Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่-1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบัญชีต้นทุน

บทที่-1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบัญชีต้นทุน

Published by venus_zz_9, 2016-08-29 05:05:24

Description: บทที่-1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบัญชีต้นทุน

Keywords: Cost Accounting

Search

Read the Text Version

1 หนว่ ยที่ 1 ความรทู้ ่ัวไปเกี่ยวกับการบญั ชตี ้นทนุหวั ข้อเร่ือง 1. ความหมายและวตั ถุประสงคข์ องการบัญชีตน้ ทุน 2. ตน้ ทนุ การผลติ (Manufacturing Cost) 3. งบการเงนิ ทางธุรกจิ อุตสาหกรรมสาระสาคัญ การบัญชตี ้นทุนเป็นพื้นฐานของการเรียนบัญชชี ้ันสงู การบัญชีบริหาร การบัญชเี พือ่ การจดั การโดยการเรยี นในหนว่ ยที1่ นจ้ี ะเป็นการทบทวนความหมายและวัตถปุ ระสงคข์ องการบัญชีต้นทุน การจาแนกต้นทุนตน้ ทนุ การผลติ งบการเงนิ ทางธรุ กจิ อุตสาหกรรมจดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม 1. อธบิ ายความหมายของการบญั ชตี น้ ทนุ ไดอ้ ย่างถูกต้อง 2. อธิบายวัตถุประสงคข์ องการทาบญั ชีตน้ ทุนไวอ้ ย่างถกู ต้อง 3. จาแนกประเภทของตน้ ทุนได้ถกู ตอ้ ง 4. อธิบายถงึ ความสมั พันธ์ของบญั ชีตน้ ทนุ บญั ชีบรหิ าร และบญั ชีการเงินได้ 5. อธิบายความหมายของต้นทุนการผลติ ได้ 6. บอกสว่ นประกอบของต้นทุนการผลิตได้ 7. บอกสนิ ค้าคงเหลือของธุรกจิ อุตสาหกรรมได้ 8. คานวณตน้ ทุนการผลติ ได้ 9. คานวณตน้ ทุนสินค้าสาเร็จรปู ได้ 10. คานวณตน้ ทุนขายได้ 11. คานวณตน้ ทนุ การผลติ ต่อหนว่ ยได้ 12. บอกส่วนประกอบของงบการเงนิ ทางธุรกิจอตุ สาหกรรมได้ 13. บอกข้อแตกต่างระหวา่ งงบการเงนิ ธรุ กิจพาณิชยกรรมและธรุ กิจอตุ สาหกรรมได้ 14. ทางบการเงินของธุรกจิ อตุ สาหกรรมได้

2 1. ความหมายและวัตถุประสงคข์ องการบัญชีต้นทุน1.1 ความหมายของการบญั ชีต้นทุน ดวงมณี โกมารทัต ให้ความหมายการบัญชีต้นทุน (Cost Accounting) เป็นการบัญชีที่บันทึกและจัดทารายงานการวัดค่าของต้นทุนในการผลิตสินค้าและการให้บริการ ขอบเขตงานของการบัญชีต้นทุนจึงได้แก่ การรวบรวมขอ้ มลู ตน้ ทุน บันทึกแยกประเภท แบ่งสรร หรือ ปันส่วน สะสม และจัดทารายงาน เกี่ยวกันต้นทุนในลกั ษณะต่างๆ ตามความประสงค์ของฝ่ายจดั การ สมนึก เอ้ือจิระพงษ์พันธ์ ให้ความหมายการบัญชีต้นทุน (Cost Accounting) จัดเป็นวิธีการทางบัญชที จี่ ะทาหนา้ ท่รี วบรวมขอ้ มลู ทางดา้ นตน้ ทนุ ของธรุ กิจ ประเภทอุตสาหกรรม โดยมีวัตถุประสงค์พ้ืนฐานในการจัดทารายงานทางการเงิน ตลอดจนวิเคราและจาแนกข้อมูลเพื่อใช้ในการบริหารต้นทุน ( CostManagement) ตามความต้องการของผูบ้ รหิ าร คณะอนกุ รรมการบัญญัติศพั ท์บญั ชไี ดใ้ หค้ านยิ าม ของการบญั ชีตน้ ทนุ (Cost Accounting)ไวว้ ่า การบัญชีต้นทุน เป็นสาขาหนึ่งของการบัญชีเกี่ยวกับการจาแนก การบันทึก การปันส่วน การสรุป และการรายงาน การประมาณการต้นทุนหรือต้นทุนท่ีคาดไว้ และยังรวมถึงวิธีการออกแบบ และจัดระบบต้นทุนการแบ่งแยกตน้ ทนุ การเปรียบเทียบต้นทุน และการเสนอ และใหค้ วามหมายของข้อมูลแก่ผู้บริหารเพ่ือใช้เป็นเครอื่ งช่วยในการควบคุม การปฏบิ ตั งิ านทั้งในปัจจบุ ัน และอนาคต สรุป“การบัญชีต้นทุน” หมายถึง การบัญชีท่ีทาหน้าท่ีเกี่ยวกับการสะสม รวบรวม จาแนก วิเคราะห์และจดั ระบบขอ้ มลู ดา้ นต้นทนุ ทั้งท่ีเกดขึน้ ในอดีต ปัจจุบัน รวมท้ังการคาดการณ์ ต้นทุนท่ีคาดว่าจะเกิดข้ึนในอนาคต1.2 วัตถปุ ระสงคข์ องการบญั ชตี ้นทนุ 1. ใช้ในการคานวณตน้ ทุนสินค้าหรือบริการ 2. ใชใ้ นการวัดผลการดาเนินงานประจางวด 3. ใชใ้ นการตัง้ ราคาขายสินค้าหรือบรกิ าร 4. ใช้ในการวางแผนการควบคมุ การดาเนนิ ธุรกจิ 5. ใช้เป็นเคร่อื งมอื ในการตัดสนิ ใจและประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ิงาน 6. ใชใ้ นการประเมินผลการใช้ทรพั ยากรของหน่วยงาน จากความหมายและวัตถุประสงค์ดังกล่าวข้างต้น แสดงให้เห็นว่าการบัญชีต้นทุนเป็นการบัญชีที่เกย่ี วข้องกับฐานข้อมลู ด้านตน้ ทุน (Cost data base) ที่สนบั สนุนทั้งบญั ชีบริหารและบัญชีการเงิน คือ ข้อมูลดา้ นต้นทุนจาเปน็ ท้ังตอ่ การจดั ทางบการเงินเพ่ือเสนอบุคคลภายนอก และจาเป็นต่อการทาข้อมูลไปใช้ในด้านการบรหิ ารและจดั การ ดงั รูปภาพตอ่ ไปนี้

3บญั ชี บญั ชี บญั ชีบริหาร ต้นทนุ การเงิน ภาพท่ี 1-1 แสดงความสัมพันธข์ องการบญั ชตี ้นทนุ กบั การบญั ชีการเงินและการบญั ชเี พอ่ื การจดั การการบญั ชีการเงนิ (Financial Accounting) เป็นการบัญชีที่จัดทาข้ึนเพ่ือรวบรวมข้อมูลทางการเงินของธุรกิจท่ีเกิดขึ้นแล้ว โดยบันทึกตามมาตรฐานการบญั ชี เพอ่ื รายงานตอ่ บุคคลภายนอก ผ้ทู มี่ สี ว่ นไดเ้ สยี ในกิจการ นาเสนอข้อมูลในรูปของรายงานทางการเงินได้แก่ งบแสดงฐานะการเงิน งบกาไรขาดทุน งบกระแสเงินสด นโยบายการบัญชี และหมายเหตุประกอบงบการเงนิการบญั ชบี รหิ าร หรือ การบัญชี เพื่อการจัดการ (Managerial Accounting) เป็นการจัดทาบัญชีเพื่อรวบรวมข้อมูลเสนอต่อผู้ใช้ข้อมูล ได้แก่ ผู้บริหารทุกระดับ เพื่อใช้ในการวางแผน และควบคุมการดาเนินให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และบรรลุวัตถุประสงค์ของหน่วยงาน ข้อมูลท่ีเสนอนั้นบางส่วนมาจากบัญชีการเงิน หรือข้อมูลอื่นๆ ทั้งท่ีเป็นตัวเงินและไม่เป็นตัวเงิน ข้อมูลดังกล่าวนี้ผบู้ ริหารสามารถนาไปเป็นข้อมูลในการตัดสนิ ใจเพื่อแก้ไขปญั หาในหน่วยงาน1.3 การจาแนกประเภทต้นทุน สมนกึ เอื้อจริ ะพงษ์พนั ธ์ ให้ความหมายของตน้ ทนุ (Cost) หมายถึงมูลคา่ ของทรัพยากรท่สี ญู เสยี ไปเพ่อื ใหไ้ ดส้ นิ ค้าหรือบรกิ าร โดยมูลค่านั้นจะต้องสามารถวัดได้เป็นหน่วยเงินตรา ซ่ึงเป็นลักษณะของการลดลงในสินทรัพย์ หรือ เพ่ิมข้ึน ในหน้ีสิน ต้นทุนท่ีเกิดข้ึน อาจจะให้ประโยชน์ในปัจจุบัน หรือในอนาคตก็ได้ เมื่อต้นทุนใดทีเ่ กิดขนึ้ และกิจการได้ใช้ประโยชนไ์ ปท้ังสนิ้ แล้วต้นทนุ น้ันจะถือเป็นค่าใช้จ่าย (Expense)ดงั นนั้ ค่าใช้จ่ายจึงหมายถึง ต้นทุนท่ีได้ให้ประโยชน์และกิจการได้ใช้ประโยชน์ท้ังหมดไปแล้วในขณะนั้น และสาหรับตน้ ทนุ ทก่ี ิจการสญู เสยี ไปแต่จะให้ประโยชนแ์ กก่ จิ การในอนาคต เรยี กว่า สนิ ทรพั ย์ (Assets) ต้นทนุ มมี ากมายหลายชนิด ขน้ึ อยกู่ ับวัตถปุ ระสงค์การนาไปใช้ การจัดแบง่ ประเภทต้นทนุ จะช่วยให้กิจการสามารถนาข้อมูลดังกล่าวไปใช้ให้เกิดประโยชน์มากย่ิงข้ึน การจัดแบ่งประเภทต้นทุนตามแต่ลักษณะและวัตถุประสงค์ การนาไปใช้สามารถสรปุ ไดด้ งั น้ี 1. การจาแนกต้นทุนการผลิตและตน้ ทุนทีไ่ ม่เกี่ยวข้องกับการผลติ 2. การจาแนกต้นทุนในงบการเงนิ

4 3. การจาแนกต้นทุนตามพฤตกิ รรม 4. การจาแนกตน้ ทนุ เพือ่ การวางแผนและควบคุม 5. การจาแนกต้นทนุ เพอ่ื การตัดสนิ ใจ 1. การจาแนกต้นทนุ การผลติ และต้นทุนท่ีไมเ่ กยี่ วขอ้ งกับการผลติ 1.1 ต้นทนุ การผลติ (Manufacturing cost) หมายถึงตน้ ทุนทเ่ี ก่ียวขอ้ งโดยตรงกบั การผลติ สนิ ค้าประกอบดว้ ย 1.1.1 วตั ถดุ ิบทางตรง (Direct Materials) ศพั ทบ์ ญั ชีได้ให้ความหมายไว้ว่า “มูลค่าของวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตสินค้าโดยตรง และเป็นส่วนสาคัญที่สามารถคิดเข้าเป็นต้นทุนของหน่วยที่ผลิตได้โดยง่าย” ดังนั้นวัตถุดิบทางตรง หมายถึง วัตถุดิบ (Raw Material) ที่เป็นส่วนประกอบหลักของการผลิตสินค้าสาเร็จรูป และสามารถวัดมูลค่าของวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตสินค้าสาเร็จรูปแต่ละหน่วยได้โดยง่าย เช่นผ้า เปน็ วัตถุดบิ หลกั ของการผลิตเสอื้ สาเรจ็ รูป และทราบจานวนทต่ี ้องใช้ผลติ แน่นอนว่า เสื้อแขนส้ัน แขนยาวใช้ผา้ กี่เมตรต่อตวั 1.1.2 คา่ แรงงานทางตรง (Direct labor) ศัพทบ์ ญั ชไี ด้ใหค้ วามหมายไว้วา่ “ค่าแรงงานท่ีใช้ในการผลิตสินค้าโดยตรงและสามารถคิดเข้าเป็นต้นทุนของหน่วยที่ผลิตได้ง่าย” ดังนั้น แรงงานทางตรงจึงหมายถงึ แรงงานหลักทใ่ี ช้ในการผลิตสนิ คา้ โดยตรง และสามารถวัดจานวนชั่วโมงท่ีใช้ในการผลิตสินค้าแต่ละหน่วยไดไ้ มย่ าก เชน่ ช่างเย็บผ้า สามารถระบเุ วลาทใี่ ชใ้ นการตัดเสอื้ หนงึ่ ตัวกีช่ ่วั โมงหรือกว่ี ัน 1.1.3 คา่ ใช้จา่ ยในการผลิต (Manufacturing Overhead) ศัพทบ์ ัญชไี ดใ้ หค้ วามหมายไว้วา่“ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวกับการผลิตสินค้า แต่ไม่รวมถึงวัตถุดิบทางตรง และค่าแรงงานทางตรง ” ดังน้ัน ค่าใช้จ่ายในการผลิตจึงหมายถึงตน้ ทนุ ท่เี ก่ยี วขอ้ งกับการผลิตต่างๆ ยกเวน้ วตั ถดุ ิบทางตรง และคา่ แรงทางตรงโดยปกติรายการตน้ ทุนท่ีรวบรวมไวใ้ นรายการคา่ ใช้จา่ ยผลิต ได้แก่ 1. วัตถดุ ิบทางออ้ ม วัสดุโรงงาน น้ามนั หล่อลื่น จาระบี ฯลฯ 2. ค่าแรงงานทางอ้อม เงนิ เดือนผู้จดั การโรงงาน คา่ จา้ งแม่บา้ นทาความสะอาดโรงงานเงนิ เดอื นพนักงานจัดซื้อ ยาม ผ้คู วบคมุ งาน ฯลฯ 3. คา่ สาธารณปู โภคโรงงาน 4. ค่าใชจ้ า่ ยเกย่ี วกบั การใชอ้ าคารสถานท่ี เชน่ ค่าเช่า ค่าซอ่ มแซม คา่ เบ้ยี ประกนั ภยัคา่ ภาษที รัพยส์ นิ ค่าเส่ือมราคาอาคารโรงงาน 5. ค่าใช้จา่ ยเกี่ยวกบั เครอื่ งจักรและอปุ กรณ์ เชน่ ค่าเช่า ค่าซ่อมแซม ค่าเส่อื มราคา 6. คา่ ใชจ้ ่ายเบ็ดเตล็ดอน่ื ๆ ในโรงงานตน้ ทนุ การผลิตทงั้ 3 ชนดิ สรปุ ได้ดังภาพ ที่ 1-2 ดงั น้ี

5 ตน้ ทุนการผลติวัตถดุ ิบทางตรง ค่าแรงทางตรง ค่าใช้จ่ายในการ ผลติ ภาพท่ี 1-2 แสดงส่วนประกอบตน้ ทนุ การผลิต ส่วนประกอบท้ัง 3 ชนดิ นั้น ถา้ รวมต้นทุนวตั ถดุ บิ ทางตรงกบั ค่าแรงงานทางตรง เรยี กวา่ ต้นทนุ ขนั้ ตน้(prime Cost) ถ้ารวมตน้ ทุนค่าแรงทางตรงกับ คา่ ใช้จา่ ยในการผลติ เรียกว่า ตน้ ทนุ แปลงสภาพ(Conversion Cost) ต้นทุนท้ัง 2 ชนดิ สรปุ ได้ดังภาพท่ี 1-3 ดงั น้ี ตน้ ทุนการผลติวตั ถุดบิ ทางตรง คา่ แรงทางตรง คา่ ใชจ้ ่ายในการ ผลติตน้ ทุนขัน้ ต้น ตน้ ทนุ แปลงภาพท่ี 1-3 แสดงส่วนประกอบตน้ ทนุ ขั้นต้นแลสะภตาน้พทุนแปลงสภาพ 1.2 ตน้ ทนุ ทไี่ ม่เก่ียวขอ้ งกบั การผลิต (Non-Manufacturing Costs) ต้นทุนที่ไม่เกี่ยวข้องกับการผลิตเป็นต้นทุนที่เกิดขึ้นนอกเหนือจากการผลิตสินค้า เช่น ค่าใช้จ่ายการดาเนนิ งาน (Operating Expenses) ซ่ึงประกอบดว้ ย 2 ชนดิ คอื 1.2.1 ค่าใช้จ่ายในการขาย (Selling Expenses) หมายถึง ค่าใช้จ่ายท่ีเกิดขึ้นอันเนื่องมาจากการสง่ เสรมิ การขายสนิ คา้ หรอื บริการ หรือ เพ่ือให้ได้คาส่ังซื้อจากลูกค้าเพ่ิมเช่น ค่านายหน้าพนักงานขาย ค่าโฆษณา เงินเดือนพนักงานขาย ค่าขนส่งสินค้าให้ลูกค้า ค่าเบ้ียเล้ียง ค่าพาหนะพนักงานขาย ค่าเสื่อมราคาคลงั สนิ คา้ เป็นตน้ 1.2.2 ค่าใช้จ่ายการบริหาร (Administrative Expense) หมายถึง ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในการบริหารกิจการโดยรวม ซ่ึงเป็นค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในสานักงาน เช่น เงินเดือนสานักงาน ค่าสาธารณูปโภค ค่าประกันภัย ค่าสอบบัญชี ค่าภาษี คา่ เส่อื มราคาสินทรพั ยท์ ใ่ี ชใ้ นสานกั งาน เป็นต้น2. การจาแนกตน้ ทนุ ในงบการเงิน สามารถจาแนกออกได้เป็น 2 ประเภท คอื 2.1 ต้นทนุ ผลิตภณั ฑ์ หมายถึง ตน้ ทุนที่ใชใ้ นการผลติ สินค้าใหเ้ ป็นสินค้าสาเรจ็ รูป ประกอบด้วย 2.1.1 วัตถดุ บิ ทางตรง

6 2.1.2 ค่าแรงทางตรง 2.1.3 คา่ ใชจ้ ่ายในการผลิตหรอื ค่าใชจ้ า่ ยโรงงานหรือโสหยุ้ การผลติ ต้นทุนดังกล่าวข้างต้นจะสะสมอยู่ในตัวสินค้า จัดเป็นสินทรัพย์ในงบดุล เม่ือสินค้าถูกจาหน่ายไปจะกลายเป็นค่าใช้จา่ ยประจางวดในรูปของตน้ ทุนขาย (Cost Of Goods Sold) ในงบกาไรขาดทุน การคานวณต้นทนุ การผลติ ของกจิ การอุตสาหกรรมมสี ูตรคานวณดังนี้ ตน้ ทนุ การผลิต = วัตถุดิบทางตรง+คา่ แรงงานทางตรง+คา่ ใช้จา่ ยผลิต 2.2 ต้นทนุ ตามงวดเวลา (Period Costs) หมายถึงต้นทนุ ที่ไม่เกีย่ วขอ้ งกบั การผลิตสนิ คา้ เปน็ต้นทุนท่ีเกิดข้ึนในรอบปีบัญชี เช่น เงินเดือนฝ่ายขาย และฝ่ายบริหาร ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร ค่าโฆษณา3. การจาแนกต้นทนุ ตามพฤตกิ รรม จาแนกออกได้เปน็ 4 ประเภทคือ 3.1 ต้นทุนคงที่ (Fixed Costs) หมายถึงต้นทุนทไี่ ม่เปลีย่ นแปลงไปตามกจิ กรรมหรอื กาลังการผลิต ณ ระดับหนึ่ง จะมีต้นทุนรวมเท่ากันตลอดช่วงการผลิต ต้นทุนคงท่ีได้แก่ เงินเดือนผู้จัดการโรงงาน ค่าเช่า คา่ เสอ่ื มราคาอาคารโรงงาน ค่าเบ้ียประกันภัย ตน้ ทุนคงท่ีตอ่ หน่วยจะเพิม่ ขึน้ เมื่อกาลังผลิตเพ่มิ ขนึ้ และถ้ากาลังการผลิตลดลงต้นทุนคงที่ต่อหน่วยจะเพิ่มข้ึน ตัวอย่างเช่น กิจการจ่ายค่าเช่าโกดังสินค้าปีละ 10,000 บาท โดยโกดังสินค้าบรรจุสินค้าได้สูงสุดไม่เกิน 50,000 บาท / หน่วย คา่ เช่าโกดงั จานวนหนว่ ยสนิ ค้า คา่ เช่าโกดงั ตอ่ หน่วย 100,000 บาท 5,000 หนว่ ย 20 บาท 100,000 บาท 10,000 หนว่ ย 10 บาท 100,000 บาท 20,000 หนว่ ย 5 บาท 100,000 บาท 50,000 หนว่ ย 2 บาท คา่ เชา่ (บาท) 125,00 ต้นทนุ คงท่ี 100,000 075,000 จานวนสินคา้ 50,000 5,00 10,00 20,000 30,000 40,00 50,000 (หนว่ ย) 25,000 0 00 0

7 ภาพที่ 1-4 แสดงตน้ ทุนคงที่ 3.2 ตน้ ทุนผนั แปร (Variable Cost) หมายถึงตน้ ทนุ ทเี่ ปล่ยี นแปลงเปน็ สัดส่วนโดยตรงตามระดบักิจกรรมหรือกาลังการผลิต กาลังการผลิตเพ่ิมขึ้นต้นทุนเพิ่ม แต่ถ้ากาลังการผลิตลดลงต้นทุนจะลดลง ต้นทุนผันแปร ได้แก่ วัตถุดิบทางตรง ค่าแรงทางตรง วัสดุสิ้นเปลืองบางอย่าง ค่าโทรศัพท์ทางไกล ตัวอย่างเช่นโรงงานตัดเย็บเสอื้ ผา้ สาเร็จรูป ใช้ผ้าตดั เย็บเส้ือสุภาพสตรี ตัวละ 2 เมตร ถ้าเมตรละ 100 บาทจานวนเส้อื (ตวั ) จานวนผ้าทใ่ี ช้ (เมตร) จานวนเงิน (บาท) 500 ตวั 1,000 เมตร 100,000 บาท 1,000 ตัว 2,000 เมตร 200,000 บาท 1,500 ตวั 3,000 เมตร 300,000 บาท 2,000 ตัว 4,000 เมตร 400,000 บาท 3,000 ตัว 6,000 เมตร 600,000 บาท จานวนเงิน (บาท) ตน้ ทนุ ผันแปร600,00500,000400,0000300,00200,000 0 จานวนเสือ้ (ตัว)100,000 500 1,00ภ0าพที่11,-5500แสดงต2้น,0ท0ุน0ผันแ2ป,ร500 3,000

8 3.3 ต้นทุนผสมหรือต้นทุนก่ึงผันแปร (Mixed Cost / Semi variable Cost) หมายถึง ต้นทุนผสมระหวา่ งตน้ ทนุ คงทกี่ ับตน้ ทนุ ผันแปร สว่ นที่เป็นต้นทุนคงที่จะไม่เปล่ียนแปลงไปตามกิจกรรม ส่วนที่เย็นต้นทุนผันแปรจะเปลีย่ นแปลงไปเป็นสดั ส่วนโดยตรงกับกิจกรรมที่กาลังการผลิต ต้นทุนกึ่งผันแปรได้แก่ ค่าตอบแทนพนักงานขาย เป็นรายเดือน ซึ่งประกอบด้วย 2 ส่วนคือ เงินเดือน เป็นต้นทุนคงที่ ค่านายหน้าในการขายสินค้าทค่ี ิดเปน็ เปอรเ์ ซนตห์ รือเปน็ จานวนชิ้น เป็นต้นทุนผันแปรเงนิ เดอื น/คา่ ตอบแทน ค่านายหน้าพนกั งานขาย(บา1ท6),00012,000 ตน้ ทุนผนั แปร18,000 เงนิ เดอื น 4,000 ต้นทนุ คงท่ี 0 100 200 300 400 500 600 จานวนหนว่ ยขาย ภาพท่ี 1-6 แสดงต้นทุนกง่ึ ผันแปร 700 3.3 ตน้ ทุนกึง่ คงท่ีหรือตน้ ทุนข้ัน (Semi Fixed Cost/ Step Cost) หมายถึงตน้ ทุนที่คงทใ่ี นช่วงระดับกิจกรรมช่วงหน่ึง แต่ถ้าระดับกิจกรรมเปลี่ยนไปอีกระดับหนึ่ง ต้นทุนก็จะเปล่ียนไปตามระดับกิจกรรมหนึ่ง กาลังการผลิตเปลี่ยนไป ตน้ ทนุ กง่ึ คงท่จี ะมีลกั ษณะเหมือนขั้นบันได ตัวอย่าง เช่น เงินเดือนผู้ควบคุมงาน5,000 บาท ควบคมุ คนงานได้ 1-10 คน ผลิตสินคา้ ได้ 1,000 หนว่ ย แตถ่ า้ กจิ การมคี าสั่งซ้ือเพ่ิม 1,500 หน่วยจะตอ้ งจา้ งผูค้ วบคมุ งานอีก 1 คน โดยจะต้องจ่ายเงนิ เดอื นผ้คู วบคมุ งานอีก 5,000 บาท เงินเดอื นผ้คู วบคุมงาน (บาท) 15,00010,0005,000 จานวนคนงาน (คน) 10 20 30

9 0 ภาพท่ี 1-7 แสดงตน้ ทุนกง่ึ คงท่ี การจาแนกต้นทนุ เพ่อื การวางแผนและควบคมุ แบ่งออกเปน็ 4 ประเภท คอื 3.4 ตน้ ทุนทางตรง (Direct Cost) หมายถึงตน้ ทุนที่สามารถจัดสรรเปน็ ตน้ ทนุ การผลิตไดง้ า่ ยและชัดเจน ตัวอย่างเช่น ผ้าเป็นต้นทนุ ทางตรงทใ่ี ชใ้ นการผลิตเส้ือผ้าสาเร็จรปู หรอื ค่าแรงคนงานท่ีแผนกประกอบรถยนตก์ เ็ ป็นต้นทนุ ทางตรงของโรงงานผลิตรถยนต์ 3.5 ต้นทนุ ทางอ้อม (Indirect Cost) หมายถึง ตน้ ทนุ ท่ีไม่สามารถจดั สรรเป็นต้นทุนการผลติ ได้งา่ ยและชัดเจน ซ่ึงปกติจะต้องใช้วิธีการปันส่วน หรือ จัดสรรต้นทุนทางอ้อมให้หน่วยวัดต้นทุนตัวอย่างเช่นโรงงานผลิตเสอื้ ผ้าสาเรจ็ รปู มีการแบ่งแผนกตา่ งๆ เช่น แผนกตัด แผนกเยบ็ แผนกตกแต่ง - ถา้ กาหนดให้หน่วยวดั ต้นทุน คอื ตวั สนิ ค้า ต้นทนุ ทางตรงคือ ผา้ และคา่ แรง คนงานทีใ่ ช้ในการตดั เยบ็ ส่วนต้นทนุ ทางออ้ ม คอื คา่ เช่าโรงงาน ค่าเสื่อมราคาโรงงาน เงินเดือนผู้ควบคุมงาน - ถา้ กาหนดใหห้ นว่ ยวดั ต้นทนุ คอื แผนกต่างๆ ต้นทุนทางตรงคอื ผ้า คา่ แรง และค่าเสอื่ มราคาเคร่ืองจักรท่ใี ช้ในแผนกตัดเยบ็ สว่ นตน้ ทนุ ทางอ้อม คอื คา่ เส่ือมราคาโรงงาน ค่าจา้ งยามรักษาความปลอดภยั 3.6 ต้นทุนท่ีควบคุมได้ (Controllable Cost) หมายถึง ต้นทุนท่ีสามารถระบุได้ว่าแผนกใด หรือ หนว่ ยงานใดเป็นผู้รบั ผดิ ชอบโดยตรง และผบู้ ริหารหนว่ ยงานนน้ั มอี านาจตัดสนิ ใจเพิ่มหรือลดต้นทุนในหน่วยงานนั้นได้ ตัวอย่างเช่น แผนกผลิต ผู้จัดการฝ่ายผลิตมีอานาจตัดสินใจเกี่ยวกับวัสดุส้ินเปลืองในแผนก หรอื ค่าลว่ งเวลาของพนกั งานในแผนก 3.7 ต้นทุนที่ควบคมุ ไม่ได้ (Non controllable Cost) หมายถึง ตน้ ทนุ ทห่ี วั หนา้ แผนกหรือผจู้ ดั การแผนกไม่มีอานาจตัดสินใจ ลด หรือ เพ่ิมต้นทุนประเภทนี้ เพราะต้นทุนเหล่าน้ีอยู่ภายใต้อานาจการตัดสินใจของผูบ้ รหิ ารระดบั สูง ตวั อย่าง เช่น ค่าเชา่ โรงงาน คา่ เสอ่ื มราคาโรงงาน คา่ สาธารณูปโภคโรงงาน 4. การจาแนกตน้ ทุนเพือ่ การตัดสินใจ สามารถแบ่งได้เปน็ 2 ประเภทคอื 4.1 ต้นทนุ ท่ีเกยี่ วกับการตัดสนิ ใจ หมายถึง ต้นทุนท่ีผู้บริหารจะตอ้ งเลอื กตดั สนิ ใจในทางเลอื กใดทางเลือกหนง่ึ ทใ่ี หป้ ระโยชน์สูงสดุ ต่อกิจการ ตน้ ทนุ ท่เี กี่ยวกับการตดั สินใจแบ่งเป็น 3 ประเภทคอื 4.1.1 ตน้ ทุนค่าเสียโอกาส (Opportunity Cost) หมายถงึ ผลตอบแทนทก่ี ิจการตอ้ งสญู เสยีไปจากการตดั สินใจเลอื กทางเลือกอืน่ ตวั อย่าง เช่น กิจการมีอาคารสานักงาน 1 คูหาในย่านธุรกิจ โดยกิจการมีทางเลอื กอยู่ 2 ทางคือ ทางเลือกที่ 1 กิจการให้เชา่ ทาธรุ กจิ จะไดร้ บั คา่ เช่าปลี ะ 360,000 บาท ทางเลอื กที่ 2 กจิ การนาไปใชท้ าธรุ กิจโดยเป็นคลังสินค้าสาหรบั รองรบั สนิ ค้าท่ีผลติ เสร็จพร้อมทจี่ ะจาหน่าย โดยคาดว่าจะทาใหล้ ดต้นทนุ การผลิตลงปลี ะ 500,000 บาท

10 ในกรณีที่กิจการเลือกทางเลือกที่ 2 ก็ทาให้กิจการเสียโอกาสที่จะได้รับค่าเช่าอาคารปีละ360,000 บาท 4.1.2 ต้นทนุ สว่ นแตกตา่ ง (Differential Cost) หมายถึง ตน้ ทุนท่ีเปล่ียนแปลงเพิ่มขนึ้ หรอืลดลงอันเนื่องจากผลการตัดสินใจเลือกทางเลือกใดทางเลือกหนึ่ง ตัวอย่างเช่น ผู้บริหารกาลังตัดสินใจยกเลิกรถยนต์เก่า เนื่องจากเสียค่าใช้จ่ายในการซ่อมแซมปีละ 50,000 บาท ทาให้กิจการประหยัดค่าใช้จ่ายลง50,000 บาท 4.1.3 ต้นทุนท่ีหลกี เลี่ยงไม่ได้ (Avoidable Cost) หมายถึงต้นทุนที่ประหยัดได้ ถ้ายกเลกิกิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่ง เช่น กิจกรรมยุบสาขาปิดโรงงานในต่างจังหวัด สามารถประหยัดต้นทุนวัตถุดิบทางตรง ค่าแรงงานทางตรง และคา่ ใช้จา่ ยผลติ ได้ 4.2 ต้นทุนทไ่ี ม่เก่ียวกับการตัดสินใจ หมายถึง ตน้ ทุนทีไ่ มม่ ีผลตอ่ การตัดสินใจของฝ่ายบรหิ าร ไมว่ า่กิจการจะตัดสนิ ใจเลอื กทางเลือกใดทางเลือกหนง่ึ แบ่งเป็น 2 ประเภทคอื 4.2.1 ตน้ ทนุ หลีกเลี่ยงไม่ได้ (Unavoidable Cost) หมายถงึ ตน้ ทนุ ที่ไมส่ ง่ ผลกระทบต่อการตัดสนิ ใจของผบู้ ริหาร เว้นแต่ว่าผู้บริหารจะตัดสินใจขายกิจการไป ตัวอย่างเช่น กิจการจ่ายเงินเดือนผู้จัดการโรงงานเดือนละ 15,000 บาท โดยรับผิดชอบ 2 สาขา ถ้ากิจการยุบให้เหลือเพียงสาขาเดียว กิจการก็ยังคงจา่ ยเทา่ เดิม หรอื คา่ ภาษที รพั ย์สินของโรงงาน ถา้ ตดั สนิ ใจปดิ โรงงาน เหลือเพียงสาขาเดียวก็ยังคงต้องจ่ายเท่าเดมิ เวน้ แตว่ ่ากิจการจะขายโรงงานท่ตี ัดสนิ ใจปดิ โรงงานไป 4.2.2 ต้นทนุ จม (Sank Cost) หมายถึง ตน้ ทนุ ทีเ่ กดิ ขนึ้ แลว้ ในอดีตไมส่ ง่ ผลกระทบต่อการตัดสินใจของผู้บริหารในปัจจุบัน ซ่ึงไม่สามารถเปล่ียนแปลงให้เพิ่มขึ้นหรือลดลงได้ เช่น สัญญาเช่าระยะยาวคา่ เส่อื มราคาสินทรัพยถ์ าวร เป็นต้น1.1 ระบญั ชตี ้นทนุ ระบบบญั ชีตน้ ทนุ เปน็ ระบบการจัดเกบ็ ขอ้ มูลและเอกสารที่เกยี่ วข้องกับตน้ ทุนซึ่งประกอบดว้ ยขนั้ ตอนดงั ตอ่ ไปนี้ 1.2.1 การรวบรวมและสะสมต้นทุน และข้อมูลท่ีเกี่ยวข้องในกิจการท้ังที่เป็นเอกสารที่เกี่ยวข้องกับตัวเงนิ และไมใ่ ชต่ วั เงิน เชน่ ใบสง่ ของ ใบกากับภาษี ใบเสรจ็ รับเงนิ จานวนวัตถุดิบเบิกใช้ ทะเบียนคุมค่าแรงงานปริมาณการผลติ จานวนช่ัวโมงเครื่องจกั ร เปน็ ต้น 1.2.2 การบันทึกบัญชีต้นทุน หลังจากท่ีได้รวบรวมและสะสมต้นทุน อย่างครบถ้วน ปิดบัญชีต้นทุนจะบันทกึ รายการดังกล่าวลงในสมดุ บญั ชตี ามระบบบญั ชีท่ีได้จดั ทาไว้ 1.2.3 การวิเคราะห์ต้นทุน ผู้บริหารต้องการทราบข้อมูลต้นทุนเพื่อใช้ในการวางแผนและควบคุมประกอบการตดั สนิ ใจแก้ไขปญั หาท่อี าจจะเกดิ ข้นึ ในอนาคต 1.2.4 การรายงานต้นทุน หัวใจสาคัญของการทาบัญชีต้นทุนก็คือ การรายงานต้นทุนเพ่ือให้ทราบผลการดาเนนิ งานของกิจการ รายงานต้นทุนประกอบด้วย งบต้นทุนการผลิต งบกาไรขาดทุน และงบแสดงฐานะการเงนิ

11 ปัจจุบันการประกอบธุรกิจอุตสาหกรรมการผลิตมีความหลากหลายต้ังแต่ขนาดเล็กไปจนถึงธุรกิ จขนาดใหญ่ กระบวนการผลิตมีความซับซ้อนแตกต่างกันออกไป ทาให้ระบบบัญชีต้นทุนของธุรกิจแต่ละแห่งมีความซบั ซอ้ น แตไ่ ม่วา่ ระบบบญั ชีแตล่ ะแหง่ มีความแตกต่างกันไป แต่ก็มีจุดมุ่งหมาย คือ ความต้องการข้อมูลต้นทุนท่ีถูกต้อง รวดเร็ว เพ่ือนาไปใช้ประกอบการตัดสินใจในการวางแผนและควบคุม ระบบบัญชีต้นทุนที่ธุรกิจจะนาไปใชจ้ ึงมีความแตกตา่ งหลากหลาย พอสรุปไดด้ งั นี้ 1. ระบบสะสมต้นทนุ แบ่งเปน็ 2 วธิ ี คือ 1. ระบบสะสมต้นทุนแบบสิน้ งวด (Periodic Cost Accumulation System) 2. ระบบสะสมต้นทนุ แบบตอ่ เนอ่ื ง (Perpetual Cost Accumulation System) 2. ลักษณะของกระบวนการผลิต แบง่ เป็น 2 ระบบ คือ 1. ระบบต้นทุนงานสัง่ ทา (Job Order Cost System) 2. ระบบตน้ ทนุ กระบวนการ (Process Cost System) 3. การคดิ ตน้ ทุนผลติ ภัณฑ์ แบ่งเป็น 3 ระบบ คือ 1. ระบบต้นทุนเต็ม (Absorption Costing System) 2. ระบบตน้ ทนุ ผันแปร (Variable Costing SYstem) 3. ระบบตน้ ทุนฐานกิจกรรม (Activity-basal costing) 4. ชนิดของต้นทนุ แบง่ เป็น 3 ชนิด คือ 1. ตน้ ทนุ จรงิ 2. ต้นทุนปกติ 3. ต้นทนุ มาตรฐาน 2. ตน้ ทนุ การผลติ (Manufacturing Cost)จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม 1. อธิบายความหมายของตน้ ทนุ การผลติ ได้ 2. บอกสว่ นประกอบของต้นทุนการผลิตได้ 3. บอกสนิ คา้ คงเหลือของธรุ กจิ อุตสาหกรรมได้ 4. คานวณต้นทุนการผลติ ได้ 5. คานวณตน้ ทุนสนิ คา้ สาเรจ็ รปู ได้ 6. คานวณต้นทนุ ขายได้ 7. คานวณตน้ ทุนการผลติ ต่อหน่วยได้ตน้ ทนุ การผลิต หมายถึง ตน้ ทุนทเ่ี กิดขึน้ ทงั้ หมดในการผลติ สนิ ค้าให้เปน็ สินค้าสาเรจ็ รปู 2.1 ส่วนประกอบของต้นทุนการผลิต ประกอบด้วย 3 ประเภท คอื 2.1.1 วตั ถุดบิ ทางตรง (Direct Materials)

12 2.1.2 ค่าแรงทางตรง (Direct Lab our) 2.1.3 คา่ ใช้จา่ ยผลติ (Manufacturing Overhead)วัตถุดิบทางตรง หมายถึง วัตถุดิบที่เป็นส่วนประกอบหลักของการผลิตสินค้าให้เป็นสินค้าสาเร็จรูป และสามารถวัดมูลค่าของวัตถุดิบท่ีใช้ในการผลิตสินค้าสาเร็จรูปแต่ละหน่วยได้โดยง่าย เช่น ผ้าเป็นวัตถุดิบหลักของการผลิตเสอ้ื สาเร็จรูป และทราบจานวนที่ตอ้ งใชผ้ ลิตแนน่ อนวา่ เสอื้ แขนสั้นใช้ผ้าก่ีเมตร/ตัว เส้ือแขนยาวใชผ้ ้าก่เี มตร/ตัวค่าแรงทางตรง หมายถึง แรงงานหลักที่ใช้ในการผลิตสินค้าโดยตรง หรือแรงงาน คนงานที่ใช้ควบคุมเครอ่ื งจักรหรืออุปกรณท์ ี่ใชผ้ ลติ สนิ ค้าโดยตรง และสามารถวัดจานวนช่ัวโมงท่ีใช้ในการผลิตสินค้าแต่ละหน่วยไดไ้ ม่ยาก เช่น คา่ แรงชา่ งเยบ็ ผา้ สามารถรวมเวลาท่ใี ช้ในการตดั เสอื้ 1 ตวั กชี่ ว่ั โมง หรอื ก่ีวันค่าใช้จ่ายในการผลิต หมายถึงต้นทุนทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับการผลิตสินค้า ยกเว้นวัตถุดิบทางตรง และค่าแรงงานทางตรง เช่น วัตถุดิบทางอ้อม ค่าแรงทางอ้อม ค่าสาธารณูปโภคโรงงาน ค่าใช้จ่ายเก่ียวกับอาคารโรงงาน คา่ ใชจ้ า่ ยเกยี่ วกับเครือ่ งจกั รและอปุ กรณท์ ่ใี ช้ผลติ สนิ ค้า ค่าใช้จา่ ยเบด็ เตลด็ โรงงานการคานวณต้นทุนผลติ และตน้ ทุนขายของธรุ กิจอตุ สาหกรรม มีสตู รดงั นี้ตน้ ทุนการผลติ = วัตถุดิบทางตรง + ค่าแรงทางตรง + ค่าใช้จ่ายในการผลติต้นทุนสนิ คา้ ท่ีผลิต = ตน้ ทุนการผลิต + งานระหว่างทาตน้ งวด – งานระหว่างทาปลายงวดตน้ ทนุ ขาย = ตน้ ทุนสนิ คา้ สาเรจ็ รปู + สินคา้ สาเรจ็ รูปต้นงวด – สนิ ค้าสาเร็จรูปปลายงวดซื้อ = ซื้อวตั ถดุ บิ + ค่าขนส่งเขา้ – ส่งคืน – สว่ นลดรับวัตถุดิบใชไ้ ป = วัตถุดิบตน้ งวด+ ซือ้ วตั ถุดิบสทุ ธิ – วตั ถดุ ิบปลายงวดวัตถดุ บิ ทางตรงใชไ้ ป = วัตถุดบิ ต้นงวด+ ซ้ือวตั ถดุ ิบสุทธิ – วัตถุดบิ ปลายงวด – วัตถุดิบทางออ้ มใช้ไปกาไรจากการดาเนนิ งาน = ขาย – ตน้ ทนุ ขาย – คา่ ใช้จา่ ยขายและบริการ 2.2 สินค้าคงเหลือของกิจการอตุ สาหกรรม สนิ คา้ คงเหลือของกิจการอตุ สาหกรรม แบง่ ออกเป็น 3 ประเภท คือ 2.2.1 วัตถุดิบคงเหลือ (Material) หมายถึง วัตถุดิบหรือวัสดุโรงงานที่ยังไม่เบิกไปใช้ในการผลติ และคงเหลอื ณ วนั สน้ิ งวด 2.2.2 งานระหว่างทาคงเหลือ หรือ สินค้าระหว่าผลิต (Work in Process / Goods inProcess) หมายถึง สินค้าที่ผ่านกระบวนการผลิตแต่ยังผลิตไม่เสร็จ และยังไม่พร้อมท่ีจะจาหน่ายประกอบด้วยวัตถุดิบทางตรง คา่ แรงทางตรง และค่าใช้จา่ ยผลติ 2.2.3 สินค้าสาเร็จรูป (Finished Goods) หมายถึง สินค้าท่ีผ่านกระบวนการผลิตเสร็จสมบูรณ์ และอยู่ในสภาพพรอ้ มท่จี ะขายได้ สนิ คา้ คงเหลอื มวี ิธกี ารบนั ทึกบัญชี 2 วิธี คือ

13 1. บันทึกสินค้าคงเหลือแบบวันส้ินงวด (Periodic Inventory Method) วิธีน้ีไม่มีบันทึกสินค้า เม่ือมีการซื้อขายเบิกใช้ แต่จะมีการบันทึกสินค้าคงเหลือเม่ือมีการตรวจนับ ณ วันสิ้นงวด และคานวณต้นทนุ ขายเม่ือมกี ารขายสินคา้ 2. บันทึกสินค้าคงเหลือแบบต่อเนื่อง (Perpetual Inventory Method) เป็นวิธีบันทึกความเคล่ือนไหวของสินค้าตลอดเวลา เมื่อมีการซื้อ ขาย เบิกใช้ ตลอดเวลาและทราบยอดสินค้าคงเหลือ จากบัญชีแยกประเภทสินค้าคงเหลือ และบันทึกบัญชีต้นทุนขายทุกคร้ังที่มีการจาหน่าย แสดงการเปรียบเทียบท้ัง 2 วิธี ดงั น้ี วิธีบันทกึ สินคา้ คงเหลือแบบสน้ิ งวด วิธีบันทึกสินค้าคงเหลือแบบตอ่ เน่ือง สนิ ค้าคงเหลือทราบยอดสนิ ค้าคงเหลอื จากการตรวจนับ ทราบยอดสนิ ค้าคงเหลอื จาก - วตั ถุดบิ คงเหลอื ปลายงวด - บัญชีคุมยอดวัตถดุ ิบ - งานระหว่างทาปลายงวด - บัญชีคุมงานระหวา่ งทา - สนิ ค้าสาเร็จรปู ปลายงวด - บญั ชีคมุ สนิ ค้าสาเรจ็ รปู วัตถดุ บิ ใช้ไปทราบยอดวตั ถดุ บิ ใชไ้ ปจากการคานวณดังน้ี ทราบยอดวัตถุดิบใช้ไปจากการบันทึกบัญชีเบิกใช้วัตถุดบิ คงเหลอื ต้นงวด xx วัตถดุ บิ ในระหว่างงวดบวก ซ้ือวตั ถดุ บิ สทุ ธิ xxวัตถดุ ิบที่มีเพ่อื ใชใ้ นการผลิต xxหัก วตั ถดุ ิบปลายงวด xxวตั ถดุ บิ ใช้ไปในการผลติ xxทราบต้นทนุ ขายได้จากการคานวณดงั น้ี ต้นทุนขาย ทราบต้นทุนขายได้จากการบันทึกบัญชีต้นทุนขายสนิ ค้าสาเร็จรูปต้นงวด xx ระหวา่ งงวดบวก ตน้ ทุนสนิ คา้ ทผี่ ลติ xxสินค้าสาเรจ็ รูปทม่ี เี พือ่ ขาย xxหัก สนิ คา้ สาเรจ็ รูปปลายงวด xxตน้ ทนุ ขาย xxตัวอยา่ งที่ 1-1 การคานวณตน้ ทนุ การผลิต ต่อไปนี้เป็นข้อมูลเกี่ยวกับการผลิตของบริษัท ดอยตุงอุตสาหกรรม จากัด ประจางวด 1 ปีส้ินสุดวันท่ี31 ธนั วาคม 25x1 1 ม.ค. 25x1 (บาท) 31 ธ.ค. 25x1 (บาท)วัตถดุ บิ 20,000 25,500งานระหว่างทา 32,000 28,000

14สนิ คา้ สาเร็จรูป 16,500 21,000ซอ้ื วตั ถุดิบสง่ คืนวัตถุดิบ 92,000สว่ นลดรบั 5,000ค่าแรงทางตรง 7,500คา่ แรงทางอ้อม 46,000คา่ ไฟฟ้าโรงงาน 9,500คา่ ซอ่ มแซมเคร่ืองจักร 24,000ค่าเสือ่ มราคา – อาคารโรงงาน 14,000คา่ เสื่อมราคา – เครอื่ งจกั ร 38,000ค่าประกนั ภัยโรงงาน 20,000คา่ ขนส่งเขา้ 18,000 1,200ใหท้ า 1. คานวณซอ้ื วัตถุดบิ สทุ ธิ 2. คานวณวัตถุดบิ ใช้ไป 3. คานวณค่าใชจ้ า่ ยผลติ 4. คานวณตน้ ทนุ ผลติ 5. คานวณต้นทุนสนิ คา้ ทผ่ี ลติ 6. คานวณต้นทนุ ขาย 7. คานวณตน้ ทุนผลิตต่อหน่วย สมมตุ ผิ ลติ สินคา้ ได้ 1,000 หนว่ ยคานวณซื้อวัตถุดบิ สทุ ธิ ซอื้ วัตถดุ บิ + คา่ ขนสง่ เขา้ – สง่ คืน – สว่ นลดรบั ซอ้ื วัตถดุ ิบสทุ ธิ = 92,000 + 1,200 – 5,000 – 7,500 = 80,700 =คานวณวตั ถุดบิ ใชไ้ ป = วัตถุดิบตน้ งวด+ ซือ้ วตั ถุดิบสทุ ธิ – วตั ถุดิบปลายงวด วัตถุดบิ ใชไ้ ป = 20,000+ 80,700 – 25,500 = 75,200คานวณคา่ ใช้จ่ายในการผลติ = 9,500 + 24,000 + 14,000 + 38,000 + 20,000 +18,000 = 123,500

15คานวณตน้ ทนุ การผลติ = วัตถดุ บิ ใชไ้ ป + คา่ แรงทางตรง + ค่าใช้จา่ ยในการผลิต = 75,200 + 46,000 + 123,500 = 244,700คานวณต้นทนุ สินค้าท่ผี ลิต = ต้นทุนการผลิต + งานระหว่างทาต้นงวด – งานระหว่างทาปลายงวด = 244,700 + 32,000 – 28,000 = 248,700ตน้ ทุนขาย = ตน้ ทุนสนิ ค้าสาเร็จรปู + สินค้าสาเรจ็ รูปตน้ งวด – สนิ คา้ สาเร็จรปู ปลายงวด = 248,700 + 16,500 – 21,000 = 244,200ต้นทนุ ผลติ ต่อหนว่ ย = ต้นทุนสนิ คา้ ทีผ่ ลติ เสร็จ จานวนหนว่ ยทผ่ี ลติ = 248,700 1,000 = 248.70 บาท ต่อหน่วย

16 3.งบการเงินทางธุรกิจอตุ สาหกรรมจดุ ประสงค์เชงิ พฤติกรรม 1. บอกส่วนประกอบของงบการเงินทางธุรกจิ อตุ สาหกรรมได้ 2. บอกข้อแตกต่างระหวา่ งงบการเงนิ ธรุ กจิ พาณชิ ยกรรมและธุรกิจอุตสาหกรรมได้ 3. ทางบการเงินของธรุ กิจอตุ สาหกรรมได้งบการเงินธรุ กิจประเภทพาณชิ ยกรรม งบการเงนิ ของธุรกจิ ซ้ือขายสนิ คา้ จัดทาขึน้ เพอื่ ใหผ้ ู้ใช้งบการเงินได้ทราบผลการดาเนนิ งานและฐานะการเงินของกจิ การ งบการเงินของกิจการซื้อขายสนิ คา้ ประกอบด้วย 1. งบกาไรขาดทนุ 2. งบแสดงฐานะการเงิน งบการเงนิ ทางธุรกจิ ซื้อขายสนิ คา้ คลา้ ยคลงึ กบั ธรุ กจิ อตุ สาหกรรม เพียงแค่ธรุ กจิ ซ้อื ขายสินคา้ ไม่ต้อง ทางบตน้ ทุนการผลิต สามารถเปรียบเทยี บงบการเงินของธรุ กิจพาณชิ ยกรรมและธรุ กจิ อตุ สาหกรรม ดังนี้ ธรุ กจิ พาณิชยกรรม ธรุ กิจอุตสาหกรรม xx งบกาไรขาดทุน งบกาไรขาดทนุ xx ขาย xxขาย หัก ตน้ ทุนขาย : xxหกั ตน้ ทนุ ขาย : xxxx สินคา้ สาเร็จรูปต้นงวด xx สนิ ค้าคงเหลือตน้ งวด บวก ตน้ ทนุ สนิ คา้ ท่ีผลิตxx xx ตน้ ทุนสนิ ค้าทีม่ ไี วเ้ พ่ือขาย บวก ซือ้ สุทธิ xxxx xx หัก สินค้าคงสาเรจ็ รูปปลายงวด xx สินคา้ ที่มไี ว้เพ่อื ขาย xx กาไรข้ันต้นxx หัก ค่าใช้จา่ ยดาเนินงาน : ค่าใช้จ่ายในการขาย หัก สนิ คา้ คงเหลือปลายงวด xxxxกาไรขนั้ ต้นหกั ค่าใชจ้ า่ ยดาเนินงาน : ค่าใช้จ่ายในการขายxx

17ค่าใช้จ่ายบริหาร xx xx ค่าใช้จ่ายบริหาร xx xx xxกาไรสุทธิ งบแสดงฐานะการเงนิ (บางส่วน) xx กาไรสุทธิ xx สินทรัพย์ งบแสดงฐานะการเงิน (บางสว่ น) xx สินทรพั ย์ xxสนิ ทรพั ยห์ มุนเวียน เงนิ สด สนิ ทรัพยห์ มนุ เวียน xx หลกั ทรัพย์ในความต้องการทาง xx เงินสด xx xx หลกั ทรพั ยใ์ นความต้องการทางตลาดตลาด ลกู หนี้ xx ลกู หนี้ สินค้าคงเหลอื xx สนิ ค้าคงเหลือ : วัตถุดบิ xx งานระหว่างทา xx สนิ ค้าสาเร็จรูป xxงบการเงนิ ธุรกจิ อุตสาหกรรม จุดประสงค์ของธุรกิจอุตสาหกรรมคือการจัดทางบการเงิน เพื่อให้ผู้บริหาร ผู้ท่ีเกี่ยวข้องได้ทราบถึงตน้ ทนุ สนิ คา้ ทีผ่ ลิต ต้นทนุ ผลติ สินคา้ ต่อหนว่ ย ผลการดาเนินงาน และฐานะการเงินของกิจการ งบการเงินของธุรกจิ อุตสาหกรรม ประกอบด้วย 1. งบตน้ ทุนการผลิต (Cost Of Goods Manufactured Statement) 2. งบกาไรขาดทุน (Income Statement) 3. งบแสดงฐานะการเงนิ (Balance Statement)ตวั อยา่ งงบการเงินของธุรกิจอุตสาหกรรม บริษทั xxx จากัด งบต้นทนุ ผลติ สาหรับงวด 1 ปี สนิ้ สดุ วนั ที่ 31 ธนั วาคม 25x1วตั ถุดบิ ทางตรงใชไ้ ป : (หน่วย : บาท) วัตถดุ ิบคงเหลือต้นงวด xx ซ้ือวตั ถุดิบ บวก ค่าขนส่งเข้า xx xx

รวม 18 หกั ส่งคนื วัตถุดิบ xx สว่ นลดรับ xx ซ้ือวัตถดุ ิบสทุ ธิ xx xx วัตถดุ ิบที่มเี พ่อื ใช้ในการผลติ หัก วัตถดุ ิบคงเหลือปลายงวด xx xx หกั วัตถุดิบทางออ้ ม xx วัตถุดิบทางตรงใชไ้ ปในการผลิต xxคา่ แรงงานทางตรง xxคา่ ใช้จ่ายในการผลิต : xx วตั ถดุ บิ ทางอ้อม xx คา่ แรงทางอ้อม วัสดโุ รงงานใชไ้ ป xx เงนิ เดือนผคู้ วบคุมงาน xx คา่ สาธารณปู โภคโรงงาน xx ค่าเสือ่ มราคาเครอื่ งจกั รและอุปกรณ์ xx คา่ ประกันภยั xx คา่ ใชจ้ า่ ยผลติ อืน่ ๆ xxตน้ ทนุ การผลติ ท้งั ส้ิน xxบวก งานระหวา่ งทาต้นงวด xx xxหัก งานระวา่ งทาปลายงวด xxต้นทุนสินค้าสาเรจ็ รูป xx xx xx xx บรษิ ทั xxx จากดั งบกาไรขาดทนุสาหรบั งวด 1 ปี สน้ิ สุดวนั ที่ 31 ธนั วาคม 25x1ขาย xx (หน่วย : บาท) หกั ตน้ ทุนขาย : xx xx สนิ คา้ สาเรจ็ รูปคงเหลอื ต้นงวด บวก ตน้ ทนุ สนิ ค้าสาเร็จรปู xx xx สนิ คา้ สาเร็จรูปที่มีไว้เพอ่ื ขาย

หัก สินคา้ สาเรจ็ รปู คงเหลอื ปลายงวด 19กาไรขน้ั ต้น xx หัก ค่าใชจ้ ่ายในการดาเนินงาน : xx คา่ ใช้จ่ายในการขาย คา่ ใชจ้ ่ายบริหาร xx xx xxกาไรสุทธจิ ากการดาเนนิ งานรายได้และคา่ ใชจ้ า่ ยอ่นื ๆ : xx ดอกเบีย้ จ่าย xx xxกาไรสุทธิ บรษิ ทั xxx จากดั (หน่วย : บาท) งบแสดงฐานะการเงิน xx xx ณ วนั ที่ 31 ธันวาคม 25x1 xx สินทรพั ย์ xxสนิ ทรัพยห์ มุนเวยี น xx xx เงนิ สด หลักทรพั ยใ์ นความตอ้ งการตลาด xx ลกู หนี้ (สทุ ธ)ิ xx สินคา้ คงเหลอื : xx สนิ คา้ สาเร็จรูป xx งานระหวา่ งทา xx วัตถุดิบ xx คา่ เบยี้ ประกนั จา่ ยล่วงหนา้ xx xx รวมสินทรัพย์หมุนเวียนสนิ ทรพั ยไ์ ม่หมุนเวยี น xx ที่ดิน xxx อาคาร หกั คา่ เสอ่ื มราคาสะสม xx เคร่อื งจักร หัก คา่ เสอ่ื มราคาสะสม รวมสนิ ทรพั ยไ์ ม่หมุนเวยี น รวมสนิ ทรพั ย์ หนสี้ ินและส่วนของผู้ถือหุ้นหนส้ี ินหมุนเวียน เจ้าหนี้

ค่าแรงงานค้างจ่าย xx 20 ภาษีเงนิ ไดค้ ้างจา่ ย xx หน้สี ินระยะยาวถงึ กาหนดชาระคืนภายใน 1 ปี xx xx รวมหน้สี ินหมนุ เวยี น xx xxหนีส้ นิ ไมห่ มนุ เวียน xx xx เงนิ กู้จานอง xx xx ตั๋วเงนิ จา่ ยระยะยาว xx xxx รวมหนีส้ ินไม่หมุนเวยี น รวมหน้สี ินสว่ นของผู้ถือหุ้น หุน้ สามญั กาไรสะสม รวมสว่ นของผู้ถือหุ้นรวมหน้สี ินและส่วนของผู้ถือห้นุคาศพั ท์ทา้ ยบทที่ควรทราบ = การบญั ชีต้นทนุCost Accounting = การบรหิ ารตน้ ทุนCost ManagementManagerial Accounting = การบัญชเี พอื่ การจดั การManufacturing Cost = ต้นทนุ การผลติDirect MaterialsDirect Labor = วัตถดุ บิ ทางตรงManufacturing Overhead = คา่ แรงงานทางตรงIndirect Materials = ค่าใช้จา่ ยในการผลิตIndirect Labor = วัตถุดบิ ทางอ้อมOperating Expense = คา่ แรงทางอ้อมSelling Expense = ค่าใชจ้ า่ ยในการดาเนินงานAdministrative ExpensePrime Cost = ค่าใช้จ่ายในการขายConversion Cost = ค่าใช้จา่ ยในการบริหารCost Of Goods Sold = ตน้ ทนุ ขั้นต้นPeriod Cost = ต้นทนุ แปลงสภาพFixed Cost = ต้นทุนขายVariable Cost = ต้นทนุ ตามงวดเวลาMixed Cost = ตน้ ทุนคงท่ีSemi Mixed Cost = ตน้ ทนุ ผนั แปรDirect Cost = ตน้ ทุนผสม = ตน้ ทุนกึง่ คงท่ี = ต้นทนุ ทางตรง

21Indirect Cost = ต้นทุนทางอ้อมControllable Cost = ตน้ ทุนควบคมุ ได้Non-Controllable Cost = ตน้ ทุนควบคมุ ไม่ได้Opportunity Cost = ตน้ ทนุ คา่ เสยี โอกาสSunk Cost = ต้นทุนจมDifferential Cost = ตน้ ทนุ ส่วนแตกต่างAvoidable Cost = ต้นทนุ ทหี่ ลีกเล่ยี งไม่ได้Job Order Cost System = ระบบตน้ ทนุ งานสงั่ ทาPeriodic Cost Accumulation System = ระบบสะสมต้นทุน แบบสิ้นงวดPerpetual Cost Accumulation System= ระบบสะสมต้นทุน แบบตอ่ เน่ืองAbsorption Costing System = ระบบต้นทุนเต็มVariable Costing System = ระบบต้นทนุ ผนั แปรActivity-based Costing = ระบบตน้ ทุนฐานกจิ กรรม แบบฝกึ หดั หน่วยที่ 1ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชตี ้นทุนจุดประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม 15. อธิบายความหมายของการบัญชีต้นทนุ ได้อยา่ งถูกตอ้ ง 16. อธิบายวตั ถปุ ระสงคข์ องการทาบญั ชีต้นทุนไว้อย่างถกู ต้อง 17. จาแนกประเภทของตน้ ทนุ ไดถ้ ูกต้อง 18. อธิบายถงึ ความสมั พันธ์ของบญั ชีตน้ ทนุ บัญชบี ริหาร และบัญชกี ารเงนิ ได้ 19. อธิบายความหมายของต้นทุนการผลติ ได้ 20. บอกสว่ นประกอบของตน้ ทนุ การผลติ ได้ 21. บอกสินคา้ คงเหลอื ของธรุ กิจอุตสาหกรรมได้ 22. คานวณตน้ ทนุ การผลติ ได้ 23. คานวณต้นทนุ สินค้าสาเรจ็ รูปได้ 24. คานวณตน้ ทนุ ขายได้ 25. คานวณต้นทนุ การผลิตตอ่ หน่วยได้ 26. บอกส่วนประกอบของงบการเงนิ ทางธุรกจิ อตุ สาหกรรมได้ 27. บอกข้อแตกตา่ งระหวา่ งงบการเงนิ ธุรกิจพาณชิ ยกรรมและธรุ กจิ อุตสาหกรรมได้ 28. ทางบการเงนิ ของธรุ กจิ อุตสาหกรรมได้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook