Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บุรีรัมย์ตำน้ำกิน

บุรีรัมย์ตำน้ำกิน

Description: บุรีรัมย์ตำน้ำกิน

Search

Read the Text Version

\"บุรีรมั ยต์ ้ำน้ำกิน\" \"บรุ รี มั ย์ตำ้ นำ้ กิน\" เป็นคำ้ พังเพยในอดีตทแ่ี สดงถึงภำวะกำรขำดแคลนน้ำในบริเวณ พนื ท่ีอันเป็นเขตกำรปกครองของจังหวัดบรุ รี ัมย์ในอดีต และแสดงถึงควำมเฉลยี วฉลำด ของชำวบรุ รี มั ยส์ มยั กอ่ นทน่ี ้ำควำมรู้เก่ยี วกับธรรมชำตมิ ำแกไ้ ขปญั หำกำรขำดแคลนน้ำ กรรมวิธีที่ไดช้ ่ือวำ่ เป็นกำรต้ำน้ำกิน คอื กำรขุดหลมุ ดินขนำดย่อมขนึ ก่อน แล้วตกั เอำโคลนตมในบอ่ สระ หรือบึง มำใส่หลุมที่ขุดไว้ แล้วยำ่้ ดว้ ยเท้ำจนเปน็ เลน หรอื นำ้ มำใส่ครไุ มไ้ ผย่ ำชัน แลว้ ตำ้ ด้วยไม้ให้โคนเลนมีควำมหนำแน่นสูงขึน ปล่อยทงิ ไว้ให้ตกตะกอน น้ำจำกโคลนเลนจะปรำกฎเป็นน้ำใสอยูข่ ้ำงบนตกั ไปใชบ้ ริโภคได้ แกป้ ัญหำกำรขำดแคลนน้ำอันเป็นปัญหำเฉพำะหนำ้ ให้ลลุ ่วงไปได้ \"บุรรี ัมย์ต้ำนำ้ กนิ \" เป็นคำ้ พังเพยทอ่ี ย่ใู นควำมทรงจ้ำและควำมภำคภูมิใจในอดตี ของ ชำวบรุ รี ัมย์ ในฐำนะทเี่ ป็นค้ำพงั เพยทีแ่ สดงถงึ ควำมยำกล้ำบำกและทรหดอดทนของ บรรพบรุ ษุ ผ้บู กุ เบิกแผน่ ดนิ ใหป้ ระโยชนต์ กทอดแกล่ ูกหลำน เหลน ในปัจจบุ นั และใน ฐำนะทสี่ ำมำรถนำ้ ควำมรู้เกีย่ วกบั ธรรมชำติมำใชใ้ หเ้ ปน็ ประโยชน์แกป้ ัญหำกำรขำดแคล น้ำไดอ้ ย่ำงเฉลียวฉลำด ปจั จุบันภำวะเรื่องน้ำของจังหวดั บรุ ีรัมยไ์ ดเ้ ปลย่ี นแปลงไปมำก กรมชลประทำนได้ สรำ้ งอำ่ งเกบ็ นำ้ ขนำดต่ำงๆ เพมิ่ ขึน และส้ำนกั งำนเรง่ รัดพัฒนำชนบทกไ็ ดป้ ดิ กันท้ำนบ เหมอื งฝำย และขุดลอก ห้วย หนอง คลอง บงึ สรำ้ งอ่ำงเก็บน้ำขนำดเลก็ สร้ำงสระนำ้ มำตรฐำนขึนเป็นจ้ำนวนมำก นอกจำกนียังมีหน่วยงำนอื่นสรำ้ งถังเกบ็ นำ้ ฝน สระน้ำ บ่อ นำ้ ตืน บอ่ บำดำล หอถงั จ่ำยน้ำโดยสรำ้ งเพิ่มขนึ ทุกปี ทำ้ ให้ควำมหมำยและภำพพจน์ของ คำ้ พังเพยดงั กล่ำวได้หมดไปแลว้ ในปัจจุบัน ประวตั ิควำมเป็นมำของจงั หวัดบรุ ีรมั ย์ (HISTORY)

บุรรี มั ยเ์ ป็นเมืองแห่งควำมร่นื รมย์ตำมควำมหมำยของชือ่ เมอื งทีน่ ่ำอยสู่ ำ้ หรับคนใน ทอ้ งถ่ินและเป็นเมืองท่นี ่ำมำเยือนส้ำหรบั คนตำ่ งถ่ิน เมอื งปรำสำทหนิ ในเขตจงั หวัด บรุ รี ัมยม์ ำกมไี ปด้วย ปรำสำทหินใหญ่นอ้ ย อันหมำยถึงควำมรุ่งเรอื งมำแตอ่ ดีต จำก กำรศึกษำของ นักโบรำณคดีพบหลกั ฐำนกำรอยู่อำศยั ของมนุษยม์ ำตังแต่สมยั ก่อน ประวตั ิศำสตร ์สมัยทรำวดี และที่สำ้ คญั ทสี่ ุดพบกระจำยอย่ทู ่ัวไป ในจังหวดั บรุ ีรมั ย์มำก คอื หลักฐำนทำงวัฒนธรรมของเขมรโบรำณ ซงึ่ มีทังปรำสำทอฐิ และปรำสำทหนิ เป็น จ้ำนวนมำกกวำ่ 60 แห่ง รวมทงั ได้พบแหลง่ โบรำณคดีทส่ี ำ้ คัญคือเตำเผำ ภำชนะดนิ เผำ และภำชนะดนิ เผำแบบท่ีเรียกวำ่ เครื่องถว้ ยเขมร ซ่งึ กำ้ หนดอำยไุ ด้ประมำณพุทธ ศตวรรษท่ี 15 ถึง 18 อยูท่ ั่วไปหลงั จำกสมยั ของวฒั นธรรมขอมหรือเขมรโบรำณ แล้ว หลกั ฐำนทำงประวัติศำสตร์ของจังหวดั บรุ รี ัมย์ เรม่ิ มขี ึนอกี ครงั ตอนปลำยสมัยกรงุ ศรี อยุธยำ โดยปรำกฏชอ่ื ว่ำเปน็ เมืองขึน ของเมืองนครรำชสีมำและปรำกฏชอ่ื ต่อมำในสมัย กรงุ ธนบรุ ีถึงสมยั กรุงรตั นโกสินทร์วำ่ บรุ รี ัมยม์ ีฐำนะเป็นเมือง ๆ หนึ่ง จนถึง พ.ศ.2476 ไดม้ กี ำรจัดระเบียบรำชกำรบริหำรส่วนภูมิภำคใหม่ จึงไดช้ ่อื เปน็ จังหวดั บุรีรมั ย์มำจนถึง ปจั จุบันนีช่อื เมอื งบรุ ีรัมย์ ไม่ปรำกฎในเอกสำรประวัตศิ ำสตรส์ มัยอยุธยำและธนบุรี เฉพำะชือ่ เมืองอ่ืน ซึง่ ปจั จบุ นั เป็นอำ้ เภอในจังหวัดบุรีรมั ย์ ได้แก่ เมืองนำงรองเมืองพุทไธ สง และเมืองประโคนชยั พ.ศ. 2319 รชั สมัยสมเดจ็ พระเจ้ำตำกสินมหำรำช กรุงธนบุรี กรมกำรเมืองนครรำชสมี ำ มใี บยอกเขำ้ มำว่ำ พระยำนำงรองคบคิดเปน็ กบฏรว่ มกบั เจำ้ โอ เจ้ำอนิ และอุปฮำดเมืองจ้ำปำศกั ด์ิ จึงโปรดให้ พระบำทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟ้ำจุฬำ โลกมหำรำช เมือ่ ยังดำ้ รงคำ้ แหน่ง เจ้ำพระยำจักรี เป็นแม่ทัพไปปรำบจบั ตัวพระยำ นำงรองประหำรชวี ติ และสมทบเจ้ำพระยำสรุ สหี ์ (สมเด็จพระบวรรำชเจำ้ มหำสรุ สิง หนำท) คุมกองทัพหวั เมืองฝ่ำยเหนือยกไปตเี มือง จำ้ ปำศักด์ิ เมอื งโขง และเมอื งอตั ปอื ไดท้ งั 3 เมอื ง ประหำรชีวิต เจ้ำโอ เจำ้ อนิ อปุ ฮำด เมอื งจ้ำปำศกั ดิ์ แล้วเกลียกล่อมเมือง ตำ่ ง ๆใกล้เคียงให้สวำมิภกั ดิ์ ได้แก่ เขมรป่ำดง ตะลุบ สรุ ินทร์ สงั ขะ และเมืองขุขันธ์ รวบรวมผ้คู นตังเมอื งขึนในเขตขอมรำ้ เรยี กว่ำ เมืองแปะ แตง่ ตงั บรุ รี มั ย์บุตรเจ้ำเมืองผไท สมนั (พทุ ไธสง)ให้เป็นเจำ้ เมอื ง ซึ่งต่อมำได้เปน็ พระยำนครภักดี ประมำณปลำยรัชกำล พระบำทสมเดจ็ พระจอมเกล้ำเจ้ำอยู่หัว หรือต้นรำชกำร พระบำทสมเดจ็ พระ

จลุ จอมเกล้ำเจำ้ อยู่หวั ได้เปล่ียนช่ือเมืองแปะเป็นบรุ ีรมั ย์ด้วยปรำกฎว่ำ ไดม้ ีกำรแตง่ ตงั พระสำ้ แดงฤทธริ งคเ์ ปน็ พระนครภักดีศรีนครำ ผสู้ ำ้ เรจ็ รำชกำรเมืองบรุ รี ัมย์ ขึนเมือง นครรำชสมี ำใน พ.ศ. 2411 เมอื งบุรีรัมยแ์ ละเมืองนำงรองผลดั กันมคี วำมส้ำคัญเร่ือยมำ พ.ศ. 2433 เมืองบุรรี มั ย์โอนขนึ ไปขึนกบั หวั เมืองลำวฝ่ำยเหนือ มหี นองคำยเปน็ ศูนย์กลำง และเมอื งบุรรี มั ยม์ ีเมืองในสังกัด 1 แห่ง คอื เมืองนำงรอง ต่อมำประมำณ พ.ศ. 2440-2441 เมอื งบุรีรมั ย์ไดก้ ลบั ไปขึนกบั มณฑลนครรำชสีมำเรียกวำ่ \"บรเิ วณนำงรอง\" ประกอบดว้ ย เมืองบรุ รี มั ย์ นำงรอง รัตนบรุ ี ประโคนชัย และพทุ ไธสง พ.ศ. 2442 มี ประกำศเปลย่ี นชือ่ มณฑลลำวเฉยี งเป็น มณฑลฝำ่ ยตะวันตกเฉียงเหนอื มณฑลลำวพวน เปน็ มณฑลฝำ่ ยเหนอื มณฑลลำวเป็นมณฑลตะวนั ออกเฉียงเหนอื มณฑลเขมร เป็น มณฑลตะวนั ออกและในครำวนี เปลย่ี นช่อื บรเิ วณนำงรองเป็น \"เมืองนำงรอง\"มีฐำนะ เปน็ เมอื งจัตวำ ตงั ที่ว่ำกำรอยูท่ ่เี มืองบรุ ีรมั ย์ แต่ตรำต้ำแหน่งเป็นตรำผู้ว่ำกำรนำงรอง กระทรวงมหำดไทยจึงไดป้ ระกำศเปลยี่ นชอ่ื เมอื งเปน็ \"บุรรี มั ย์\" และเปล่ียนตรำต้ำแหน่ง เปน็ ผู้ว่ำรำชกำรเมอื งบุรรี ัมย์ ตังแตว่ นั ที่ 3 สงิ หำคมพ.ศ. 2444 เปน็ ตน้ มำ พ.ศ. 2450 กระทรวงมหำดไทยปรับปรุงหวั เมอื งในภำคตะวนั ออกเฉียงเหนอื ให้มณฑลนครรำชสมี ำ ประกอบด้วย 3 เมือง 17 อ้ำเภอ คอื เมืองนครรำชสมี ำ 10 อำ้ เภอ เมืองชัยภูมิ 3 อำ้ เภอ และเมืองบุรรี ัมย์ 4 อำ้ เภอ คือ นำงรอง พทุ ไธสง ประโคนชยั และรตั นบุรี ตอ่ มำได้มกี ำร ตรำพระรำชบัญญัตริ ะเบยี บบริหำรแห่งรำชอำณำจักรสยำม พ.ศ. 2476 ขนึ ยุบมณฑล นครรำชสมี ำ จัดระเบยี บบริหำรรำชกำรสว่ นภมู ิภำคออกเป็นจังหวัดและอ้ำเภอ เมือง บุรรี ัมยจ์ งึ มีฐำนะเป็น \"จังหวัดบรุ รี มั ย\"์ ตังแต่นนั เป็นตน้ มำ

ตรำประจ้ำจงั หวดั บรุ รี ัมย์ เป็นรูปปรำสำทเขำพนมรงุ้ มกี ำ้ แพงลอ้ มรอบ ภำยใน เปน็ ทอ้ งพระโรง มเี ทวสถำน และรอยพระพทุ ธบำท จำ้ ลองประดิษฐำนอยูบ่ นยอดเขำแห่งนีด้วยภำพ เทวดำรำ่ ยร้ำ หมำยถึงดนิ แดนแห่งเทพเจ้ำผู้สร้ำง ผู้ ปรำบยุคเข็ญ และผู้ประสำทสขุ ท่ำ่ ร่ำยร้ำ หมำยถงึ ควำมส้ำรำญช่ืนชมยินดี ซึ่งตรงกบั กำรออกเสียง พยำงค์สดุ ท้ำยของเชอ่ื จังหวัด ธงประจำ้ จังหวดั บรุ ีรัมย์ ดอกไ้มป้ ระจำ้ จังหวดั ได้แก่ ดอกสุพรรณิกำร์ หรอื ดอกฝ้ำยค้ำ ต้นไมป้ ระจ้ำจังหวัด ไดแ้ ก่ ต้นแป๊ะ

ตน้ ไมม้ งคลพระรำชทำน ไดแ้ ก่ ต้นกำฬพฤกษ์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook