ความรูพ้ นื้ ฐาน COVID-19 ตอนท่ี ๑ โรคโควดิ -19 การตดิ เชอ้ื การป่วย การดแู ลรกั ษา การป้องกนั การแพรเ่ ชอื้ และการตดิ เชอื้ แพทยโ์ รคติดเชอ้ื และระบาดวทิ ยา คณะแพทยศาสตรโ์ รงพยาบาลรามาธบิ ดี มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล 23 -03-63 ๑
สารบญั หนา้ ๑. ความรทู้ วั่ ไป..................................................................................... ๓ -ความเปน็ มา COVID-19 -ขน้ั ตอนจากการรบั เชือ้ ถึงการปว่ ย ผูส้ มั ผสั (contact) ผเู้ ป็นพาหะ (carrier) ผู้ตดิ เชอ้ื (infected case) ผูป้ ่วย (patient) ๒. ลกั ษณะของโรค COVID-19 และการดแู ลรกั ษา............................. ๖ -การตดิ เชอ้ื ทางเดนิ หายใจจากไวรัส -การดาเนินโรค -การวนิ ิจฉยั โรค และการตรวจทางหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร -การดูแลรักษาผ้ตู ดิ เชอื้ -ภมู ติ า้ นทานหลังติดเช้อื ๓. การแพรเ่ ชอ้ื และการรบั เช้อื ......................................................... ๑๐ -แหลง่ เชือ้ โรค COVID-19 และการแพร่เช้ือ -ระยะเวลาแพรเ่ ชอ้ื จากผ้ตู ดิ เชอ้ื -การแพรเ่ ช้ือ COVID-19 และการรบั เชอ้ื -การคลุกคลใี กล้ชิด (close contact) -การรบั เชื้อ COVID-19 -R0, ตัวชีว้ ดั โอกาสทีจ่ ะแพรเ่ ช้อื ๔. การปอ้ งกนั การแพรเ่ ชอ้ื และการตดิ เชื้อ.......................................... ๑๔ -ทุกคน -ผูป้ ว่ ย -ผ้ดู แู ลผูป้ ่วย ๒
๑. ความรู้ทว่ั ไปเกยี่ วกบั COVID-19 ความเปน็ มาของโรคโควดิ -19 (COVID-19) ไวรสั โคโรนาเปน็ ไวรัสในสตั ว์ มีหลายสายพนั ธุ์ โดยปรกตไิ มก่ อ่ โรคในคน แต่ เมอื่ กลายพันธเ์ุ ปน็ สายพันธ์ใุ หมท่ ี่กอ่ โรคในมนษุ ย์ได้ (ซงึ่ มกั เกดิ จากการจัดการท่ีผิด ธรรมชาติโดยมนุษย์) ในขณะท่มี นษุ ยย์ ังไมร่ ู้จักและไมม่ ีภูมิตา้ นทาน ก็จะเกดิ การ ระบาดของโรคในคน โรคโควิด-19 (COVID-19, ยอ่ จาก Coronavirus disease 2019) เปน็ โรคตดิ เชอ้ื ทางเดินหายใจท่เี กดิ จากไวรัสโคโรนา ซึ่งมีชื่อทางการว่า SARS-CoV-2 ทาใหเ้ กิด ไข้ ไอ และอาจมปี อดอักเสบ เรมิ่ พบผู้ป่วยครงั้ แรกเม่อื เดอื น ธันวาคม พ.ศ. 2562 (ค.ศ. 2019) ทีเ่ มอื งอฮู่ ั่น เมอื งหลวงของมณฑลหเู ปย่ ์ ภาคกลางของประเทศจีน ซึง่ เปน็ เมอื งใหญ่มผี คู้ น หนาแนน่ จึงเกิดการระบาดใหญไ่ ดร้ วดเร็ว การดูแลรักษาเปน็ ไปอยา่ งฉุกเฉนิ มีคน ป่วยหนักและตายมากเกินที่ควรจะเป็น จนประเทศจนี ต้องปิดเมอื ง และปิดประเทศ ต่อมา ขณะน้ี ประเทศจนี สามารถควบคมุ ได้ จนแทบจะไม่มผี ปู้ ว่ ยรายใหม่ แต่โดย ธรรมชาติแล้ว จะยังมผี ้ทู ่ีมีเชอ้ื อยู่ ผู้ปว่ ยรายแรกที่รบั การรกั ษาในประเทศไทย เมื่อวนั ท่ี 13 มกราคม 2563 เปน็ คนจนี ทีร่ บั เช้ือจากการระบาดในประเทศจนี และได้เดินทางมาประเทศไทย หลงั จาก น้นั มผี ปู้ ่วยอกี หลายรายที่มาจากประเทศอ่นื สว่ นผู้ป่วยทีต่ ดิ เชือ้ ในประเทศไทยราย แรก มีการรายงานเมื่อ 31 มกราคม 2563 โรคนี้เกดิ จากไวรัสโคโรนา (Corona virus) ท่กี ลายพันธใุ์ นธรรมชาติเป็นสาย พันธใ์ุ หม่ จากการที่ธรรมชาติถกู มนษุ ย์ทารา้ ย โดยมีสมมุตฐิ านวา่ ไวรสั อาจจะมี แหล่งเริ่มตน้ คือคา้ งคาว และกลายพันธ์เุ ม่อื ผา่ นสตั วต์ วั กลาง กลายเปน็ ไวรสั สาย พันธใ์ุ หมท่ ี่ก่อโรคในคน และคนไปรบั เชอ้ื มาแพร่ระหวา่ งคนสคู่ น ทง้ั นตี้ ้องรอการ พิสจู น์ต่อไป เคยมเี หตุการณ์ทีค่ ล้ายคลึงกนั จากไวรัสโคโรนาสายพนั ธ์ุใหมท่ ีเ่ กดิ ขึ้นใน อดีต คอื การเกดิ โรค SARS (พ.ศ.2545) และ MERS (พ.ศ.2557) ซงึ่ ท้ังสองโรคน้นั ๓
ผูป้ ว่ ยมีอาการหนกั ทั้งหมดและต้องอยู่ในโรงพยาบาล จงึ สะกดั การแพร่โรคไดไ้ ม่ยากนัก ส่วนผู้ปว่ ยโรค COVID-19 ทแ่ี พรเ่ ชือ้ มีทง้ั ผ้ทู ่ีมีอาการน้อยหรอื อาจไมม่ อี าการ นอกเหนือจากผมู้ ีอาการหนักซ่ึงมนี ้อยกวา่ มาก จงึ ควบคมุ การระบาดไดย้ ากกวา่ การระบาดทใี่ กลเ้ คียงกบั คร้ังน้ีมากทีส่ ดุ คือการระบาดของไขห้ วดั ใหญส่ ายพันธ์ุ ใหม่ 2009 (Influenza A (H1N1) pdm09 virus) ใน พ.ศ.2552 ซ่งึ เร่ิมจากอเมรกิ า แลว้ ระบาดหนักไปทวั่ โลก แต่คนท่ตี ดิ เชื้อโควิด-19 สามารถแพรเ่ ช้อื ได้ในชว่ งเวลา ของการติดเชื้อไดน้ านกวา่ การระบาดจงึ น่าจะกว้างขวางกวา่ และควบคมุ ยากกว่า ในขณะนี้ โรคโควดิ -19 ไดร้ ะบาดไปทวั่ โลกแลว้ 11 กมุ ภาพันธ์ 2563 ไดม้ ีการกาหนดชื่อโรคและช่อื ไวรัสอยา่ งเปน็ ทางการ ดังน้ี โรค COVID-19 (อ่านว่า โควดิ ไนนท์ ีน ยอ่ มาจาก Corona Virus Disease 2019) กาหนดชื่อโดยองคก์ ารอนามยั โลก (WHO) ไวรสั SARS-CoV-2 (อ่านวา่ ซาร์สคอฟทู ยอ่ มาจาก Severe Acute Respiratory Syndrome Corona Virus 2) กาหนดชื่อโดยคณะกรรมการระหวา่ ง ประเทศว่าด้วยอนุกรมวธิ านของไวรัส ( ICTV ) โดยทชี่ ว่ งแรกของการระบาด ใชช้ ่ือ อยา่ งไมเ่ ป็นทางการ เชน่ ไวรสั อู่ฮนั่ 2019-nCoV (2019 novel coronavirus หรอื ไวรสั โคโรนาสายพันธใุ์ หม่ 2019) แต่มกั จะเรยี กกันง่ายา วา่ ไวรัสโควิด19 สว่ น ไวรัส SARS-Co-1 คือไวรสั ทเ่ี ปน็ สาเหตุของโรคตดิ เช้อื ทางเดินหายใจ รุนแรง หรือ SARS ทรี่ ะบาด ใน พ.ศ. 2545-2546 ไวรัสท่ีก่อโรคระบาดในคร้ังนจ้ี ึง เป็นชนิดที่ 2 หรือ SARS-CoV-2 ไวรสั SARS-CoV-2 เป็นเชอ้ื โรคท่ีต้องอยู่ในเซลลเ์ น้ือเยอื่ หรือมีเมือกคลมุ อยู่ เช่น เสมหะ ไมส่ ามารถอยู่เปน็ อิสระ นอกจากน้ี ยงั เป็นไวรัสทเ่ี กราะดา้ นนอกเป็น ไขมัน ซง่ึ จะสลายตัวเมอื่ สัมผัสกบั สารซักฟอกหรอื สบู่ ไวรสั โคโรนา่ ท่ีก่อโรคในมนษุ ย์ในขณะน้ี มที ง้ั หมด 7 ชนดิ ชนิดท่ี 1-4: โรคหวัดธรรมดา ชนดิ ที่ 5: โรค SARS (ซาร)์ จากไวรัสสายพนั ธใ์ุ หม่ เมื่อ พ.ศ. 2545-2546 ชนดิ ท่ี 6: โรค MERS (เมอร์ส) จากไวรสั สายพันธ์ุใหม่ เมื่อ พ.ศ. 2557 ชนิดท่ี 7: โรค COVID-19 (โควิด-19) จากไวรัสสายพนั ธุ์ใหม่ในปจั จบุ นั ๔
แหลง่ แพรเ่ ชือ้ ไวรสั COVID-19 1.คาดวา่ เร่มิ จากสัตว์ปา่ ทนี่ ามาขายในตลาดสดเมืองอู่ฮนั่ ประเทศจีน ซงึ่ คนไป สมั ผัสและนามาเผยแพร่ตอ่ โดยเริม่ จากไวรสั จากคา้ งคาวทมี่ กี ารผสมพนั ธุก์ ับไวรสั อ่นื และกลายพันธุ์ 2.คนทม่ี ีเชอื้ แล้วแพร่สคู่ นอ่ืน ทางส่ิงคัดหล่งั จากทางเดนิ หายใจ ขนั้ ตอนจากการรบั เชอื้ ถึงการปว่ ย ประกอบด้วย การสัมผสั เชอ้ื โรค การรบั เชือ้ การตดิ เชื้อ และการปว่ ย ผู้สมั ผสั เชอื้ โรค (contact) หมายถึง ผูท้ ส่ี ัมผัสใกลช้ ดิ กบั ผู้ติดเชือ้ หรอื อาจจะสัมผสั กับเชือ้ ทอ่ี อกมากับส่ิง คัดหลง่ั จากระบบหายใจของผูป้ ว่ ย (นา้ ลาย เสมหะ น้ามกู ) แลว้ อาจจะนาเข้าสู่ ร่างกายทางปาก จมกู ตา (อวยั วะทม่ี เี ย่อื เมือกบ)ุ โดยได้อยใู่ นชมุ ชนท่ีมีผปู้ ว่ ยอยู่ดว้ ย โดยไมร่ ะมดั ระวังเพียงพอ หากมีการสัมผัสดงั กล่าว ก็อาจเกิดการติดเชอื้ ตามมา และเป็นแหล่งแพร่เช้อื ต่อไปได้ ผทู้ ี่ตอ้ งเฝา้ ระวังในระยะน้ี (มคี . 63) ไดแ้ ก่ ผสู้ ัมผสั หรืออาจจะสัมผสั โรค โดยมี ประวตั ิอย่างใดอย่างหนึ่งในช่วงเวลา 14 วันกอ่ นหนา้ น้ี (คอื ระยะฟักตวั ที่ยาวทสี่ ดุ ของโรค คือ ติดเชอื้ แล้วแตย่ ังไมม่ อี าการปว่ ย) ดงั ตอ่ ไปนี้ 1. มีประวัตเิ ดนิ ทางไปยงั มาจาก หรืออยู่อาศยั ในพน้ื ทีท่ ่ีมีรายงานการระบาด 2. เป็นผสู้ ัมผัสใกล้ชิดกบั ผทู้ ม่ี าจากพื้นที่ท่มี ีรายงานการระบาด 3. มปี ระวัตใิ กลช้ ิดหรอื สัมผสั กบั ผ้ทู ่ีเขา้ ขา่ ยหรอื ได้รบั การตรวจยนื ยันว่าติดเช้ือ ผลจากการสมั ผสั กับเชอื้ โรค ผทู้ ่ีสมั ผัสกับเช้ือโรคโควดิ -19 หากได้รับเชือ้ โรคมาอาจจะมผี ลเป็น 1.พาหะของเชอื้ คือผทู้ ่ีรับเชอ้ื โรคแต่ไมเ่ กิดการติดเชือ้ ซงึ่ เชอื้ มักจะติดมาทางมือ 2.ผูต้ ดิ เชอ้ื คือ ผ้ทู ี่ตรวจพบเช้อื และมปี ฏกิ ิรยิ าทางอมิ มนู ต่อเชื้อ ซ่ึงตรวจพบ ไดท้ างการตรวจเลอื ด แบ่งเปน็ 2.1 ผ้ตู ิดเชอื้ ทไ่ี มม่ อี าการ 2.2 ผปู้ ว่ ย หรือ ผตู้ ิดเชอื้ ทมี่ อี าการ ซงึ่ อาจจะมีอาการนอ้ ยหรอื มาก ------------------ ๕
๒. ลกั ษณะของโรค COVID-19 การวนิ จิ ฉัย และ การรกั ษา การตดิ เชอื้ ทางเดนิ หายใจจากไวรสั ระบบทางเดินหายใจเร่มิ จากจมกู ลงไปถึงถงุ ลมในปอด แบง่ ออกเปน็ ทางเดนิ หายใจส่วนบน (จมูก โพรงรอบจมกู หรือไซนัส กล่องเสียง) และสว่ นลา่ ง (หลอดลม และปอด) ความเจ็บปว่ ยจากการติดเชื้อท่ที างเดนิ หายใจส่วนบน จะไมร่ ุนแรงเท่าการ ติดเชื้อทางเดนิ หายใจสว่ นล่าง ไวรัสทีช่ อบทางเดนิ หายใจส่วนลา่ งจึงก่อโรครนุ แรงกว่า ความเจบ็ ปว่ ยจากการตดิ เช้อื ไวรัสทีท่ างเดินหายใจ เป็นผลจากท่ไี วรัสเข้าไป แบง่ ตวั ในเซลลข์ องทางเดนิ หายใจ และเกิดปฏิกิริยาตอ่ ต้านจากรา่ งกาย ความ รุนแรงของโรคมากน้อยขึ้นอยู่กับ 1. ลักษณะเฉพาะตัวของไวรสั ซงึ่ ชอบท่ีจะไปอยู่ที่ส่วนไหนของทางเดินหายใจ เชน่ ในรจู มกู ทาให้มนี า้ มูก หรือลงปอดเกดิ ปอดอักเสบ และความสามารถในการ กระตุ้นปฎกิ ิรยิ าการอกั เสบ 2. ปฏิกิรยิ าทางอมิ มูนของผตู้ ดิ เชือ้ เพ่ือการกาจัดไวรัส ซ่ึงอาจกอ่ ใหเ้ กิดการ อักเสบมากเกินพอ และหากกระบวนการยบั ยง้ั ไมด่ ี กจ็ ะทาใหโ้ รครุนแรง การดาเนนิ โรค การตดิ เชื้อ ไวรสั โควิด-19 รวมถงึ ไวรสั อนื่ ท่ีทาใหต้ ิดเชือ้ ทีท่ างเดนิ หายใจ เขา้ สู่ร่างกายโดย ทาง “ปาก จมกู ตา” โดยทีไ่ วรัสจะเข้าไปเกาะติดและเขา้ ไปแบ่งตวั ในเซลล์ของเยอื่ บุ ทางเดนิ หายใจ ไวรัสไมเ่ ขา้ ทางผวิ หนงั หรือแผลท่ผี วิ หนงั ระยะฟกั ตัว (Incubation period, IP) หมายถึงระยะเวลาตัง้ แตร่ บั เชอ้ื จนถงึ เร่มิ มีอาการป่วย ระยะฟกั ตวั ของโรค COVID-19 เทา่ กบั 2-14 วัน ซ่งึ เปน็ เหตุผลทีใ่ ห้ผูส้ มั ผัส โรคกกั กันตวั จากคนอ่นื 14 วัน ๖
จากรายงานผ้ปู ่วยนอกเมืองอฮู่ ่นั ระหว่าง มค.-กพ. 2563 พบวา่ คา่ มัธยฐาน (median, ค่ากลาง) ของระยะฟักตวั ของโรคน้ี ประมาณ 5.1 วนั (95% CI, 4.5 to 5.8 days) และ 97.5% ของผูป้ ่วยมรี ะยะฟักตัวของโรคน้อยกว่า 11.5 วนั (95% CI, 8.2 to 15.6 days) ปจั จัยที่มผี ลต่อระยะฟักตวั ไดแ้ ก่ 1. ปรมิ าณของเช้อื ไวรสั ทีไ่ ด้รบั ถา้ มากจะทาให้เกดิ โรคเรว็ คือระยะฟกั ตวั สนั้ 2. ทางเข้าของเช้อื โรค เชน่ ไวรสั COVID-19 หากเขา้ สู่ปอดโดยตรงทางจมกู และปาก จะเกดิ โรคเร็วกว่าการรบั เช้อื ทางเย่อื บุตา 3. ความเร็วของการเพม่ิ จานวนไวรัสในร่างกายมนุษย์ 4. สุขภาพของผู้ทไ่ี ด้รบั เช้ือ 5. ปฏิกิริยาทางอิมมูนของผตู้ ิดเชื้อตอ่ ไวรสั ซึง่ มผี ลทง้ั ในการกาจัดเชื้อ และ การอักเสบซึง่ มีผลใหเ้ กิดอาการของโรค เชน่ ไข้ ไอ หอบ อาการปว่ ย (Symptoms) โดยท่วั ไป ผปู้ ่วยจะมี อาการคลา้ ยไขห้ วัดใหญ่ มอี าการ “ไข้ และ ไอ” เปน็ พ้ืนฐาน สว่ นใหญเ่ ริม่ จาก ไอแหง้ า ตามด้วย ไข้ ผูป้ ว่ ยส่วนนอ้ ยคือ ร้อยละ 5 มี น้ามกู เจ็บคอ หรือ จาม ไม่มีอาการเสียงแหบหรือเสียงหาย ร้อยละ 98.6 มไี ข้ (ไข้อาจจะไมไดเ้ ร่ิมในวนั แรกของการปว่ ย) รอ้ ยละ 69.6 มีอาการอ่อนเพลียผดิ ปรกติ รอ้ ยละ 59.4 ไอแหง้ า (Wang et al JAMA 2020) ความรนุ แรงของโรค ความรนุ แรงของโรค ขนึ้ อยูก่ ับ 1. ปริมาณไวรสั ท่ไี ด้รบั เขา้ ทางเดินหายใจ 2. ปจั จยั ทางผู้ตดิ เช้ือ เช่น สขุ ภาพ โรคประจาตัว ปฏิกริ ิยาอมิ มนู การปฏิบัติตน เมือ่ เร่ิมป่วย 3. การดูแลรกั ษาเม่ือตดิ เชอ้ื และป่วย ๗
ผูต้ ิดเช้อื สว่ นใหญ่มีอาการน้อย และส่วนนอ้ ยมากไม่มีอาการป่วยเลย เดก็ สว่ น ใหญ่มีอาการนอ้ ย ผสู้ งู อายแุ ละผูม้ โี รคประจาตัวมักจะมีอาการหนักกวา่ -รอ้ ยละ 80 มีอาการนอ้ ย คล้ายไขห้ วัดธรรมดา หรือไขห้ วัดใหญท่ ีอ่ าการน้อย หายไดเ้ องหลงั พักผ่อน และดแู ลตามอาการ -ร้อยละ 14 มีอาการหนกั จากปอดอกั เสบ หายใจผิดปรกติ -รอ้ ยละ 5 มอี าการวกิ ฤติ เชน่ การหายใจล้มเหลว ชอ็ คจากการป่วยรุนแรง -ร้อยละ 1-2 เสยี ชวี ติ หลงั จากมอี าการหนัก มักเกิดกบั ผ้สู งู อายุ ผู้มีโรค ประจาตวั ทางหวั ใจและปอด เบาหวาน ภมู ิต้านทานต่า หรือโรคประจาตวั อนื่ า ระยะเวลาทป่ี ว่ ย ข้อมลู ผู้ปว่ ย 55,924 ราย ให้คา่ มธั ยฐาน (median time หรือ ค่ากลาง) ของ ระยะเวลาจากเร่มิ มีอาการ จนถงึ วนั ทเ่ี ริ่มฟื้นตวั จากการป่วย คืออาการเริ่มดขี ึ้น ดงั น้ี -ผปู้ ว่ ยทม่ี ีอาการน้อย (mild cases) 2 สปั ดาห์ -ผู้ปว่ ยทีม่ อี าการหนกั (severe or critical) 3-6 สัปดาห์ -เร่มิ ป่วยจนมอี าการหนัก 1 สัปดาห์ -เริ่มป่วยจนถงึ แก่กรรม 2-8 สปั ดาห์ (WHO-China Joint Mission, publish Feb 28, 2020 by WHO) อัตราตายจากการติดเชื้อไวรสั สายพนั ธใ์ุ หม่ ทเี่ คยพบในประเทศไทย พ.ศ. 2545: โรค SARS ร้อยละ 10 พ.ศ.2553: ไข้หวัดใหญ่-2009 (Flu-pandemic 2009) ร้อยละ 0.03-0.5 พ.ศ. 2557: โรค MERS รอ้ ยละ 30 พ.ศ. 2562-2563: โรค COVID-19 รอ้ ยละ 1-2 (ซึ่งน่าจะต่ากวา่ ขณะน้ี) การวนิ จิ ฉยั โรค และการตรวจทางหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร 1.ขอ้ มูลจากประวัติอาการผดิ ปรกติ และการสัมผสั โรค 1.1 ประวัติอาการไมส่ บาย ผลการตรวจร่างกาย และการตรวจแลบ็ พน้ื ฐาน 1.2 ประวัตสิ มั ผัสโรค ตามทีก่ ล่าวแลว้ ในเรอ่ื งผู้สัมผัส 2. การตรวจหาไวรสั SARS-CoV-2 (หรอื ไวรัสโควิดไนนท์ นี ) ๘
วัตถปุ ระสงค:์ 1. การควบคุมการแพร่ระบาด 2. การพิจารณาใช้ยาต้านไวรัสที่ตรงกบั ชนิดของเช้ือ 3. การวจิ ัยเพ่ือใชใ้ นการควบคมุ โรค และการรักษา การตดิ ตามดกู าร เปลีย่ นแปลงของไวรัส การตรวจ มกี ารพฒั นาการตรวจเพ่ิมเตมิ และดีขนึ้ เรือ่ ยา หลกั การมดี ังน้ี 1. สงิ่ สง่ ตรวจ - สารที่เกบ็ จากด้านในของจมูกและคอหอย โดยการเก็บตรวจอย่างถูกต้องตาม - เลอื ด 2. วธิ กี ารตรวจ - Real-Time RT-PCR for coronavirus จากสิ่งสง่ ตรวจจากทางเดินหายใจ เปน็ การตรวจหลักในปัจจุบนั ซงึ่ เป็นการตรวจระดับโมเลกลุ การเกบ็ สิ่งสง่ ตรวจไม่ดี ทาใหต้ รวจไม่พบไวรัสได้ บอกไมไ่ ด้จากผลตรวจว่ามไี วรัสทมี่ ชี วี ติ หรือไม่ -Serology คอื การตรวจเลือดหา immuglobulin ทเ่ี ฉพาะต่อเชอ้ื ซึ่งเปน็ สว่ น หนง่ึ ของปฏกิ ริ ิยาภมู ติ ้านทาน หลกั การในการตรวจหาการตดิ เชอ้ื ไวรสั โดยทั่วไป จะ ตรวจ IgM ในสัปดาหแ์ รก และ IgG หลงั จาก 1 สัปดาห์ นับต้งั แตต่ ิดเชอ้ื -Viral culture คอื การเพาะเช้อื ไวรสั จากสิง่ สง่ ตรวจ ใช้ในการวจิ ัยเป็นหลัก การปอ้ งกนั อันตรายในห้องแลปยากกวา่ และคา่ ใช้จา่ ยสูงกว่า 3. การตรวจปอดดว้ ยภาพรงั สี (Chest X-ray, CT- Chest) -ในชว่ งท่ีมีการระบาดหนกั ในประเทศจีนจนการตรวจทางโมเลกุลรับไมไ่ หว ไดม้ ี การแนะนาการตรวจปอดด้วยภาพเอ็กซเรย์คอมพวิ เตอร์ เพื่อการวนิ ิจฉยั COVID-19 อาจพจิ ารณาเปน็ ส่วนประกอบของการวินจิ ฉยั ทางการแพทย์ และเปน็ ทางเลือก การดแู ลรกั ษาผตู้ ดิ เชอ้ื โรคนค้ี ล้ายกบั ไขห้ วดั ใหญ่ คอื ผูป้ ว่ ยสว่ นใหญ่ (ประมาณ ร้อยละ 80) มีอาการ น้อย และหายได้เอง แตต่ ้องปฏิบตั ติ วั ให้ร่างกายได้ซ่อมแซมตัวเอง และป้องกนั คนอ่นื ๙
1. การรกั ษา 1.1 การรักษาทว่ั ไป: 1. พกั ผอ่ นทนั ทที เ่ี รม่ิ ปว่ ย และพกั ผอ่ นใหพ้ อ ใหร้ ่างกายอบอุ่น กนิ อาหาร และดม่ื น้าใหเ้ พยี งพอ รักษาตามอาการ เช่น ลดไข้ 2. ปรกึ ษาแพทย์ เพ่อื การดแู ลรักษา ถ้าเป็นผูเ้ ส่ยี งตอ่ การที่จะป่วย รุนแรง เชน่ ผสู้ ูงอายุ ผูม้ ีโรคประจาตวั หญิงมคี รรภ์ หรือมีอาการหนัก 3. ผู้ปว่ ยท่ีมอี าการน้อย สามารถรกั ษาตัวที่บา้ น ผู้ปว่ ยทีม่ ีอาการหนกั ตอ้ งรับการรกั ษาในโรงพยาบาล ในระยะทผ่ี ตู้ ิดเชื้อยังไมม่ ากเกินกาลังควบคุมดูแล มขี อ้ กาหนดให้รบั ผตู้ ิด เช้อื ไวใ้ นสถานพยาบาลทัห้ มด เพอ่ื การดแู ลรกั ษาและปอ้ งกันการแพรเ่ ชือ้ 1.2 เฉพาะโรค: เริ่มมยี าต้านไวรสั ตอ่ ไวรสั ชนิดนใ้ี นข้นั ทดลองในวงกว้างแลว้ 2. การปอ้ งกนั -ในระยะที่ควบคมุ การระบาด ต้องรายงานเจ้าพนกั งาน เมอ่ื มผี ตู้ ิดเชื้อ -ป้องกนั การแพร่เช้ือใหค้ นอ่นื ตามข้อแนะนา ภมู ติ า้ นทานหลงั ตดิ เชอื้ คนทเ่ี คยตดิ เชอ้ื ไวรัส COVID-19 แลว้ จะติดเชอ้ื นอี้ กี ไหม ? แม้ว่าจะยังไม่มขี ้อมลู ที่ชดั เจนในเรือ่ งน้ี แต่ข้อมลู จากการติดเช้ือโคโรนาไวรัส อื่นที่คล้ายคลึงกัน เชน่ โรค SARS ในปี 2545 และ MERS-CoV ในปี 2557 ชีแ้ นะวา่ ภมู ิต้านทานทเ่ี กิดจากการติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา ไม่ใช่ภูมิตา้ นทานทจี่ ะอยู่นาน ไม่นา่ จะ มกี ารตดิ เชอื้ ซา้ ในระยะเวลาใกลา้ เช่น ภายใน 1ปี ทงั้ น้ี การสรา้ งภูมติ ้านทานต่อ COVID-19 ยังไมเ่ ปน็ ทเี่ ขา้ ใจดนี ัก ----------------------- ๑๐
๓. การแพรเ่ ชื้อ และ การรบั เชอื้ แหลง่ เชอ้ื โรค COVID-19 และการแพรเ่ ชื้อ 1. คนทต่ี ิดเชอื้ 1.1 ไอ จาม หรอื พดู โดยไมม่ อี ปุ กรณ์ปิดปาก ในระยะใกล้ชดิ (น้อยกว่า 1 เมตร) มผี ลใหล้ ะอองฝอยเสมหะ นา้ มูก น้าลาย ที่มไี วรัสอย่ดู ว้ ย ฟงุ้ กระจายออกมา เรียกว่า airborne droplet หรือ หยดน้าเล็กาทีล่ อยในอากาศ (ขนาด >5 micron) ซึ่งจะตกลงบนพืน้ ในระยะ 1-2 เมตร 1.2 ทาใหเ้ กดิ การฟงุ้ ของไวรัสในอากาศ โดยการปฏิบตั ิตอ่ ผู้ตดิ เช้อื บาง ลกั ษณะในสถานพยาบาล (เชน่ การใช้อุปกรณ์พน่ ยาเขา้ ทางเดนิ หายใจ การใชส้ าย ยางดดู เสมหะ การส่องกล้องตรวจภายในหลอดลม การใส่และถอดท่อหายใจให้ ผูป้ ่วย การดดู เสมหะดว้ ยระบบเปดิ ) ก่อใหเ้ กดิ ละอองขนาดเลก็ มาก (fine mist) เรียกว่า airborne aerosole (ขนาด <5 micron) ซึ่งคล้ายกับไวรสั ท่ฟี ้งุ ในอากาศ ไวรัสโคโรนาจะมีชวี ติ ส้ันมากถ้าอากาศแห้ง แตอ่ ยไู่ ด้นานหลายช่วั โมงหากอากาศเยน็ และชื้น 1.3 มือ ท่ีมเี ช้อื โรคตดิ อยู่ โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงจากการเอาฝ่ามอื ปดิ ปากเวลาไอ จาม แล้วไม่ล้างมือ และใช้มอื นนั้ สัมผัสกับผ้อู น่ื หรอื ส่งิ ของ 2. พื้นผวิ วตั ถุ หรือสงิ่ ของ ท่ีผตู้ ดิ เช้อื ไดน้ าเชือ้ โรคมาทิง้ ไว้ อาจอยู่ได้หลายช่วั โมง หรอื หลายวนั ระยะเวลาแพรเ่ ช้ือจากผตู้ ดิ เชือ้ (Contagious period) โดยท่ัวไปแล้ว ผูป้ ่วยติดเชื้อทเี่ ปน็ โรคติดตอ่ จะแพรเ่ ชอ้ื เมอ่ื มอี าการ และแพร่ เชอื้ ได้มากท่สี ดุ ในระยะท่อี าการหนกั ท่ีสุดของโรคทไ่ี ม่ใช่ผลแทรกซ้อนจากเหตุอืน่ ทั้งนผี้ ู้ตดิ เชอื้ ทมี่ ีอาการน้อยา อาจจะแพร่เชือ้ ไดบ้ ้าง แต่น้อยกว่า การแพร่เช้ือใน ระยะท่ีไมม่ ีอาการอาจเกดิ ขึน้ ไดเ้ ลก็ นอ้ ย และมกั จะอยใู่ นระยะ 2-3 วนั กอ่ นเร่ิมมี อาการป่วย ๑๑
โรคติดเช้อื ท่ีเปน็ โรคตดิ ต่อแต่ละโรคมีระยะเวลาแพร่เช้ือแตกต่างกัน แม้วา่ จะมี รายงานว่า อาจจะมีผปู้ ่วย COVID-19 ท่แี พรเ่ ชื้อในขณะทไ่ี ม่มอี าการ แตข่ อ้ มูลยังไม่ ชัดเจน และหากเป็นจรงิ กม็ ีโอกาสเกดิ ขนึ้ นอ้ ยมากา เชน่ เดียวกบั โรคติดตอ่ อื่นา ตอ้ งรอดูข้อมูลเพม่ิ เติม การแพรเ่ ช้อื COVID-19 และการรบั เชื้อ เกดิ จากการตดิ ต่อจากคนทม่ี ีเชือ้ สคู่ นอืน่ โดย 1. ทางตรง (direct) โดยทางละอองฝอย (drople)t จากทางเดนิ หายใจ การคลุกคลีใกล้ชิดกับผตู้ ดิ เชือ้ /ผูป้ ่วย ในระยะนอ้ ยกว่า 1-2 เมตร โดยทางละอองฝอย (droplet) ของนา้ ลาย เสมหะ น้ามกู ของผูป้ ่วย ดว้ ยการ ไอ จาม หรอื การพูดทน่ี า้ ลายกระเดน็ ละอองฝอยเหลา่ นี้ อาจจะเขา้ ปาก จมกู ตา ของผู้ทอี่ ยู่ใกล้ โดยเฉพาะอย่างยง่ิ เมื่อหนั หน้าเข้าหากันและสดู หายใจเขา้ ไป เน่ืองจาก ไวรัส COVID-19 เป็นไวรัสทต่ี ้องอยใู่ นเซลล์จงึ จะมีชวี ติ อยู่ได้ ดงั น้นั เมื่อละอองฝอยแหง้ ลง ไวรสั ก็ตาย ไมล่ อยอยู่ในอากาศฟุ้งกระจาย 2. ทางอ้อม (indirect) โดยการสมั ผัส (contact) โดยการสมั ผัสบริเวณ พ้นื ผิว ส่งิ ของ มือของคนอน่ื ทีม่ กี ารปนเปอ้ื นเชือ้ โรคจาก ผปู้ ่วยจากการไอ จาม แลว้ นาไปเข้า จมูก ปาก ตา ของตนเอง มสี ิ่งอื่นนาเช้ือไปโดยการสัมผัส เชน่ ของเล่นของเดก็ ทป่ี นเป้ือนเชื้อ สตั ว์เลีย้ งที่ มผี ้นู าเชื้อมาสัมผสั ทิ้งไวท้ ขี่ น ทั้งน้ี ยังไม่มหี ลกั ฐานว่าสัตว์เล้ยี งจะติดเช้อื สายพนั ธุน์ ้ี สนุ ัขมไี วรัสโคโรนาของสนุ ขั แตเ่ ปน็ สายพนั ธ์ุทีไ่ มก่ อ่ โรคในคน 3. ทาง aerosol เปน็ กรณเี ฉพาะ Aerosol คอื ละอองฝอยขนาดเลก็ กวา่ 5 ไมครอน ลอยในอากาศ ไวรสั โคโรนาจากผ้ปู ่วยจะลอยเปน็ ละอองฝอยขนาดเลก็ ในกรณที ่มี หี ัตถการใน การรักษาบางอย่าง เช่น การดูดเสมหะโดยใช้เครื่องตอ่ สายยาง การพ่นยาเป็น ละอองเข้าทางเดนิ หายใจ เปน็ ต้น ๑๒
มขี อ้ มูลบา้ งวา่ ในลักษณะอากาศบางอย่าง อาจจะเป็นอากาศเยน็ และช้ืน ไวรสั อาจจะลอยอยู่ในอากาศนานขน้ึ ซงึ่ อาจจะสร้างปญั หาของการติดเช้อื ใน โรงพยาบาล ต้องติดตามขอ้ มูลต่อไป “COVID-19 ติดต่อจากคนสคู่ น ดว้ ยวธิ กี ารทคี่ ลา้ ยคลงึ กบั ไขห้ วดั ใหญ่” การคลกุ คลใี กลช้ ดิ กนั (close contact) การคลกุ คลีใกลช้ ิดผู้ป่วยทาให้มโี อกาสรบั เชือ้ จากผ้ปู ่วยได้ ทัง้ น้ี หมายถึง 1. การอยู่ใกล้ผู้ป่วย ในระยะน้อยกว่า 2 เมตร เปน็ เวลานาน เชน่ อยรู่ ่วมห้อง พดู คุยกนั หนั หน้าเขา้ หากนั เป็นคนดูแลผ้ปู ่วย เป็นต้น 2. มกี จิ กรรมทมี่ กี ารสัมผสั โดยตรงกับเชอื้ โรคจากน้าลาย เสมหะของผูต้ ิดเชอ้ื เช่น กอดจบู กัน สัมผสั ตัว การใช้ของร่วมกนั เช่น ช้อนซ่อม แกว้ น้า การกนิ อาหาร รว่ มกัน การท่ีกาหนดระยะใกลช้ ิดท่ีอาจจะรับเช้ือ หรอื ระยะห่างในการปอ้ งกนั การรับเช้ือ ที่ 1-2 เมตร เพราะการไอจามของคนท่ัวไปจะส่งฝอยนา้ ลายได้ไกลถึง 1 เมตร แต่ถ้า คนตวั โตไอแรงมากา อาจจะไกลถึง 2 เมตร การรบั เชอื้ COVID-19 1. คนทคี่ ลกุ คลีใกลช้ ิด (close contact) ได้รบั เชื้อเข้าทางปาก จมูก ตา ส่วน ใหญเ่ กดิ จากการไอ จาม ของผู้ป่วย 2. มือท่ีสมั ผสั ไวรสั จากผปู้ ว่ ย ทป่ี นเป้ือนอยบู่ นผิววตั ถุ แล้วนาเข้าสู่ทางเดนิ หายใจทาง ปาก จมูก ตา หรอื แพร่ไปทีอ่ น่ื ตอ่ 3. แม้ว่าจะมีรายงานการตรวจพบไวรัสโคโรนา19 ในอจุ จาระ และผู้ปว่ ยบาง คนมีอุจจาระร่วง การตดิ เชอื้ ทางทางเดินอาหารไมเ่ ปน็ การแพรเ่ ช้อื ท่ีมีความสาคัญ (http://www.who.int/docs/default-source/coronaviruse/who-china-joint-mission-on- covid-19-final-report.pdf February 16-24, 2020 ) R0, ตวั ชวี้ ดั โอกาสแพร่เช้อื ไวรัสแตล่ ะชนดิ ติดต่อไปยงั คนอนื่ ไดม้ ากนอ้ ยตา่ งกนั บางชนดิ ตดิ ต่อไดง้ า่ ยมาก ไปยงั คนท่ียังไมม่ ีภมู ติ ้านทาน (ไม่เคยติดเช้ือ ไม่เคยรับวัคซนี ) เช่น หดั เพราะไวรัส ๑๓
ล่องลอยอยู่ในอากาศไดน้ าน โดยมกี ารใชค้ า่ วดั เปรียบเทยี บ คือ R0 (R nought) หรอื จานวนคนติดเชื้อทีเ่ พิม่ ขน้ึ จากคนตดิ เช้ือ 1 คน (reproductive number) ซึง่ เป็นคา่ แสดงความสามารถการแพร่เชือ้ ตามธรรมชาติ วา่ คนท่ีตดิ เชื้อ 1 คน จะแพรใ่ ห้ คนอนื่ ประมาณก่คี น ในประชากรที่ไม่มภี ูมติ า้ นทานมากอ่ นและไม่มกี ารควบคุมโรค ปัจจัยทม่ี ผี ลต่อคา่ R0 เชน่ ภูมติ ้านทานของประชากร ความสามารถในการ ควบคมุ การแพรเ่ ชอื้ ตวั อย่าง R0 ของแตล่ ะโรค -R0 โรคหัด 12-18 -R0 ไข้หวดั ใหญ่ตามฤดูกาล 1.3 to 1.5. -R0 ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 (novel influenza A (H1N1)) 1.4 and 1.6 -R0 ของ COVID-19 1-5 (จากการประชมุ รว่ ม WHO-จนี เมือ่ 24 กพ. 2563) การแปลคา่ R0 -R0 นอ้ ยกวา่ 1 แสดงว่าจานวนผตู้ ดิ เชื้อลดลง และโรคจะหมดไปในทส่ี ดุ -R0 เท่ากบั 1 แสดงวา่ จานวนผปู้ ่วยจะค่อนขา้ งคงท่ี ไปเรอื่ ยา -R0 มากกวา่ 1 แสดงวา่ จะนวนผูป้ ่วยเพ่มิ ขน้ึ ตามลาดบั และจะเกดิ การระบาด ------------------------------------- ๔. การปอ้ งกนั การแพร่เชอ้ื และการตดิ เชอื้ การปอ้ งกนั การแพรเ่ ช้อื และการตดิ เชื้อ 1. ลา้ งมอื ด้วยนา้ และสบู่ ใหท้ ว่ั และนานพอ (ประมาณ 20 วนิ าที) และเช็ดมอื ให้ แห้ง -การลา้ งมือดว้ ยน้าและสบู่ จะกาจัดคราบสกปรก และฆา่ เชือ้ ไวรัส ไมจ่ าเป็น ตอ้ งใชส้ บทู่ ผ่ี สมสารฆา่ เช้ือ -ถา้ ไมม่ นี า้ และสบู่ จึงใชแ้ อลกอฮอล์ (60-70 % ซึง่ มกั อยใู่ นรูปเจล หรือสเปรย)์ ทาทั่วมือทไี่ ม่เปยี กเพอื่ ฆา่ เชือ้ โรค (ถา้ มือเปยี ก แอลกอฮอล์จะเจือจางจนฆ่าเชอื้ ไม่ได้) ๑๔
ทง้ิ ให้แหง้ ห้ามล้างนา้ ตอ่ เพราะจะลา้ งแอลกอฮอล์หมดไป แต่ถา้ มอื สกปรกตอ้ งล้าง มอื ด้วยนา้ และสบู่ เพราะแอลกอฮอลจ์ ะไมส่ ามารถฆา่ เช้ือโรคท่ีอยู่ในคราบเป้อื น 2. ไมเ่ อามอื จบั หน้า ปาก จมูก หรอื ตา ถา้ จาเปน็ ควรทามือใหส้ ะอาดกอ่ น 3. เว้นระยะห่าง จากคนอ่ืนทอ่ี าจจะแพรเ่ ช้ือ (keep distance) ไดแ้ ก่ - คนทมี่ อี าการซ่งึ อาจจะเกิดจากการติดเชือ้ ทางเดนิ หายใจ เชน่ ไข้ ไอ - หลีกเลีย่ งการไปในทีท่ ่มี คี นหนาแนน่ โดยเฉพาะอย่างยิง่ คนทไี่ มร่ ู้จกั และอาจ ติดเชื้อ โดยไม่สามารถอยูห่ ่างกนั เกนิ 1 เมตร ได้ตลอดเวลา ถ้าจาเป็น ควรใส่ หน้ากากอนามยั และไมห่ นั หน้าเผชิญกนั เพราะเขาอาจไอ จามรดได้ 4. ทาความสะอาดส่งิ แวดลอ้ ม โดยเฉพาะอย่างย่งิ บริเวณท่อี าจปนเป้อื นเสมหะ น้ามูก นา้ ลาย จากผปู้ ่วย และมีไวรัส คนกลมุ่ ตา่ งาทมี่ โี อกาสสมั ผสั เชอ้ื โรคนี้ ควรปฏบิ ัติดงั น้ี 1. คนทกุ คน มอื สะอาด : ลา้ งมอื ด้วยนา้ และสบู่ อย่างถกู วธิ ี เป็นหลกั โดยเฉพาะเมื่อมีคราบ สกปรก ใช้แอลกอฮอล์เจลเฉพาะเวลาทไ่ี ม่สามารถใช้นา้ และสบู่ล้างมือ หนา้ : ไมส่ ัมผสั ดว้ ยมอื ทย่ี งั ไมส่ ะอาด เพราะปาก จมกู ตา เป็นทางเข้าของเชื้อ หน้ากากปอ้ งกนั : คนที่ไม่ตดิ เช้ือไมจ่ าเป็นต้องใช้หน้ากากเม่ืออยูใ่ นท่ีชุมชนท่ี แนใ่ จวา่ ไมม่ ีผู้ติดเชือ้ อาจใช้หนา้ กากผา้ ทม่ี คี ุณภาพ เพื่อปอ้ งกนั อุบตั ิเหตุท่คี าดไม่ถงึ ว่าจะมีคนไอจามรด หากเกดิ ขึ้น รบี เอาหนา้ กากออก ล้างหน้า หรือเชด็ หน้า หากไม่ เกิดอบุ ตั ิเหตุ จดั การหน้ากากท่ีใช้ครัง้ เดยี วเชน่ เดียวกับ ขยะทว่ั ไป สว่ นหน้ากากผ้า น้ัน ซกั แลว้ ใช้ใหม่ได้ กิน: อาหารปรงุ ใหมา่ ด้วยกระบวนการทีส่ ะอาด ล้างมือก่อนกนิ อาหาร และไม่ ปนเปอื้ นอาหารส่วนกลางดว้ ยชอ้ นซ่อมส่วนตัว 2. ผปู้ ว่ ย -หนา้ กากปอ้ งกนั : ใชห้ น้ากากอนามัยทางการแพทย์ ใชแ้ ละทงิ้ อย่าง ขยะติดเชอ้ื ในท่ีที่มีการจดั ไว้ให้ทเี่ ปน็ ลักษณะปิด หรือทิ้งในถงุ หรือถังขยะปดิ ท่ีใช้เฉพาะ ๑๕
-ไอ จาม: ใหป้ ลอดภยั ตอ่ คนอ่ืน เวน้ ระยะหา่ งและหันหน้าออกจากคนอน่ื ใช้ข้อ พับศอกด้านในปิดปากและจมกู หรือใช้ทชิ ชปู ดิ ปากและจมกู แลว้ ท้ิงในถงั ขยะตดิ เช้อื หรือใสถ่ ุงทป่ี ิด หากใส่หนา้ กากอนามัยอยู่ ใหไ้ อ จาม ในหนา้ กากอนามัย ถา้ ใช้ ผ้าเชด็ หนา้ ปดิ ปากจมูก เสร็จแล้วใหพ้ บั ด้านเปอ้ื นไวข้ ้างใน เกบ็ ไวใ้ นถงุ พลาสติก กอ่ นนาไปซัก -อยหู่ ่างจากคนอน่ื : งดหรอื เล่ียงการเข้าใกล้คนอื่นในระยะน้อยกว่า 1 เมตร 3. ผดู้ แู ลผปู้ ว่ ย ถ้าตอ้ งเปน็ ผูด้ ูแลผปู้ ่วยที่บ้าน 1. แยกผปู้ ว่ ยจากคนอื่น เวน้ ระยะห่างใหเ้ กิน 1-2 เมตร ตลอดเวลา หาก เปน็ ไปได้ ผ้ปู ่วยควรจะอยใู่ นห้องแยกและแยกใชห้ อ้ งนา้ จากคนอืน่ 2. หนา้ กากอนามยั ผู้ป่วยใสห่ นา้ กากอนามัยเม่อื อยูใ่ นห้องร่วมกับคนอน่ื คนท่ี ดแู ลผู้ปว่ ยใกล้ชิดก็ควรจะใส่หนา้ กากอนามัยเมอ่ื อยู่ในหอ้ งผ้ปู ว่ ย โดยเฉพาะอยา่ งย่ิง เม่ือผ้ปู ่วยใสไ่ ม่ได้ 3. ระมัดระวงั ในการสมั ผสั เสมหะ นา้ มกู น้าลาย และสิง่ คัดหลัง่ อน่ื จากผู้ปว่ ย ใส่หนา้ กากอนามยั ผา้ กนั เป้อื น และถุงมอื ตามกรณี และลา้ งมอื 4. ทาความสะอาดบรเิ วณท่ีใช้ดูแลผู้ป่วย และสิ่งของ เชน่ โทรศัพท์ 5. ล้างมือดว้ ยสบแู่ ละนา้ ใช้แอลกอฮอลเ์ มอื่ ไม่มสี บแู่ ละนา้ ๑๖
Search
Read the Text Version
- 1 - 16
Pages: