ไพรท่ีเป็นท้งั อาหารและเครื่องสาอาง ซ่ึงมหี ลกั ฐานการปลูกเพอ่ื กิน เพ่อื ใชใ้ นอินเดียและอยี ปิ ตม์ านานกว่า 4พนั ปี และเป็นท่ีทราบกนั ดีว่า แตงกวาน้นั มสี รรพคณุ ในการบารุงผวิ เป็นอยา่ งดี โดยเฉพาะการบารุงและการแกป้ ัญหาต่างๆ ของผวิ หนา้ เช่น ผวิ หนา้ อกั เสบบวมแดงจากากรถูกแดดเผา: แตงกวาสามารถลดการอกั เสบของผวิ หนา้ อนั จะนาไปสู่การไหวเ้ กรียม หรือฝ้าพระ โดยรีบใชน้ ้าค้นั แตงกวาพอกทบั่ ใบหนา้ ใหเ้ ร็วท่ีสุด เพ่อื ลดอาการแสบบวมแดง ร้อน และถา้ ใหด้ ีควรทาใหเ้ ยน็ จะไดผ้ ลดีข้ึน ซ่ึงอาการดงั กลา่ วจะหายเป็นปลดั ท้ิงหลงั พอกประมาณ 10 นาที การรกั ษาสิวในวยั รุ่น :ในแตงกวา มีฤทธ์ิฝาดสมาน ซ่ึงช่วยกระชบั รูขุมขน ลดความมนั บนใบหนา้ และช่วยฆา่ เช้ืออ่อนๆ รักษารอยดาคล้า บวม รอบดวงตา: ผงิ รอบดวงตา เป็นบริเวณที่มคี วามบอบบาง และมแี นวโนม้ ที่จะ เกิดริ้วรอยไดง้ ่ายกวา่ ส่วนอนื่ ๆ เนื่องจากผวิ บริเวณน้ีมีต่อมไขมนั นอ้ ยกวา่ บริเวณอนื่ ของผวิ หนา้ จึงมีโอกาส จะขาดความชุ่มชืน่ ไดง้ ่าย ดงั น้นั การเผชิญกบั แสงแดด การด่ืมน้านอ้ ยการใชแ้ ป้งทาพอกหนา้ บริเวณน้ีมากเกินไป การอยหู่ นา้ จอ
4 คอมพิวเตอร์นานๆ ลว้ นเป็นปัจจยั ใหเ้ กดิ ปัญหาท้งั ส้ิน และเพอ่ื เป็นการรักษาและป้องกนั รอยดาคล้า เห่ียว ยน่ หรือบวมรอบดวงตา ควรฝานแตงกวาตามขวางเป็นวงๆ วางไวร้ อบดวงตาก่อน นอนเป็นประจา เพราะ นอกจากจะชว่ ยรักษาความชุ่มช่ืนในช้นั ผดิ หวงั ไดด้ ีแลว้ แตงกวายงั เป็นแหลง่ ซิลิกาท่ีสาคญั ซ่ึงจะทา ใหเ้ น้ือเยอื่ เกี่ยวพนั เลบ็ ผมและกระดูก แข็งแรงข้นึ รักษาความเยาวว์ ยั ใหผ้ วิ พรรณ : แตงกวาอุดมไปดว้ ยวติ ามนิ ซี แร่ธาตุ และพฤกษเ์ คมีที่มคี ุณสมบตั ิ ตา้ นอนุมลู อิสระ จึงช่วยชะลอความชราของผวิ พรรณ และมีการศกึ ษาวจิ ยั สนบั สนุนการใชแ้ ตงกวาลบรอบ เห่ียวยน่ จากการที่แตงกวามคี ุณสมบตั ิ Anti-hyaluronidase และ anti-elastase ท่ีโดดเดน่ กว่าสมุนไพรตวั อ่ืนๆ คือ ในแตงกวามีวติ ามนิ เค ท่ีมกั ไมพ่ บในพืชชนิดอ่ืนๆ ซ่ึงวิตามนิ เคมีมีบทบาทสาคญั ในการชะลอ ความชราของเซลลต์ ่างๆ ในร่างกาย รักษาหนา้ แหง้ : เป็นท่ีรู้กนั มานานนบั พนั ปี ว่า แตงกวา เกิดมาเพ่อื หญิงสาว ซ่ึงเป็นหญิงสาวทวั่ โลกใน อดีต รักษาผวิ หนา้ ใหอ้ อ่ นเยาว์ ลบรอยเหี่ยวยน่ ลบรอบแผลเป็นโดยการหนั่ แตงกวาเป็นชิ้นบางๆแลว้ แปะ ท้ิงไวบ้ นใบหนา้ ซ่ึงพบว่าในแตงกวามีสารที่มปี ระโยชนต์ อ่ ผวิ หนา้ ท้งั วติ ามิน เกลือแร่ อะมิโน แอซิด ซ่ึงจะ ช่วยรักษาความชุ่มชื่นไวใ้ ตผ้ วิ หนงั ทาใหผ้ วิ หนงั ออ่ นนุ่ม คนื ความชุมช้นื ตามธรรมชาติใหผ้ วิ หนา้ การรกั ษาความชุ่มช้ืนใหผ้ วิ หนา้ โดยเฉพาะในหนา้ หนาว ซ่ึงมีความช้นื ในบรรยากาศต่า ทาใหน้ ้าใน ผวิ หนงั ของเราถูกดึงออกมามาก นาไปสู่ปัญหา ต่างๆ ของผวิ ตามมา และการหาตวั ช่วยในการบารุงและ แกป้ ัญหาต่างๆ ของผวิ น้นั คงไม่ใช่เร่ืองใหญ่อีก ต่อไป เพราะเพียงพอกหนา้ ดว้ ยแตงกวาแลว้ ลา้ งออก จากน้นั ทาผวิ บางๆ ดว้ ยน้ามนั ธรรมชาติ เช่น น้ามนั มะพรา้ ว น้ามนั ราขา้ ว หรือน้ามนั งา เพยี งแค่น้ีผวิ หนา้ ก็ จะสดใส ชุ่มชื่น คืนความอน่ เยาวไ์ ดแ้ มใ้ นหนา้ หนาว นอกจากน้ีการทาเครื่องสาอางจากแตงกวาไวใ้ ชเ้ องกไ็ ม่ใช่เร่ืองยาก ซ่ึงมีสูตรในทาเคร่ืองสาอางจาก แตงกว่าง่ายๆ นน่ั คือ การทาสารสกดั แตงกวาในกลเี ซอรีน โดยนาแตงกวา 4 ส่วน กลีเซอรีน 3 ส่วน น้า 1 ส่วน ปั่นเขา้ ดว้ ยกนั จากน้นั กรองผา่ นผา้ ขาวบางสะอาด นาน้าที่กรองไดเ้ กบ็ ไวใ้ ชไ้ ดป้ ระมาณ 1 ปี แต่ ควรเก็บในท่ีเยน็ เพราะสารในแตงกวาที่มีประโยชน์ต่อผวิ หนา้ ไม่สามารถทนต่อความร้อนไดแ้ ละเรา สามารถนาสารสกดั แตงกวาน้ีไปใชโ้ ดยการเติมลงไปในครีมทาหนา้ ทวั่ ไปประมาณ 2-4 ชอ้ น ชา ต่อ 100 กรัม คนใหเ้ ขา้ กนั เกบ็ ไวใ้ ชเ้ ป็นครีม แตงกวาทาผวิ ปัจจุบนั บริษทั เคร่ืองสาอางทวั่ โลกใชส้ ารกดั จากแตงวาใส่ในครีมต่างๆ เช่น ครีมกนั แดด ครีมลบรอบ เหี่ยวยน่ ครีมเพมิ่ ความชุ่มชื่น ครีมรกั ษาผวิ มนั ครีมลบจุดด่างดาบนใบหนา้ และยงั ผสมใส่ในแชมพู และโลชน่ั ต่างๆ โดยความเขม้ ขน้ ของสารสกดั ที่ใชใ้ นเครื่องสาอางเหลา่ น้ี จะอยรู่ ะหวา่ ง 1-10% นน่ั เอง แตงกวาเป็นผกั ที่กนิ แกลม้ กบั อาหารคาวไดห้ ลากหลายเมนู เช่น ขา้ วผดั ขา้ วมนั ไก่ สเตก๊ หรือลาบ บางคร้ังกก็ ินเป็นผกั เหนาะจิ้มน้าพริก หน่ั ใส่ในอาจาดหรือน้าจิ้มชนิดต่าง ๆ ใส่ในสลดั หรือจะกินเล่นก็ยไั ด้
5 ส่วนเมนูท่ีนาแตงกวาไปปรุงสุกเท่าท่ีพอจะคนุ้ ตากนั ก็เชน่ แตงผดั ไข่หรือแกงจืดแตงกวายดั ไส้ ดว้ ยว่ารส หวาน กรุบกรอบฉ่าน้า กนิ ง่าย และมใี หก้ ินตลอดท้งั ปี ผกั ชนิดน้ีจึงขายดบั ขายดีท้งั ในบา้ นเราและใน ต่างประเทศ ในแตงกวา 100 กรัม มวี ติ ามินซีประมาณ 20 มิลลิกรัม ช่วยใหต้ า้ นอนุมูลอสิ ระที่เป็นตวั การเร่ง ความแก่ในร่างกายได้ มเี สน้ ใยอาหาร 0.7 กรัม จึงดีต่อระบบขบั ถ่าย ท้งั น้ี ควรกินท้งั เปลือก เพอ่ื ใหไ้ ดร้ ับประโยชนส์ ูงสุด เพียงแต่ตอ้ งลา้ งใหส้ ะอาด เพราะแตงกวาเป็นผกั ที่ใชส้ ารเคมใี นการปลกู ค่อนขา้ งมาก แตงกวายงั มีเบตาแคโรทีนที่มบี ทบาทสาคญั ต่อดวงตาดว้ ย แตงกวาเป็นผกั ที่มีฤทธ์ิเยน็ สรรพคุณของแตงกวากเ็ ช่น เป็นยาระบายอ่อน ๆ ช่วยขบั ปัสสาวะ ขบั เหง่ือ ขบั น้านม และลดไข้ และความที่ มนี ้าเป็นองคป์ ระกอบอยถู่ ึงร้อยละ 96.1 แตงกวาจึงมสี รรพคุณช่วยใหร้ ่างกายสดชื่น แกก้ ระหายได้ แต่ แตงกวาก็มีกรดยรู ิกอยู่ ผทู้ ่ีเป็นโรคเกาตจ์ ึงไมค่ วรกินมาก เพราะอาจทาใหอ้ าหารกาเริบรสขมของแตงกวาที่ นาน ๆ จะเจอสกั คร้ังน้นั คนสมยั ก่อนเช่ือกนั วา่ เป็นเพราะมงี ูเล้อื ยผา่ นตน้ แตงกวา ทาใหผ้ ลแตงตน้ น้นั มีรส ขม แต่นกั วทิ ยาศาสตร์อธิบายว่า รสขมน้ีเกดิ จากพนั ธุกรรมของแตงกวาที่มกี ารสร้างสารคูเคอร์บิตาซิน (cucurbitacin) ข้ึนเพอ่ื ปกป้องตวั เองจากแมลงศตั รูพชื หากสารน้ีมมี ากกจ็ ะทาใหร้ ู้สึกขม นอกจากน้ีสภาวะ แวดลอ้ ม ท้งั แสงแดด ความช้ืน และปริมาณน้า กม็ ผี ลต่อการสร้างสารดงั กล่าวดว้ ย แต่รสขมน้ีกลบั มี ประโยชน์ โดยมงี านวจิ ยั พบว่า สารน้ีอาจช่วยยบั ยง้ั เซลลม์ ะเร็งได้ ส่วนวธิ ีแกร้ สขมของแตงกวากไ็ มย่ าก เพยี งแต่ตดั ข้วั และปอกเปลอื กออก เพราะเป็นส่วนที่มสี ารน้ีอยมู่ ากท่ีสุด ผา่ ตามยาว วางท้ิงไวส้ กั พกั แลว้ นาไปแช่น้าเกลือ 3 นาที เพียงเท่าน้ีกไ็ ม่ตอ้ งทิ้งแตงกวาใหเ้ สียเปล่าแลว้ ในยคุ น้ีตามร้านอาหารมกั จะใชแ้ ตงร้านแทนแตงกวา เพราะผลขนาดใหญ่และราคาถกู กว่า แต่กร็ สหวาน กรอบสูแ้ ตงกวาไมไ่ ด้ ส่วนดา้ นคณุ ค่าสารอาหารก็ไม่แตกต่างจากแตงกวามาก สาหรับวธิ ีเลือกซ้ือแตงกวา ใหไ้ ดค้ ุณภาพดีน้นั ตอ้ งเลือกลกู ท่ีไม่เลก็ ไมใ่ หญ่เกินไป ผวิ เต่งตึง ไมเ่ ห่ียว สีไมเ่ หลอื ง ไม่มีรอยช้าหรือแผล และหากตอ้ งการเกบ็ ไวก้ ินหลาย ๆ วนั ใหแ้ ช่ไวใ้ นตูเ้ ยน็ โดยไมต่ อ้ งลา้ ง เมอ่ื จะนาออกมากินจึงค่อยลา้ ง สาหรับผหู้ ญิงที่รักการบารุงผวิ คงคุน้ เคยกบั ผลิตภณั ฑท์ ่ีมกี ารสกดั จากแตงกวาเป็นส่วนประกอบ ท่ีจริง แตงกวาสดก็ช่วยใหผ้ วิ หนา้ กระจ่างใสไดแ้ บบไม่ตอ้ งเปลอื งเงิน เพยี งนาแตงกวาแช่เยน็ มาหน่ั เป็นแวน่ บาง ๆ วางท้ิงไวบ้ นหนา้ สกั 20 นาที เอนไซมอ์ ีเรพซิน (erepsin) ซ่งึ มีหนา้ ที่ยอ่ ยโปรตีน รวมถึงความเป็นกรดออ่ น ๆ ในแตงกวาจะผลดั เซลลผ์ วิ เก่าบนใบหนา้ ใหห้ ลดุ ออก ช่วยใหข้ บั ใบหนา้ ขาวใส โดยไมร่ ะคายเคือง นอกจากน้ี ใครที่ผวิ ถูกแดดเผาจนแดงแสบ กใ็ ชว้ ธิ ีน้ีช่วยบรรเทาอาการไดด้ ีเช่นกนั เพราะแตงกวาจะช่วยเติม ความชุ่มช้ืนใหก้ บั ผวิ ไดเ้ ป็นอยา่ งดี
6 บทท่ี 3 วธิ ีดาเนินการ ในการศกึ ษาคร้ังน้ีผศู้ กึ ษาไดท้ าการศกึ ษาสรรพคุณของแตงกวาท่ีมีผลต่อสภาพผวิ ซ่ึงมวี ธิ กี ารดงั น้ี ระเบยี บวธิ ที ่ีใช้ในการศึกษา ในการศึกษาใชร้ ูปแบบการสารวจ สืบคน้ ขอ้ มลู จากหนงั สือ อนิ เตอร์เน็ต และตอบแบบสอบถาม ประชากรทใี่ ช้ในการศึกษา 1.ประชากร ประชากรที่ใชใ้ นการศึกษาคร้ังน้ี เป็นนกั เรียนระดบั ช้นั มธั ยมศกึ ษาปี ท่ี5/8
7 โรงเรียนท่าตูมประชาเสริมวทิ ย์ ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2564 จานวน 1หอ้ งเรียน เป็นนกั เรียนท้งั สิ้น37 คน 1. กลุ่มตวั อย่าง กลุ่มตวั อยา่ งท่ีใชใ้ นการศกึ ษาคร้ังน้ีไดแ้ กน่ กั เรียนระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่5/8 โรงเรียนปัว ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 22564 เป็นนกั เรียนท้งั สิ้น37คน ไดม้ าโดยสุ่มอยา่ งง่าย จานวน1หอ้ งเรียน เพื่อ ตอบแบบสอบถามท่ีสร้างข้ึน 1. ระยะเวลาที่ใช้ในการศึกษา ระยะเวลาท่ีใชใ้ นการศกึ ษา ในภาคเรียนท่ี 1 ปี การศึกษา 2564 วธิ ดี าเนนิ การศึกษา ผศู้ ึกษาไดด้ าเนินการตามข้นั ตอนดงั น้ี 1. กาหนดเร่ืองที่จะศึกษา โดยสมาชกิ ท้งั 2 คน ประชุมร่วมกนั และร่วมกนั คิดและวางแผน วา่ จะศึกษาเรื่องใด 2. สารวจปัญหาที่พบในโรงเรียน ซ่ึงมีท้งั ปัญหาดา้ นผเู้ รียน ครูผสู้ อน อาคาร สถานท่ี ส่ิงแวดลอ้ มใน โรงเรียน ฯลฯ 3. เลอื กเรื่องที่จะศกึ ษา โดยเลอื กเร่ืองที่สมาชิกมคี วามสนใจมากที่สุด เพอ่ื เป็นแรงจูงใจในการคน้ หาคาตอบ 4. ศกึ ษาแนวคดิ ในการแกป้ ัญหา ( ในขอ้ น้ียงั ไมส่ ามารถดาเนินการไดเ้ น่ืองจาก การเรียนรายวชิ า IS 2 เวลามี จากดั ผศู้ กึ ษาจึงทาไดเ้ ฉพาะการสารวจความคิดเห็นและสร้างเครื่องมอื (แบบสอบถาม) ศึกษาเพียงเพือ่ ใหม้ ี ความรู้ ความเขา้ ใจ เร่ืองกระบวนการวจิ ยั เท่าน้นั 5. ต้งั ชื่อเร่ือง 6. สมาชิกท้งั 2 คนของกลุ่ม พบครูผสู้ อนเพ่อื ปรึกษา วางแผนและรับฟังความคิดเห็น ปรับปรุงแกไ้ ข 7. เขียนความสาคญั ความเป็นมาของปัญหา วตั ถปุ ระสงค์ สมมตุ ิฐาน ขอบเขตการวจิ ยั และประโยชนท์ ี่คาดวา่ จะไดร้ ับ โดยศกึ ษาขอ้ มูลจากหนงั สือ วทิ ยานิพนธแ์ ละสืบคน้ ขอ้ มลู จากอนิ เตอร์เน็ต และจดบนั ทกึ ใน โครงร่างรายงานเชิงวิชาการ ( ตามใบงาน) 8. สร้างเครื่องมอื ท่ีเป็นแบบสอบถาม จานวน20ขอ้ 9. นาเคร่ืองมือที่ปรับปรุงแลว้ ไปใชก้ บั กลุ่มตวั อยา่ ง 10. รวบรวมขอ้ มลู 11. วเิ คราะหข์ อ้ มลู 12. สรุปการศึกษา
8 วธิ ีดาเนินการ
9 สถติ ทิ ่ใี ช้ในการศึกษา สถติ ิที่ใชใ้ นการศกึ ษาคร้ังน้ี คือ การหาค่าเฉลีย่ คิดเป็น ร้อยละ เครื่องมือท่ีใช้ในการศึกษา เครื่องมือที่ใชใ้ นการศกึ ษาคร้ังน้ี คือ แบบสอบถาม ( หรือแบบประเมนิ ความพงึ พอใจ) 1 ฉบบั ซ่ึงมี รายละเอยี ดดงั น้ี 1. ออกแบบสอบถาม เรื่อง สรรพคุณของแตงกวาที่ผลตอ่ สภาพผวิ บนใบหนา้ 2. โดยขอคาแนะนาจากคณุ ครูรุ่งทิวา หลาแสนเมือง โดยเตรียมร่างขอ้ คาถาม มีลกั ษณะเป็นขอ้ คาถามจานวน 20ขอ้ มาตราส่วนประมาณ 5 ระดบั คือ 5 หมายถึง เห็นดว้ ยมากที่สุด เห็นดว้ ยมากทส่ี ุด 4 หมายถึง เห็นดว้ ยมาก เห็นดว้ ยมาก 3 หมายถงึ เห็นดว้ ยปานกลาง เห็นดว้ ยปานกลาง 2 หมายถงึ เห็นดว้ ยนอ้ ย เห็นดว้ ยนอ้ ย 1 หมายถึง เห็นดว้ ยนอ้ ยท่ีสุด เห็นดว้ ยนอ้ ยท่ีสุด การพจิ ารณาค่าเฉลยี่ จะใช้เกณฑ์ดงั นี้ ค่าเฉลย่ี 4.51 – 5.00 หมายถึง ค่าเฉลยี่ 3.51 – 4.50 หมายถึง ค่าเฉลีย่ 2.51 – 3.50 หมายถงึ ค่าเฉล่ีย 1.51 – 2.50 หมายถึง ค่าเฉลย่ี 1.00– 1.50 หมายถึง
10 3. สร้างแบบสอบถาม เร่ืองสรรพคุณของแตงกวาที่มผี ลต่อสภาพผวิ บนใบหนา้ โดยขอคาแนะนา จาก คุณครูดารงค์ คนั ธะเรศน์ จากน้นั นามาปรับปรุงแกไ้ ข แลว้ นาไปตรวจสอบความเหมาะสม 4. นาแบบสอบถามเร่ืองสรรพคุณของแตงกวาท่ีมผี ลต่อสภาพผวิ บนใบหนา้ ที่แกไ้ ข ปรับปรุงแลว้ ใหก้ ล่มุ เป็ นแบบ การเกบ็ รวบรวมข้อมลู การศึกษาคร้ังน้ีไดด้ าเนินการโดยนาแบบสอบถามท่ีสร้างข้ึนใหน้ กั เรียนกล่มุ ตวั อยา่ งตอบ จานวน10คน และเก็บรวบรวมขอ้ มลู จากนกั เรียน ท่ีเป็นกลุ่มตวั อยา่ ง โดยผศู้ กึ ษาท้งั 2 คน ดาเนินการเก็บ รวบรวมขอ้ มลู ดว้ ยตนเอง การวเิ คราะห์ข้อมลู ในการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ผศู้ ึกษาไดว้ เิ คราะห์ขอ้ มูลดงั น้ี 1. นาแบบสอบถามท้งั หมดท่ีตอบโดยนกั เรียนกล่มุ ตวั อยา่ ง มาหาค่าคะแนนรวม 2. นาผลรวมมาคิดค่าร้อยละ
10 บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล การวเิ คราะห์ข้อมลู ตารางท่ี 1 แสดงผลระดบั คะแนนการประเมินสรรพคุณของแตงกวาท่ีมผี ลต่อสภาพผวิ บนใบหนา้ รายการประเมิน ระดับคะแนน 1 1.ลดความร้อนบนใบหน้า 5 432 ✓ 2.ทาให้ใบหนา้ ชุ่มชื้น ✓ 3.สวิ เส้ยี นบนใบหนา้ ดูจางลง ✓ 4.จดุ ด่างดาดจู างลง ✓ 5.ความมนั บนใบหนา้ เบาลง ✓ 6.ความพงึ พอใจสรรพคุณของแตงกวา ✓
11 บทที่ 5 สรุปผล อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ จากการศึกษาคร้ังน้ีเพอ่ื ศึกษาสรรพคณุ ของแตงกวาที่มผี ลต่อสภาพผวิ โรงเรียนปัว ในภาคเรียนท่ี1 ปี การศกึ ษา 2564 ซ่ึงสามารถสรุปผล อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะได้ ดงั น้ี 1. วตั ถุประสงคข์ องการศึกษา 2. สมมุตติฐานของการศึกษา 3. ขอบเขตของการศึกษา 4. เครื่องมือที่ใชใ้ นการศึกษา 5. วิเคราะหข์ อ้ มลู 6. สรุปผลการศกึ ษา 7. ขอ้ เสนอแนะ วตั ถุประสงค์ของการศึกษา เพื่อศกึ ษาสรรพคณุ ของแตงกวาที่มีผลต่อสภาพผวิ สมมตุ ตฐิ านของการศึกษา สรรพคุณของแตงกวาสามารถทาใหป้ ัญหาต่างๆบนใบหนา้ ลดลงได้ ขอบเขตของการศึกษา นกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่5/8 ประชากรที่ใช้ในการศกึ ษาคร้ังนี้ นกั เรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาปี ท่ี5/8
12 1. กล่มุ ตวั อย่างทใี่ ช้ในการศึกษา นกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่5/8 เคร่ืองมือท่ใี ช้ในการศึกษาสรรพคุณของแตงกวาทม่ี ผี ลต่อสภาพผวิ เครื่องมือท่ีใชใ้ นการศึกษาคร้ังน้ีประกอบดว้ ยแบบสอบถาม จานวน1ฉบบั เรื่องสรรพคุณของแตงกวาที่มี ผลต่อสภาพผวิ โรงเรียนปัว จานวน5ขอ้ การวเิ คราะห์ข้อมลู ในการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ผศู้ กึ ษาไดว้ ิเคราะห์ขอ้ มูลของนกั เรียนที่มีต่อสรรพคณุ ของแตงกวาที่มีผล ต่อสภาพผวิ เช่น ทาใหใ้ บหนา้ ชุ่มช้ืน โดยการคิดคะแนนเฉลย่ี เป็นค่าร้อยละ สรุปผลการศึกษา ผลการศึกษาที่มตี ่อการศกึ ษาเรื่องสรรพคุณของแตงกวาท่ีมผี ลต่อสภาพผวิ อยใู่ นระดบั คณุ ภาพมาก ท่ีสุด การอภิปรายผล จากการศกึ ษาสรรพคุณของแตงกวาที่มีผลต่อสภาพผวิ ของนกั เรียน ในระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 5/8 โรงเรียนปัว พบวา่ นกั เรียนทกุ คนมี ความพงึ พอใจในสรรพคุณของแตงกวาอยใู่ นระดบั มากที่สุดคิดเป็นร้อย ละ ข้อเสนอแนะ ขอ้ เสนอแนะในการศึกษาคร้ังน้ี 1. สามารถนาไปศกึ ษาปัญหาต่างๆท่ีพบในโรงเรียนได้ แต่ควรมตี วั แปรร่วมดว้ ย เพอ่ื ใหก้ ารศึกษา มคี ุณภาพ 2. สามารถนาไปศึกษากบั กลมุ่ ตวั อยา่ งอน่ื 3. ควรมเี วลาศกึ ษามากข้นึ
13 บรรณานุกรม ใชเ้ อกสารที่เก่ียวกบั การคน้ ควา้ อสิ ระในคร้ังน้ีดงั น้ี 1.หนงั สือหมอชาวบา้ น 2. http://www.ladyfirstshop.com 3. http://th.wikipedia.org/wiki
Search
Read the Text Version
- 1 - 25
Pages: