ก การพฒั นาบทเรียนออนไลน์ วชิ าอินเทอร์เน็ตดว้ ยแอปพลิเคชนั Google classroom สาหรับนกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 1 ศุภเศรษฐ์ พ่ึงบวั วทิ ยานิพนธ์น้ีเป็นส่วนหน่ึงของการศึกษาตามหลกั สูตรการศึกษามหาบณั ฑิต สาขาวชิ าการสอนการงานอาชีพและเทคโนโลยี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บูรพา พฤศจิกายน 2562 ลิขสิทธ์ิเป็นของมหาวทิ ยาลยั บูรพา
ฉ สารบัญ หนา้ บทคดั ยอ่ ภาษาไทย........................................................................................................................ ง บทคดั ยอ่ ภาษาองั กฤษ................................................................................................................... จ สารบญั .......................................................................................................................................... ฉ สารบญั ตาราง................................................................................................................................ ซ สารบญั ภาพ................................................................................................................................... ฏ บทที่ 1 บทนา.................................................................................................................................... 1 ความเป็นมาและความสาคญั ของปัญหา........................................................................ 1 วตั ถุประสงคข์ องการวจิ ยั ............................................................................................. 3 คาถามของการวจิ ยั ........................................................................................................ 3 สมมติฐานของการวจิ ยั .................................................................................................. 3 กรอบแนวคิดในการวจิ ยั ............................................................................................... 4 ขอบเขตของการวิจยั ..................................................................................................... 4 นิยามศพั ทเ์ ฉพาะ........................................................................................................... 5 ประโยชนท์ ี่คาดวา่ จะไดร้ ับจากการวจิ ยั ........................................................................ 6 2 เอกสารและงานวจิ ยั ท่ีเก่ียวขอ้ ง............................................................................................. 7 หลกั สูตรการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (รายวชิ าเพ่ิมเติม กลุ่มสาระ การเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลย)ี ...................................................................... 7 แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกบั รูปแบบการสอนออนไลน.์ ........................................................ 12 บทเรียนออนไลน์.......................................................................................................... 23 ข้นั ตอนการหาประสิทธิภาพสื่อ.................................................................................... 30 การสร้างและหาคุณภาพของแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิ.............................................. 32 Google classroom......................................................................................................... 35 ความพึงพอใจ............................................................................................................... 45 งานวจิ ยั ที่เก่ียวขอ้ ง........................................................................................................ 55
ช สารบัญ (ต่อ) บทที่ หนา้ 3 วธิ ีการดาเนินการวิจยั ........................................................................................................... 58 ประชากรและกลุ่มตวั อยา่ ง........................................................................................... 58 เครื่องมือท่ีใชใ้ นการศึกษา........................................................................................... 59 ข้นั ตอนการสร้างและหาคุณภาพเครื่องมือที่ใชใ้ นการศึกษา........................................ 59 แบบแผนการศึกษา....................................................................................................... 86 การทดลองและการเก็บรวบรวมขอ้ มูล........................................................................ 87 การวเิ คราะห์ขอ้ มูล....................................................................................................... 88 สถิติที่ใชใ้ นการศึกษา................................................................................................... 89 4 ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล.......................................................................................................... 93 สญั ลกั ษณ์ที่ใชใ้ นการวเิ คราะห์ขอ้ มูล........................................................................... 93 การนาเสนอผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล.............................................................................. 93 ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล.................................................................................................. 94 5 สรุป อภิปราย และขอ้ เสนอแนะ…...................................................................................... 103 สรุปผลการศึกษา.......................................................................................................... 104 อภิปรายผล................................................................................................................... 104 ขอ้ เสนอแนะ................................................................................................................ 108 บรรณานุกรม............................................................................................................................... 109 ภาคผนวก..................................................................................................................................... 115 ภาคผนวก ก......................................................................................................................... 116 ภาคผนวก ข......................................................................................................................... 118 ภาคผนวก ค......................................................................................................................... 124 ภาคผนวก ง.......................................................................................................................... 126 ภาคผนวก จ.......................................................................................................................... 140 ประวตั ิยอ่ ของผวู้ ิจยั ...................................................................................................................... 154
1 บทท่ี 1 บทนา ความเป็ นมาและความสาคญั ของปัญหา การจดั การเรียนการสอนในศตวรรษท่ี 21 มีการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ผา่ นเครือขา่ ย มากข้ึน ซ่ึงแตกต่างไปจากการจดั การศึกษาในศตวรรษที่ 20 ท่ีจดั การเรียนรู้ตามหนงั สือ ส่งผลให้ การเรียนรู้ของผเู้ รียนสามารถเขา้ ไปสืบคน้ ความรู้จากตาราตา่ ง ๆ หรือแหล่งการเรียนรู้อื่น ๆ หรือจากเวบ็ ไซตต์ ่าง ๆ ไดอ้ ยา่ งกวา้ งขวาง การเรียน (ปรัชญนนั ท์ นิลสุข, 2558, หนา้ 9) ซ่ึงผสู้ อน ตอ้ งจดั กิจกรรมใหผ้ เู้ รียนไดส้ ืบคน้ อยา่ งสม่าเสมอ โดยที่ผเู้ รียนจะตอ้ งมีทกั ษะดา้ นเทคโนโลยี สารสนเทศและการส่ือสาร แตใ่ นการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารตอ้ งไดร้ ับคาแนะนา จากครูและพอ่ แม่ในการใชเ้ คร่ืองมือน้ีใหเ้ กิดประโยชน์ต่อการเรียนรู้อยา่ งสร้างสรรค์ (วิจารณ์ พานิช, 2555, หนา้ 43) เน่ืองจากเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารเกิดการเปลี่ยนแปลงและ พฒั นาอยา่ งรวดเร็ว โดยท่ีครูกต็ อ้ งหมนั่ เรียนรู้ ออกแบบการเรียนที่ดีกวา่ เหมาะสมกวา่ ตามช่วงวยั ของเด็ก ท้งั น้ีการจดั การเรียนดว้ ยวธิ ีสอนออนไลนจ์ ะเป็ นตวั กระตุน้ การเรียนรู้ท้งั ในทางตรงและ ในทางออ้ ม อีกท้งั ยงั มุ่งเนน้ ส่งเสริมความคิดสร้างสรรคแ์ ละสร้างแรงจูงใจในการเรียนรู้ของผเู้ รียน เพ่อื ใหเ้ กิดการเรียนรู้ต่อเนื่อง ประกอบกบั การนาเทคโนโลยสี ารสนเทศใชเ้ ป็ นเคร่ืองมือที่สาคญั ใน การศึกษาสาหรับการเสริมสร้างศกั ยภาพของคนในชาติใหส้ ามารถเพิม่ ขีดความสามารถ และยงั เป็น การขยายโอกาสทางการศึกษาที่มีคุณภาพอยา่ งทว่ั ถึง รวมถึงยงั มีความสอดคลอ้ งตามแนวปฏิรูป การศึกษา ตลอดจนจะเป็นการยกระดบั คุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ใหม้ ีคุณภาพและมาตรฐาน ระดบั สากล (เขมณฏั ฐ์ มิ่งศิริธรรม, 2559, หนา้ 8) วธิ ีการสอนยคุ ปัจจุบนั มีการใชน้ วตั กรรมการจดั กิจกรรมเพอ่ื การสอนบนเครือขา่ ย อินเทอร์เน็ตดว้ ยนวตั กรรมประยกุ ตใ์ นเชิงบูรณาการ (สุมนา สุขพนั ธ์, 2561, หนา้ 583) สาหรับใช้ เป็นเครื่องมือในการพฒั นาและเป็นปัจจยั สนบั สนุนการเรียนรู้ของผูเ้ รียนศตวรรษที่ 21 (สานกั แผน และประกนั คุณภาพการศึกษา แนวทางการเรียนการสอนในศตวรรษท่ี 21) และปัจจุบนั เทคโนโลยี ท่ีเติบโตอยา่ งรวดเร็ว และที่ยง่ิ ไปกวา่ น้นั คือ ขอ้ มูลความรู้ทุกวนั น้ีมีการเปล่ียนแปลงอยา่ งรวดเร็ว และมีขอ้ มูลมากมายที่สามารถเรียนรู้ผา่ นทางสื่อตา่ ง ๆ เช่น www, Facebook, SMS ในขณะเดียวกนั ผเู้ รียนไดค้ ิดและลงมือปฏิบตั ิติดว้ ยตนเอง (Learning by doing and thinking) (วจิ ารณ์ พานิช, 2555, หนา้ 14-15) ดงั กรอบความคิดและการเรียนรู้เพ่ือทกั ษะแห่งศตวรรษที่ 21 โดยมีกระบวน ดงั ภาพ ที่ 1-1
2 ภาพท่ี 1-1 กรอบความคิดและการเรียนรู้เพ่ือทกั ษะแห่งศตวรรษที่ 21 (วจิ ารณ์ พานิช, 2555) การเรียนรู้ออนไลน์โดยใช้ Google classroom สาหรับการจดั กิจกรรมการสอนดว้ ย บทเรียนคอมพิวเตอร์เพ่ือการเรียนรู้ผา่ น Application ที่รวมเอาบริการของ Google ที่มีอยแู่ ลว้ อนั ไดแ้ ก่ Drive, Docs, Gmail หรือ Sheet โดยจะใชเ้ ป็ นช่องทางของระบบการสื่อสารและ อินเทอร์เน็ต ผเู้ รียนสามารใชค้ อมพิวเตอร์ท่ีเช่ือมต่อกบั ระบบอินเทอร์เน็ตเขา้ ไปเรียนในเวป็ ไซต์ ที่ออกแบบกระบวนการเรียนการสอนใหม้ ีสภาพแวดลอ้ มคลา้ ยกบั การเรียนในหอ้ งเรียน แบบ ปฏิสมั พนั ธ์ระหวา่ งผเู้ รียนกบั ผสู้ อนและผเู้ รียนกบั ผเู้ รียน โดยบรรยากาศเสมือนพบกนั จริง (นิภา แยม้ วจี, 2552) แลว้ ปัจจุบนั โรงเรียน และสถานศึกษาส่วนใหญ่ ยงั ใชว้ ธิ ีการสอนแบบด้งั เดิม (Traditional learning approach) ท่ีการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนดว้ ยวธิ ีการ “เล่าเรื่อง” โดยท่ีครู เป็นผบู้ รรยายหนา้ ช้นั เรียนโดยใหผ้ เู้ รียน “เลคเช่อร์ (Lecture)” ซ่ึงส่งผลกระทบใหผ้ เู้ รียน มีความเบื่อหน่าย ไมม่ ีแรงจูงใจในการเรียนรู้ ผวู้ จิ ยั จึงมีความสนใจใมนการพฒั นากิจกรรมการสอน ดว้ ยแอพพลิเคชนั่ Google classroom สาหรับใชเ้ ป็นเคร่ืองมือใหค้ รูผสู้ อนและนกั เรียนสามารถใช้ ประโยชน์ในการจดั กิจกรรมการสอนรูปแบบออนไลน์ และการเรียนรู้รูปแบบดงั กล่าว มีความสอดคลอ้ งกบั หลกั สูตรการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 รายวชิ าเพม่ิ เติมกลุ่มสาระ การเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 1 ในการเรียนรายวชิ า อินเทอร์เน็ต ของ โรงเรียนบา้ นมหาเจริญ ตาบลทุ่งมหาเจริญ อาเภอวงั น้าเยน็ จงั หวดั สระแกว้ ดว้ ยเหตุน้ี ขา้ พเจา้ มีความสนใจกระบวนการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน วชิ า อินเทอร์เน็ต ดว้ ยแอพพลิเคชนั่ Google classroom สาหรับนกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 1 โรงเรียน บา้ นมหาเจริญ ตาบลทุ่งมหาเจริญ อาเภอวงั น้าเยน็ จงั หวดั สระแกว้ เพือ่ ใหส้ อดคลอ้ งกบั ยคุ ปัจจุบนั
3 อนั จะส่งผลใหน้ กั เรียนไดเ้ รียนรู้ คน้ หาความรู้ สรุปองคค์ วามรู้ไดด้ ว้ ยตนเอง และสามารถแกไ้ ข ปัญหาไดด้ ว้ ยตนเอง ตลอดจนผเู้ รียนสามารถลงมือทาดว้ ยตวั เอง (Learning by doing) จากการเรียน บทเรียนออนไลน์ วชิ าอินเทอร์เน็ต ดว้ ยแอปพลิเคชนั Google classroom ซ่ึงเป็ นปัจจยั สาคญั ในการวจิ ยั คร้ังน้ีไดฝ้ ึกทกั ษะและทบทวนความรู้ไดต้ อ่ เนื่อง และเพอ่ื กระตุน้ ให้ผเู้ รียนเกิดแรงจูงใจ ในการเรียนรู้ ตลอดจนตอ้ งการใหน้ กั เรียนเรียนรู้ถึงปัญหาที่เกิดข้ึนจริง และรู้จกั วธิ ีการสาหรับ แนวทางการแกไ้ ขปัญหาไดถ้ ูกตอ้ ง วตั ถุประสงค์ของการวจิ ัย การศึกษาในคร้ังน้ี ผศู้ ึกษาไดก้ าหนดวตั ถุประสงคข์ องการศึกษาไว้ ดงั น้ี 1. เพ่ือสร้างและหาประสิทธิภาพบทเรียนออนไลน์ วชิ าอินเทอร์เน็ต ดว้ ยแอปพลิเคชนั Google classroom สาหรับนกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 1 ใหม้ ีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ E1/ E2 กาหนดเกณฑผ์ า่ นไวท้ ่ี (80/ 80) 2. เพ่ือเปรียบเทียบคะแนนก่อนเรียนกบั หลงั เรียน ดว้ ยบทเรียนออนไลน์ วชิ า อินเทอร์เน็ต ดว้ ยแอปพลิเคชนั Google classroom สาหรับนกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 1 3. เพ่ือศึกษาความพึงพอใจของนกั เรียนท่ีมีต่อการเรียนจากบทเรียนออนไลน์ วชิ า อินเทอร์เน็ต ดว้ ยแอปพลิเคชนั Google classroom สาหรับนกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 1 คาถามของการวจิ ยั การศึกษาคร้ังน้ี ผศู้ ึกษาต้งั คาถามของการศึกษาไว้ ดงั น้ี คะแนนระหวา่ งก่อนเรียนกบั หลงั เรียน จากการเรียนบทเรียนออนไลน์ วชิ าอินเทอร์เน็ต ดว้ ยแอปพลิเคชนั Google classroom สาหรับนกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 1 แตกตา่ งกนั อยา่ งไร สมมตฐิ านของการวจิ ยั การศึกษาคร้ังน้ี ผศู้ ึกษาต้งั สมมติดฐานของการศึกษาไว้ ดงั น้ี คะแนนระหวา่ งก่อนเรียนกบั หลงั เรียน ดว้ ยการเรียนบทเรียนออนไลน์ วชิ าอินเทอร์เน็ต ดว้ ยแอปพลิเคชนั Google classroom สาหรับนกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 1 ไดค้ ะแนนหลงั เรียน สูงกวา่ คะแนนก่อนเรียน
4 กรอบแนวคดิ ในการวจิ ัย 1. หลกั สูตรการศึกษา บทเรียนออนไลน์ 1. ผลคะแนนคะแนน ข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช วชิ าอินเทอร์เน็ต ดว้ ย ก่อนเรียน (Pre-test) 2551 (รายวชิ าเพิม่ เติม แอปพลิเคชนั Google กบั คะแนนหลงั เรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้ classroom สาหรับ (Post-test) การงานอาชีพและ นกั เรียนช้นั 2. ความพึงพอใจของ เทคโนโลย)ี มธั ยมศึกษาปี ท่ี 1 นกั เรียน 2. แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกบั รูปแบบการสอนออนไลน์ 3. การใชง้ านแอปพลิเคชนั Google classroom ภาพที่ 1-2 กรอบแนวคิดในการวจิ ยั กระบวนการพฒั นาการใชบ้ ทเรียนออนไลน์วชิ า อินเทอร์เน็ต ดว้ ยแอปพลิเคชนั Google classroom สาหรับนกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 1 ขอบเขตของการวจิ ยั 1. ขอบเขตด้านประชากรและกลุ่มตวั อย่าง ประชากรที่ใชใ้ นการศึกษาในคร้ังน้ี เป็นนกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 1 โรงเรียน บา้ นมหาเจริญ ตาบลทุง่ มหาเจริญ อาเภอวงั น้าเยน็ จงั หวดั สระแกว้ ภาคเรียนท่ี 1 ปี การศึกษา 2562 จานวน 2 หอ้ งเรียน รวมจานวนนกั เรียนท้งั หมด 67 คน กลุ่มตวั อยา่ งท่ีใชใ้ นการศึกษาในคร้ังน้ี เป็นนกั เรียนที่กาลงั ศึกษา ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 1 โรงเรียนบา้ นมหาเจริญ ตาบลทุ่งมหาเจริญ อาเภอวงั น้าเยน็ จงั หวดั สระแกว้ ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2562 หน่ึงหอ้ งเรียน จานวน 34 คน ซ่ึงไดม้ าจากการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster random sampling) โดยใชห้ อ้ งเรียนเป็นหน่วยสุ่ม (เชิดศกั ด์ิ โฆวาสินธุ์, 2545, หนา้ 62) 2. ขอบเขตด้านเนื้อหา บทเรียนออนไลน์ วชิ าอินเทอร์เน็ต ดว้ ยแอปพลิเคชนั Google classroom สาหรับนกั เรียน ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 1 โรงเรียนบา้ นมหาเจริญ ตาบลทุง่ มหาเจริญ อาเภอวงั น้าเยน็ จงั หวดั สระแกว้ ซ่ึงผวู้ จิ ยั ไดว้ เิ คราะห์เน้ือหาวชิ าอินเทอร์เน็ต กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี หลกั สูตรการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน โรงเรียนบา้ นมหาเจริญ พุทธศกั ราช 2551 โดยการแบ่งเน้ือหา
7 บทท่ี 2 เอกสารและงานวจิ ยั ที่เกยี่ วข้อง การดาเนินการวจิ ยั คร้ังน้ี ผวู้ จิ ยั ไดด้ าเนินการวจิ ยั เรื่อง การพฒั นาบทเรียนออนไลน์ ดว้ ยแอพพลิเคชน่ั Google classroom สาหรับนกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 1 โรงเรียนบา้ นมหาเจริญ จงั หวดั สระแกว้ โดยมีเอกสาร และวจิ ยั ท่ีเก่ียวขอ้ ง ดงั ต่อไปน้ี 1. หลกั สูตรการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 (รายวิชาเพม่ิ เติม กลุ่มสาระ การเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลย)ี 2. แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกบั รูปแบบการสอนออนไลน์ 3. บทเรียนออนไลน์ 4. ข้นั ตอนการหาประสิทธิภาพส่ือ 5. การสร้างและหาคุณภาพของแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิ 6. Google classroom 7. ความพงึ พอใจ 8. งานวจิ ยั ท่ีเกี่ยวขอ้ ง หลกั สูตรการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (รายวชิ าเพมิ่ เตมิ กล่มุ สาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลย)ี 1. หลกั การ เพ่อื ใหก้ ารจดั การศึกษาข้นั พ้ืนฐานเป็ นไปตามแนวนโยบายการจดั การศึกษาของประเทศ จึงกาหนดหลกั การของหลกั สูตรการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน ดงั น้ี 1.1 เป็นการศึกษาเพื่อความเป็นเอกภาพของชาติ มุง่ เนน้ ความเป็นไทยควบคูก่ บั ความเป็ นสากล 1.2 เป็นการศึกษาเพ่ือปวงชนท่ีประชาชนทุกคนจะไดร้ ับการศึกษาอยา่ งเสมอภาค และเท่าเทียมกนั โดยสงั คมมีส่วนร่วมในการจดั การศึกษา 1.3 ส่งเสริมใหผ้ เู้ รียนไดพ้ ฒั นาและเรียนรู้ดว้ ยตนเองอยา่ งต่อเน่ืองตลอดชีวติ โดยถือวา่ ผเู้ รียนมีความสาคญั ท่ีสุดสามารถพฒั นาตามธรรมชาติและเตม็ ตามศกั ยภาพ 1.4 เป็นหลกั สูตรที่มีโครงสร้างยดื หยนุ่ ท้งั ดา้ นสาระ เวลา และการจดั การเรียนรู้
8 1.5 เป็นหลกั สูตรท่ีจดั การศึกษาไดท้ ุกรูปแบบ ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมายสามารถ เทียบโอนผลการเรียนรู้และประสบการณ์ 2. จุดมุ่งหมาย หลกั สูตรการศึกษาข้นั พ้นื ฐานมุง่ พฒั นาคนไทยใหเ้ ป็ นมนุษยท์ ่ีสมบูรณ์เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข และมีความเป็นไทย มีศกั ยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพโดยได้ กาหนดจุดหมาย ซ่ึงถือเป็นมาตรฐานการเรียนรู้ใหผ้ เู้ รียนเกิดคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ดงั ต่อไปน้ี 2.1 เห็นคุณค่าตนเอง มีวินยั ในตนเองปฏิบตั ิตนตามหลกั ธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนบั ถือ มีคุณธรรม จริยธรรมและคา่ นิยมอนั พงึ ประสงค์ 2.2 มีความคิดสร้างสรรค์ ใฝ่ รู้ ใฝ่ เรียน รักการอา่ น รักการเขียน และรักการคน้ ควา้ 2.3 มีความรู้อนั เป็ นสากล รู้เท่าทนั การเปล่ียนแปลงและความเจริญกา้ วหนา้ ทาง วทิ ยาการ มีทกั ษะและศกั ยภาพในการจดั การ การส่ือสารและการใชเ้ ทคโนโลยี ปรับวธิ ีการคิด วธิ ีการทางานไดเ้ หมาะสมกบั สถานการณ์ 2.4 มีทกั ษะและกระบวนการโดยเฉพาะทางคณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ทกั ษะการคิด การสร้างปัญญา และทกั ษะในการดาเนินชีวิต 2.5 รักการออกกาลงั กาย ดูแลตนเองใหม้ ีสุขภาพและบุคลิกภาพท่ีดี 2.6 มีประสิทธิภาพในการผลิตและการบริโภคมีคา่ นิยมเป็นผผู้ ลิตมากกวา่ เป็น ผบู้ ริโภค 2.7 เขา้ ใจในประวตั ิศาสตร์ของชาติไทย ภูมิใจในความเป็ นไทย เป็นพลเมืองท่ีดี ยดึ มน่ั ในวถิ ีชีวติ และการปกครองระบอบประชาธิปไตย อนั มีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็ นประมุข 2.8 มีจิตสานึกในการอนุรักษภ์ าษาไทย ศิลปะ วฒั นธรรม ประเพณี กีฬา ภูมิปัญญา ไทย ทรัพยากรธรรมชาติและพฒั นาสิ่งแวดลอ้ ม 2.9 รักประเทศชาติและทอ้ งถ่ิน มุง่ ทาประโยชน์และสร้างส่ิงท่ีดีงามใหส้ งั คม
9 3. โครงสร้างหลกั สูตร/ เวลาเรียน ตารางท่ี 2-1 โครงสร้างหลกั สูตรของโรงเรียนบา้ นมหาเจริญ จงั หวดั สระแกว้ กล่มุ สาระการเรียนรู้/ กจิ กรรม ม.1 เวลาเรียนต่อปี ม.3 ม.2 รายวชิ าพืน้ ฐาน 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) - ภาษาไทย 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) - คณิตศาสตร์ 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) 120 (3 นก.) - วทิ ยาศาสตร์ 160 (4 นก.) 120 (3 นก.) 160 (4 นก.) - สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม 40 (1 นก.) 160 (4 นก.) 40 (1 นก.) - ประวตั ิศาสตร์ 120 (3 นก.) 40 (1 นก.) 120 (3 นก.) - หนา้ ที่พลเมือง วฒั นธรรมและการดาเนินชีวติ 80 (2 นก.) 120 (3 นก.) 80 (2 นก.) - สุขศึกษาและพลศึกษา 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) - ศิลปะ 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) 80 (2 นก.) - การงานอาชีพและเทคโนโลยี 120 (3 นก.) 80 (2 นก.) 120 (3 นก.) - ภาษาต่างประเทศ 120 (3 นก.) รวมเวลาเรียนพ้ืนฐาน 880 880 รายวชิ าเพม่ิ เติม 880 คอมพิวเตอร์ 80 80 งานช่าง 1 (ช) 40 80 - งานเกษตร 1 (ญ) - งานช่าง 2 (ช) - 40 - งานเกษตร 2 (ญ) - - งานช่าง 3 (ช) - - 40 งานเกษตร 3 (ญ) - - คณิตศาสตร์ (เสริมทกั ษะ) 40 40 40 นาฏศิลป์ 40 40 40 200 200 200 รวมเวลาเรียนเพม่ิ เติม
58 บทท่ี 3 วธิ ีการดาเนินการวจิ ยั วธิ ีดาเนินการวจิ ยั เรื่อง การพฒั นาบทเรียนออนไลน์ วชิ าอินเทอร์เน็ต ดว้ ยแอปพลิเคชนั Google classroom สาหรับนกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 1 โรงเรียนบา้ นมหาเจริญ ตาบลทุ่งมหาเจริญ อาเภอวงั น้าเยน็ จงั หวดั สระแกว้ โดยมีรายระเอียด ดงั น้ี 1. ประชากรและกลุ่มตวั อยา่ ง 2. เคร่ืองมือที่ใชใ้ นการศึกษา 3. การสร้างและหาคุณภาพเครื่องมือท่ีใชใ้ นการศึกษา 4. แบบแผนการศึกษา 5. การทดลองและการเก็บรวบรวมขอ้ มูล 6. การวเิ คราะห์ขอ้ มูล 7. สถิติที่ใชใ้ นการศึกษา ประชากรและกล่มุ ตวั อย่าง การวจิ ยั เรื่อง การพฒั นาบทเรียนออนไลน์ วชิ าอินเทอร์เน็ต ดว้ ยแอปพลิเคชนั Google classroom สาหรับนกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 1 โรงเรียนบา้ นมหาเจริญ ตาบลทุง่ มหาเจริญ อาเภอวงั น้าเยน็ จงั หวดั สระแกว้ มีประชากรและกลุ่มตวั อยา่ ง ดงั น้ี 1. ประชากรทใี่ ช้ในการศึกษา ประชากร คือ นกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 1 โรงเรียนบา้ นมหาเจริญ ตาบลทุ่งมหาเจริญ อาเภอวงั น้าเยน็ จงั หวดั สระแกว้ ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2562 จานวน 2 หอ้ งเรียน รวมจานวน นกั เรียนท้งั หมด 67 คน 2. กล่มุ ตัวอย่างทใ่ี ช้ในการศึกษา กลุ่มตวั อยา่ ง คือ นกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 1/1 จากโรงเรียนบา้ นมหาเจริญ ตาบลทุง่ มหาเจริญ อาเภอวงั น้าเยน็ จงั หวดั สระแกว้ จานวน 1 หอ้ งเรียน โดยใชห้ อ้ งเรียนเป็ น หน่วยสุ่ม จานวนนกั เรียน 34 คน ซ่ึงไดม้ าจากการสุ่มแบบแบง่ กลุ่ม (Cluster random sampling) (เชิดศกั ด์ิ โฆวาสินธุ์, 2545, หนา้ 62)
59 เครื่องมือทใ่ี ช้ในการศึกษา ผศู้ ึกษาไดก้ าหนดเคร่ืองมือที่ใชใ้ นการศึกษา ดงั น้ี 1. บทเรียนออนไลน์ วชิ าอินเทอร์เน็ต ดว้ ยแอปพลิเคชนั Google classroom สาหรับ นกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 1 2. แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนบทเรียนออนไลน์ วชิ าอินเทอร์เน็ต ดว้ ยแอปพลิเคชนั Google classroom สาหรับนกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 1 ประกอบการเรียน เป็นแบบปรนยั 4 ตวั เลือก ไดแ้ ก่ แบบทดสอบก่อนการเรียน (Pre-test) จานวน 20 ขอ้ และ แบบทดสอบหลงั การเรียน (Post-test) จานวน 20 ขอ้ เป็นแบบคู่ขนาน 3. แบบสอบถามความพึงพอใจในการจดั การเรียนการสอนจากบทเรียนออนไลน์ วชิ าอินเทอร์เน็ต ดว้ ยแอปพลิเคชนั Google classroom สาหรับนกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 1 ข้นั ตอนการสร้างและหาคุณภาพเคร่ืองมือทใ่ี ช้ในการศึกษา ผศู้ ึกษาไดด้ าเนินการสร้างเคร่ืองมือท่ีใชใ้ นการศึกษา มีกระบวนการข้นั ตอน ดงั น้ี 1. บทเรียนออนไลน์ วชิ าอนิ เทอร์เน็ต ด้วยแอปพลเิ คชัน Google classroom สาหรับ นักเรียนช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ 1 โรงเรียนบ้านมหาเจริญ ตาบลท่งุ มหาเจริญ อาเภอวงั นา้ เยน็ จังหวดั สระแก้ว ผศู้ ึกษาดาเนินการสร้างหาคา่ ระดบั ความเหมาะสมของบทเรียนออนไลน์ วชิ า อินเตอร์เน็ต ดว้ ยแอพพลิเคชนั่ Google classroom สาหรับนกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 1 โรงเรียน บา้ นมหาเจริญ จงั หวดั สระแกว้ จานวน 4 บท ในการสร้างค่าระดบั ความเหมาะสมดงั ต่อไปน้ี 1.1 ศึกษาขอ้ มูลเก่ียวกบั การพฒั นาบทเรียนออนไลน์ วชิ าอินเทอร์เน็ต สาหรับ นกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 1 1.2 ศึกษาและวเิ คราะห์ศึกษาหลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนบา้ นมหาเจริญ กลุ่มสาระ การเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 1 1.3 ศึกษาเอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวขอ้ งกบั การพฒั นาบทเรียนออนไลน์ วชิ า อินเทอร์เน็ต จากแหล่งขอ้ มูลต่าง ๆ 1.4 ออกแบบและจาแนกวตั ถุประสงคข์ องการเรียนเกี่ยวกบั ความรู้เบ้ืองตน้ เกี่ยวกบั อินเทอร์เน็ต อุปกรณ์และรูปแบบของการเชื่อมตอ่ อินเทอร์เน็ต การใชง้ านอินเทอร์เน็ตดว้ ย เวบ็ บราวเซอร์ (Web-browser) และการติดตอ่ สื่อสารดว้ ยอีเมล (E-mail) ที่จะนามาสร้างบทเรียน ออนไลน์ วชิ าอินเทอร์เน็ต สาหรับนกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 1 ดงั น้ี บทที่ 1 ความรู้เบ้ืองตน้ เกี่ยวกบั อินเทอร์เน็ต ใชเ้ วลาจานวน 6 ชว่ั โมง
60 - ความหมายของอินเทอร์เน็ต - ความเป็นมาของอินเทอร์เน็ต - การทางานของอินเทอร์เน็ต - บริการต่าง ๆ บนอินเทอร์เน็ต - มารยาทในการใชง้ านอินเทอร์เน็ต บทที่ 2 อุปกรณ์และรูปแบบของการเช่ือมต่ออินเทอร์เน็ต ใชเ้ วลาจานวน 6 ชว่ั โมง - ประเภทของการเชื่อมต่อ - ADSL modem - Splitter - สายสญั ญาณ - ข้นั ตอนการเชื่อมตอ่ อุปกรณ์เพื่อใชง้ าน บทท่ี 3 การใชง้ านอินเทอร์เน็ตดว้ ยเวบ็ บราวเซอร์ (Web-browser) ใชเ้ วลาจานวน 4 ชวั่ โมง - ความหมายของเวบ็ บราวเซอร์ (Web-browser) - การเปิ ดใชง้ าน Internet explorer - ส่วนประกอบของหนา้ ตา่ ง Internet explorer - การเปิ ดเวบ็ ไซตข์ ้ึนมาใชง้ าน บทที่ 4 การติดตอ่ ส่ือสารดว้ ยอีเมล (E-mail) ใชเ้ วลาจานวน 2 ชวั่ โมง - ความหมายของอีเมล - ประเภทของอีเมล - การส่งอีเมล - การแนบไฟลไ์ ปกบั อีเมล - การเปิ ดอ่านอีเมลที่ไดร้ ับ - การลบอีเมลที่ไมไ่ ดใ้ ชง้ าน 1.5 นาบทเรียนออนไลน์ วชิ าอินเทอร์เน็ต สาหรับนกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 1 ไปเสนอต่อผเู้ ชี่ยวชาญ ดา้ นการพฒั นาบทเรียนออนไลน์ ดว้ ยแอปพลิเคชนั Google classroom เป็ น ผทู้ ่ีมีการศึกษาระดบั ปริญญาโทข้ึนไป ทางดา้ นเทคโนโลยกี ารศึกษา หรือมีประสบการณ์ใน การออกแบบและการพฒั นาบทเรียนออนไลน์ ไม่นอ้ ยกวา่ 5 ปี จานวน 5 ท่าน ไดแ้ ก่
61 ดร.ปราณี คงพิกลุ ผอู้ านวยการกลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผล การจดั การศึกษา สานกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษา ประถมศึกษาสระแกว้ เขต 1 การศึกษาดุษฎีบณั ฑิต สาขาหลกั สูตรและการสอน (กศ.ด.) มหาวทิ ยาลยั บูรพา ดร.บุญตา ศรีวรวบิ ูลย์ ศึกษานิเทศก์ ชานาญการพิเศษ ปรัชญาดุษฎีบณั ฑิต (ปร.ด.) หลกั สูตรและการสอน มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถมั ป์ ดร.ศุภสิทธ์ิ ดีรักษา ครูวทิ ยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ ปรัชญาดุษฎีบณั ฑิต (ปร.ด.) วจิ ยั และประเมินผล การศึกษา มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั มหาสารคาม นางสาวกาญจนา ขนุ ทอง ผอู้ านวยการกลุ่มส่งเสริมการศึกษาทางไกล เทคโนโลยี สารสนเทศและการส่ือสาร ศึกษาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาเทคโนโลยกี ารศึกษา มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ นางนนั ทชั พร โตเจริญ ครูวทิ ยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ ศึกษาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาบริหารการศึกษา มหาวทิ ยาลยั บูรพา เพื่อประเมินคุณภาพดา้ นการพฒั นาบทเรียนออนไลน์ พร้อมท้งั หาค่าดชั นี ความสอดคลอ้ งระหวา่ งขอ้ คาถามและวตั ถุประสงค์ (Item-objective congruence index: IOC) โดยผเู้ ช่ียวชาญจะตอ้ งประเมินดว้ ยแบบประเมินชนิดมาตรส่วนประมาณคา่ (Rating scale) 5 ระดบั (รัตนะ บวั สนธ์, 2552, หนา้ 231) โดยกาหนดเกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ดงั น้ี เหมาะสมมากท่ีสุด มีคา่ เทา่ กบั 5 คะแนน เหมาะสมมาก มีคา่ เทา่ กบั 4 คะแนน เหมาะสมปานกลาง มีค่าเท่ากบั 3 คะแนน เหมาะสมนอ้ ย มีค่าเท่ากบั 2 คะแนน เหมาะสมนอ้ ยท่ีสุด มีค่าเท่ากบั 1 คะแนน และมีเกณฑก์ ารแปลความหมายของคา่ เฉล่ียความเหมาะสมของบทเรียนออนไลน์ ดงั น้ี ค่าเฉลี่ยระหวา่ ง 4.51-5.00 ในระดบั เหมาะสมมากที่สุด
109 บรรณานุกรม กรวรรณ สืบสม และนพรัตน์ หมีพลดั . (2560). การพฒั นาการจดั กิจกรรมการเรียนรู้แบบหอ้ งเรียน กลบั ดา้ น (Flipped classroom) ดว้ ยการบูรณาการการเรียนการสอนรายวชิ าเทคโนโลยี มลั ติมีเดียผา่ น Google classroom. วารสารวิชาการสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศ ไทย (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลย)ี , 6(2), 118-127. กฤษณา สิกขมาน. (2554). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาการส่ือสารภาษาอังกฤษธุรกิจ โดยใช้การสอนแบบ E-Learning. กรุงเทพฯ: มหาวทิ ยาลยั ศรีปทุม. กฤษมนั ต์ วฒั นารงค.์ (2554). นวตั กรรมและเทคโนโลยเี ทคนิคศึกษา (พิมพค์ ร้ังท่ี 2). กรุงเทพฯ: มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ พระนครเหนือ. กิดานนั มลิทอง. (2539). เทคโนโลยกี ารศึกษาร่วมสมยั . กรุงเทพฯ: เอดิสันเพรสโพรดกั ส์. เขมณฏั ฐ์ ม่ิงศิริธรรม. (2559). การออกแบบสื่อการศึกษาสร้างสรรค์ (Creative education media design.). กรุงเทพฯ: สานกั พมิ พแ์ ห่งจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั . จารุวรรณ กาฬภกั ดี. (2559). การพฒั นาระบบนาทางอัจฉริยะโดยใช้เทคโนโลยีความจริงเสมือน แบบโลเคชันเบสผ่านอุปกรณ์เคล่ือนที่แบบพกพา. วทิ ยานิพนธ์วทิ ยาศาสตรมหาบณั ฑิต, สาขาวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสารเพ่ือการศึกษา, บณั ฑิตวทิ ยาลยั , มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ พระนครเหนือ. จาปา วฒั นศิรินทรเทพ. (2550). การพัฒนาแผนการเรียนรู้โดยใช้วิธีสอนแบบโครงงาน วิทยาศาสตร์ เร่ือง ระบบนิเวศ ช้ันประกาศนียบัตรวิชาชีพปี ท่ี 3. วทิ ยานิพนธ์การศึกษา มหาบณั ฑิต, สาขาวชิ าหลกั สูตรและการสอน, บณั ฑิตวทิ ยาลยั , มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม. จิตราพร สีละวฒั น. (2554). รายงานวิจัยเพ่ือพัฒนาการเรียนการสอนเรื่องการพัฒนาภารกิจปฏิบัติ เพ่ือเสริมสร้างความคิดวิเคราะห์ให้กบั นักศึกษาในรายวิชาจริยธรรมทางธุรกิจ (BUS 400). กรุงเทพฯ: คณะบริหารธุรกิจ มหาวทิ ยาลยั ศรีปทุม. จิราภรณ์ หอมกล่ิน. (2548). การพฒั นาแผนนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ 4 MATH เรื่อง การอ่านเชิงวิเคราะห์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี 3. การศึกษาคน้ ควา้ อิสระการศึกษามหาบณั ฑิต, สาขาวชิ าหลกั สูตรและการสอน, บณั ฑิตวทิ ยาลยั , มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม.
110 ฉนั ทท์ ิพย์ ลีลิตธรรม และพรเพญ็ เอกเอี่ยมวฒั นกุล. (2559). การศึกษาความพึงพอใจตอ่ การเรียน การสอนโดยผา่ นกเู กิลคลาสรูม ของนกั ศึกษาวทิ ยาลยั พณิชยการธนบุรี. วารสารเทคโนโลยสี ่ือสารมวลชน มทร.พระนคร, l(1), 20. ชยั ยงค์ พรหมวงศ.์ (2556). การทดสอบประสิทธิภาพส่ือหรือชุดการสอน. วารสารศิลปากร ศึกษาศาสตร์วิจัย, 5(1), 7-19. เชิดศกั ด์ิ โฆวาสินธุ์. (2545). การวิจัยทางการศึกษา. กรุงเทพฯ: โอ.เอส.พริ้นติ้ง เฮาส์. ถนอมพร เลาหจรัสแสง. (2554). อาจารย์มหาวิทยาลัยกับการใช้คอมพิวเตอร์ในการสอน. เชียงใหม่: สานกั พฒั นาคุณภาพการศึกษา มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่. ทิศนา แขมมณี. (2551). รูปแบบการเรียนการสอน: ทางเลือกที่หากหลาย (พมิ พค์ ร้ังท่ี 5). กรุงเทพฯ: สานกั พิมพจ์ ุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั . ทิศนา แขมมณี. (2561). ศาสตร์การสอน องค์ความรู้เพ่ือการจัดกระบวนการเรียนรู้ท่ีมี ประสิทธิภาพ. กรุงเทพฯ: สานกั พมิ พแ์ ห่งจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั นิภา แยม้ วจี. (2552). ห้องเรียนเสมือน. เขา้ ถึงไดจ้ าก http//www.moe.go.th/moe/th/ New/detail.php?NewsID=14179&key=hotnews ปรัชญนนั ท์ นิลสุข. (2558). ครูอาชีวะแห่งศตวรรษท่ี 21. กรุงเทพฯ: แมคเอด็ ดูเคชนั่ . ปราณี กองจินดา. (2549). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์และทักษะการคิด เลขในใจของนักเรียนที่ได้รับการสอนตามรูปแบบซิปปา โดยใช้แบบฝึ กหัดที่เน้นทักษะ การคิดในใจกบั นกั เรียนท่ีได้รับการสอนโดยใช้คู่มือครู. วิทยานิพนธ์ครุศาสตร มหาบณั ฑิต, สาขาวชิ าหลกั สูตรและการสอน, คณะศึกษาศาสตร์, มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนครศรีอยธุ ยา. ปาริชาติ พองพรหม. (2554). การพัฒนาบทเรียนบนเวบ็ เรื่อง อาณาจักรสุโขทัย ช้ันมธั ยมศึกษา ปี ท่ี 1. วทิ ยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบณั ฑิต, สาขาวชิ าหลกั สูตรและการสอน, คณะศึกษาศาสตร์, มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สกลนคร. พรทิพย์ โล่เลขา. (2537). การใช้ Internet ระบบ Unix & Windows. กรุงเทพฯ: อุษาการพิมพ.์ พวงรัตน์ ทวรี ัตน.์ (2540). วิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์. กรุงเทพฯ: สานกั ทดสอบทางการศึกษาจิตวทิ ยา มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร. พชิ ิต ฤทธ์ิจรูญ. (2545). หลักการวดั และประเมินผลการศึกษา (พมิ พค์ ร้ังที่ 2). กรุงเทพฯ: เฮา้ ส์ ออฟ เคอร์มิสท.์ พมิ พพ์ นั ธ์ เดชะคุปต.์ (2548). การสอนคิดด้วยโครงงาน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพจ์ ุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั .
111 พสิ ณุ ฟองศรี. (2551). การประเมินทางการศึกษา: แนวคิดสู่การปฏิบัติ (พิมพค์ ร้ังที่ 5). กรุงเทพฯ: ด่านสุทธาการพิมพ.์ พฒุ ิพงษ์ มะยา. (2560). การพฒั นาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์พาณิชยกรรม เร่ืองการตั้งราคาขาย ของนกั เรียนระดับประกาศนยี บัตรวิชาชีพชั้นปี ที่ 1 สาขา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยพณิชยการเชตพุ น โดยใช้บทเรียนออนไลน์ (Google classroom). วทิ ยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบณั ฑิต, สาขาวชิ าคณิตศาสตร์ศึกษา, บณั ฑิตวทิ ยาลยั , มหาวทิ ยาลยั รามคาแหง. ภณิดา ชยั ปัญญา. (2541). หลักการและรูปแบบการพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ตามวิถชี ีวิตคนไทย. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั . มนสั นนั ท์ บุตรสอน. (2558). การพัฒนาบทเรียนออนไลน์ กล่มุ สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและ เทคโนโลยี เรื่อง การใช้โปรแกรมนาเสนอข้อมลู ช้ันประถมศึกษาปี ที่ 6. วทิ ยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบณั ฑิต, คณะศึกษาศาสตร์, มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สกลนคร. รัตนะ บวั สนธ์. (2552). การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการศึกษา. กรุงเทพฯ: คาสมยั . ราชบณั ฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรมฉบับราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ: นานมี บุค๊ ส์พบั ลิเคชนั่ ส์. ราตรี นนั ทสุคนธ์. (2553). หลักการวดั และประเมินผลการศึกษา (ฉบับปรับปรุง). กรุงเทพฯ: จุดทอง. วรัลลวร พิสิฐกลุ ธรกิจ. (2558). การพฒั นาบทเรียนออนไลน์ วชิ า การเขียนโปรแกรม เร่ือง คาส่ังวนซ้า สาหรับนกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 5. วารสารครุศาสตร์ อุตสาหกรรม, 4(3), 33. วจิ ารณ์ พานิช. (2555). วิถสี ร้ างการเรียนรู้เพื่อศิลย์ในศตวรรษท่ี 21. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสดศรี สฤษด์ิวงศ.์ วทิ ยา ปิ่ นกนั ทา, สมชาย มาตะ๊ พาน และประพนั ธ์ กาวชิ ยั . (2559). การพฒั นาการจัดการเรียน การสอนออนไลน์ผ่านบริการ Google apps: Google classroom. เชียงใหม่: มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่. ววิ ฒั น์ มีสุวรรณ์. (2561). ผลการใชเ้ ครือข่ายสังคมออนไลน์ เพอื่ ส่งเสริมทกั ษะดา้ นการส่ือสาร สารสนเทศ ดว้ ยกระบวนการหอ้ งเรียนกลบั ดา้ น. วารสารศึกษาศาสตร์, 20(3), 3-11. ศรัณย์ พรมสวสั ด์ิ. (2557). การพัฒนาบทเรียนผ่านเครือข่ายอินเทอร์ เนต็ เร่ือง การสร้ างเวบ็ ด้วย ภาษา HTML สาหรับนักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปี ที่ 4. วทิ ยานิพนธ์การศึกษามหาบณั ฑิต, สาขาวชิ าเทคโนโลยกี ารศึกษา, คณะศึกษาศาสตร์, มหาวทิ ยาลยั บูรพา.
Search
Read the Text Version
- 1 - 17
Pages: