รายงานโครงการยกระดับคุณภาพชีวิตชุมชนและทอ้ งถิน่ (โครงการระยะที่ 1) ตาบลคลองควาย อาเภอสามโคก จังหวดั ปทมุ ธานี ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ทศั พร ชูศักดิ์ และคณะ
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถัมภ์ ประจาปีงบประมาณ 2563 รายงานโครงการยกระดับคณุ ภาพชวี ิตชมุ ชนและทอ้ งถนิ่ (โครงการระยะที่ 1) ตาบลคลองควาย อาเภอสามโคก จงั หวดั ปทมุ ธานี ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ทัศพร ชูศักด์ิ อาจารย์ฉัตรประภา ศิริรัตน์ อาจารยน์ าตยา ดวงประทุม อาจารย์สุทธิดา แก้วมุงคณุ อาจารย์รวิธร ฐานสั สกุล
คณะสาธารณสขุ ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ ประจาปีงบประมาณ 2563
ก กิตติกรรมประกาศ รายงานโครงการยกระดับคุณภาพชีวิตชุมชนและท้องถ่ิน กิจกรรมการสร้างความร่วมมือกับ หน่วยราชการที่เก่ียวข้อง การศึกษาชุมชน การจัดทาฐานข้อมูลตาบล และจัดทาแผนปฏิบัติการ ยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชุมชนตาบลคลองควาย อาเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี (โครงการ ระยะที่ 1) คณะผู้ดาเนินโครงการขอกราบขอบพระคุณผู้ว่าราชการจังหวัด พัฒนาชุมชนจังหวัด และ หน่วยงานราชการระดับจังหวัดปทุมธานี นายอาเภอสามโคก สานักงานพัฒนาชุมชน สานักงาน เกษตรอาเภอ และหน่วยงานราชการระดบั อาเภอสามโคก คณะผู้บริหารมหาวิทยาลยั คณาจารย์และ เจ้าหน้าท่ีสานักส่งเสริมการเรียนรู้และบริการวิชาการ องค์การบริหารส่วนตาบลคลองควาย กานัน ตาบลคลองควาย ผู้นาชุมชนที่ให้คาแนะนาและสนับสนุนการดาเนินโครงการ และขอขอบคุณ ประชาชนตาบลคลองควายท่ีให้ความร่วมมือในการทากิจกรรม ทาให้โครงการสามารถจัดทา แผนปฏิบัติการยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน ตาบลคลองควาย อาเภอสามโคก จังหวัด ปทุมธานี (โครงการระยะท่ี 1) ได้สาเร็จลุล่วงไปดว้ ยดี ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ทัศพร ชศู กั ดิ์ และคณะ คณะสาธารณสุขศาสตร์ ปีพุทธศักราช 2563
ข สารบญั หน้า กิตตกิ รรมประกาศ ก สารบัญ ข สารบญั ตาราง ค สารบัญภาพ ง ส่วนที่ 1 บทนา 1 ส่วนที่ 2 ผลการศกึ ษาชุมชนเบอื้ งตน้ ในระดับตาบล 4 ส่วนที่ 3 ผลการวเิ คราะหศ์ ักยภาพ ปัญหา/ความตอ้ งการ และประเดน็ การพัฒนาเชงิ พื้นที่ 11 3.1 ศกั ยภาพในการพฒั นาตาบล 11 3.2 แผนที่แสดงศักยภาพด้านตา่ ง ๆ ของแตล่ ะหมบู่ า้ นในตาบล 19 3.3 ปญั หาและความตอ้ งการในพ้นื ที่ 20 3.4 ประเดน็ การพฒั นาเชิงพ้ืนที่ 21 สว่ นท่ี 4 รูปแบบการพัฒนาชุมชนนวตั กรรม 24
สารบัญตาราง ค ตารางที่ หน้า 1 จานวนหมบู่ ้าน จานวนประชากร และจานวนครัวเรือน 5 2 ช่อื ถนนและลกั ษณะผวิ จราจรของเส้นทางคมนาคม/ขนสง่ ทางบก 6 3 พน้ื ทท่ี าการเกษตรกรรมของแตล่ ะหมบู่ ้าน 8 4 การวเิ คราะห์ศักยภาพในการพัฒนาตาบลคลองควาย 11 5 ปัญหาและความตอ้ งการในพน้ื ที่ตาบลคลองควาย 20
ง สารบญั ภาพ ภาพที่ หน้า 1 แผนที่ตาบลคลองควาย อาเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี (มาตราส่วน 1:20,000) 4 2 แผนที่แสดงศกั ยภาพดา้ นตา่ งๆ ของแตล่ ะหมบู่ ้านในตาบลคลอง 19 3 รปู แบบการพฒั นาชมุ ชนนวตั กรรมตาบลคลองควาย 24 4 รูปแบบกิจกรรมการพฒั นาชมุ ชนนวตั กรรมตาบลคลองควาย 26
1 ส่วนท่ี 1 บทนา 1.1 หลักการและเหตผุ ล ตามท่ีภาครัฐได้เชื่อมโยงเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของสหประชาชาติเข้ากับแผนยุทธศาสตร์ ชาติ 20 ปี ของประเทศไทย และยุทธศาสตร์เกษตรและสหกรณ์ 20 ปี ระหว่างปี 2560 ถึง ปี 2579 โดยน้อมนาเอาหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งท่ีเน้นการพัฒนาแบบยั่งยืนโดยคานึงถึงส่ิงแวดล้อม ที่อยู่ และใช้หลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดชบรมนาถบพิตร มาเป็นแนวทางในการดาเนินนโยบาย เพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิต และยกระดับรายได้ของประชาชน แกไ้ ขปัญหาเชิงโครงสร้างการผลิตภาคเกษตรเสริมสร้างความมั่นคงทางอาหาร พัฒนาโภชนาการและ ความปลอดภัยด้านอาหาร เพื่อนาไปสู่ความมั่นคง ม่ังค่ัง และยั่งยืน ของประชาชนและประเทศชาติ ซึ่งสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร รัชกาลท่ี 10 ทรงมีพระปณิธาน แน่วแน่ท่ีจะสานต่อโครงการในพระราชดาริของพระราชบิดา เพ่ือช่วยเหลือประชาชนให้มีคุณภาพ ชวี ติ ทดี่ ขี ึน้ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นมหาวิทยาลัยท่ีพระราชาประสงค์ ให้เป็นมหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาท้องถ่ิน ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฎ พ.ศ. 2547 มาตรา 7 ที่ระบุให้มหาวิทยาลัยเป็นสถาบันอุดมศึกษา เพ่ือการพัฒนาท้องถ่ินเสริมพลังปัญญา ของแผ่นดิน ซึ่งสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์เพ่ือยกคุณภาพมาตรฐานมหาวิทยาลัยราชภัฎสู่คณุ ภาพ เป็นเลิศ โดยม่งุ เน้นการพัฒนาคุณภาพบณั ฑติ สนู่ ักปฏิบัติอยา่ งมืออาชพี การยกคณุ ภาพมาตรฐานชวี ิต ของชุมชน ท้องถิ่น และพ้ืนที่ให้มีความเข้มแข็งและยั่งยืน พร้อมท้ังสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ในประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนางาน พันธกิจสัมพันธ์ และถ่ายทอด เผยแพร่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ โดยมีกลยุทธ์ในการ สร้างเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติจากภายในและภายนอก เพื่อร่วมกันศึกษาแก้ไขปัญหาของชุมชน ท้องถิ่นและเสริมพลังให้ชุมชนท้องถ่ินสามารถดารงอยู่ได้อย่างยั่งยืน ให้ความสาคัญในการพัฒนา ชุมชนและท้องถิ่น ดังนั้น คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จึงได้จัดทาโครงการยกระดับคณุ ภาพชีวติ ชมุ ชนและท้องถิ่น ในพ้ืนท่ีตาบลคลองควาย อาเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี โดยมีเป้าหมายเพื่อให้คนในชุมชนสามารถบริหารจัดการชีวิตตนเองได้อย่างสมดุล และมีความเหมาะสม สามารถดารงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ร่วมกับการส่งเสริม ภูมิปัญญาท้องถิ่น เพ่ิมคุณค่าและมูลค่า เสริมเศรษฐกิจฐานรากในชุมชนให้มีความเข้มแข็ง มั่นคง
2 นาไปสู่การพึ่งพาตนเองและช่วยเหลือเก้ือกูลกันในชุมชนได้อย่างยั่งยืน ส่งผลให้ชุมชนหมู่บ้าน มีคุณภาพชีวิตและรายได้ท่ีเพ่ิมขน้ึ 1.2 วัตถุประสงค์ของการสารวจลงพนื้ ทชี่ ุมชนในระดับตาบล และกล่มุ เปา้ หมาย 1) เพื่อสร้างความร่วมมือกับเครือข่ายประชารัฐระดับอาเภอ ได้แก่ ส่วนปกครองอาเภอสาม โคก พัฒนาการอาเภอ เกษตรอาเภอ ระดับตาบล ได้แก่ องคก์ ารบริหารส่วนตาบลคลองควาย กานัน ผู้นาชุมชน และหน่วยงานเอกชนในพื้นท่ี ที่มีส่วนเก่ียวข้องกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตชุมชนตาบล คลองควาย อาเภอสามโคก จงั หวัดปทมุ ธานี 2) เพอ่ื สารวจบรบิ ทชุมชน ครัวเรือนเป้าหมาย และจัดทาฐานข้อมูลตาบลคลองควาย อาเภอ คลองหลวง จังหวดั ปทมุ ธานี 3) เพ่ือจัดทาแผนปฏิบัติการเพ่ิมรายได้ยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชุมชนคลองควาย อาเภอสามโคก จังหวดั ปทุมธานี 1.3 ขอบเขตการสารวจลงพืน้ ทช่ี ุมชนในระดับตาบล และกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ประชาชนในพื้นท่ีชุมชนตาบลคลองควาย อาเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี จานวน 50 คน ผเู้ ข้าร่วมโครงการ คณาจารย์และนกั ศึกษาคณะสาธารณสุขศาสตร์ จานวน 10 คน ระยะเวลาดาเนนิ โครงการ เดอื นพฤศจิกายน 2562 ถงึ เดือนมกราคม 2563 1.4 วธิ ีการดาเนนิ การสารวจความต้องการของชุมชนในระดบั ตาบล และกลุ่มเป้าหมาย เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) และการวิจัยเชิง คุณภาพ (Qualitative research) เพื่อให้ได้มาซ่ึงข้อมูลในการจัดทาแผนพัฒนาชุมชนท่ีสามารถ ยกระดบั คุณภาพชีวิตและรายได้ของประชาชนเพิม่ สงู ขนึ้ โดยมขี ้ันตอนดังตอ่ ไปน้ี 1. สร้างความร่วมมือกับหน่วยงานราชการท่ีเก่ียวข้อง ดาเนินการจัดทาแผนปฏิบัติการลง พื้นที่ศึกษาบรบิ ทของชุมชน และสร้างความร่วมมือจากหน่วยงานภาครฐั และภาคเี ครือขา่ ยท่ีเกี่ยวขอ้ ง ได้แก่ นายอาเภอ ส่วนงานปกครองอาเภอ พฒั นาการอาเภอ เกษตรอาเภอ นายกองค์การบรหิ ารส่วน ตาบลคลองควาย กานันตาบลคลองควาย ผู้ใหญ่บา้ นทกุ หมูบ่ ้าน และประธานอาสาสมัครสาธารณสุข
3 ประจาหมู่บ้าน (อสม.) เพื่อปรึกษาหารือเกี่ยวกับทศิ ทางการดาเนินโครงการ และการจัดทาฐานข้อมูล ตาบลคลองควาย 2. ศึกษาชุมชนและจัดทาฐานข้อมูลตาบล ดาเนินการ 1) จัดประชุมกลุ่ม (Focus group discussion) ผู้นาชุมชนจานวน 2 ครั้ง ณ องค์การบรหิ ารส่วนตาบลคลองควาย โดยมีเขา้ ร่วมประชุม ได้แก่ นายกองค์การบริหารส่วนตาบลคลองควาย ปลัดองค์การบริหารส่วนตาบล ผู้อานวยการกอง สาธารณสุข ผู้อานวยการกองการศึกษา ส่วนงานพัฒนาชุมชน สมาชิกองค์การบริหารส่วนตาบลทุก หมู่บ้าน กลุ่มวิสาหกิจชุมชน กานันตาบลคลองควาย ผู้ใหญ่บ้านทุกหมู่ และตัวแทนอาสาสมัคร สาธารณสุขประจาหมู่บ้าน (อสม.) และ 2) สัมภาษณ์เชิงลึก (Indept interview) ผู้นาชุมชน เพ่ือ รวบรวมข้อมูลเพิ่มเติม ได้แก่ ปลัดองค์การบริหารส่วนตาบล กานันตาบลคลองควาย ผู้อานวยการ กองสาธารณสุข และตวั แทนประธานกลมุ่ วิสาหกจิ ชุมชน 1.5 เครอื่ งมือทใ่ี ชก้ ารสารวจความต้องการของชุมชนในระดับตาบล และกลุ่มเปา้ หมาย การดาเนินโครงการ เก็บข้อมูลพ้ืนฐานชุมชนจากหนว่ ยงานราชการระดับจังหวดั อาเภอ และ ตาบล ซึ่งเปน็ ขอ้ มูลทุติยภมู ิ นาข้อมูลท่ีได้วางแผนลงพ้ืนท่เี พ่อื เกบ็ ข้อมลู ปฐมภูมิ โดยใชแ้ บบสัมภาษณ์ เจาะลึกแบบมีโครงสร้าง (OP3-2) แบบสอบถาม (OP3-1) การสนทนากลุ่ม การสังเกต แบบสารวจ ขอ้ มลู แผนผงั ชมุ ชน ประวัตศิ าสตรช์ ุมชน ปฏทิ ินชุมชน และแผนผังเครือญาติ
4 สว่ นที่ 2 ผลการศกึ ษาชมุ ชนเบอ้ื งต้นในระดบั ตาบล 2.1 ข้อมูลทัว่ ไปของชุมชนในระดับตาบล 2.1.1 ประวัตติ าบล ลกั ษณะทีต่ ัง้ /อาณาเขต และเขตการปกครอง ตาบลคลองควาย เป็นตาบลหนึ่งในเขตการปกครองของ อาเภอสามโคก ประกอบด้วย 8 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ท่ี 1 บ้านเจดีย์ทอง หมู่ที่ 2 บ้านคลองสระ หมู่ที่ 3 บ้านคลองสระ หมู่ท่ี 4 บ้าน โพธ์ิ หมู่ท่ี 5 บ้านคลองควาย หมู่ท่ี 6 บ้านคลองควาย หมู่ที่ 7 บ้านคลองควาย และหมู่ท่ี 8 บ้าน คลองควาย นอกจากนี้ ที่เรียกว่า \"ตาบลคลองควาย\" เพราะว่าในสมัยก่อนบริเวณน้ีเป็นป่าทึบมคี วาย เดินเป็นทาง ต่อมาทางควายเดินมีน้าไหลผ่านขยายกว้างลึกขึ้น จนกลายเป็นคลอง โดยที่ตาบลคลอง ควายมีสภาพพ้ืนที่เป็นทีล่ ุ่ม มีแม่น้าเจ้าพระยาไหลผ่านทางทิศตะวันออก เหมาะแก่การเพาะปลูก ซึ่ง ส่วนใหญม่ ีการประกอบอาชพี ทานา ทาสวน และเลยี้ งสัตว์ ตาบลคลองควาย อาเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี มีเน้ือที่ประมาณ 23.17 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 14,479 ไร่ โดยรวมพ้ืนท่ีบางส่วนของตาบลบางเตย คือ หมู่ที่ 1 บ้านลาลาด และหมู่ท่ี 10 บ้านลาดบัว เนื่องจากมีการยุบรวม ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เร่ือง การยุบรวมองค์การ
5 บริหารส่วนตาบลเข้ากบั องค์การบริหารส่วนตาบล ลงวนั ท่ี 24 กันยายน 2547 โดยมีอาณาเขตติดต่อ กับพน้ื ทีใ่ กลเ้ คียง ดงั นี้ ทิศเหนอื ตดิ ต่อตาบลโคกช้าง อาเภอบางไทร จงั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยา ตาบลทา้ ยเกาะ และตาบลบางกระบือ อาเภอสามโคก จังหวัดปทมุ ธานี ทศิ ใต้ ติดตอ่ ตาบลบางเตย อาเภอสามโคก จงั หวดั ปทมุ ธานี ทศิ ตะวันออก ตดิ ตอ่ ตาบลบา้ นงวิ้ อาเภอสามโคก จังหวดั ปทุมธานี ทศิ ตะวันตก ตดิ ต่อตาบลบางเตย อาเภอสามโคก จงั หวัดปทุมธานี และ ตาบลโคกช้าง อาเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรอี ยุธยา ภาพที่ 1 แผนทต่ี าบลคลองควาย อาเภอสามโคก จงั หวดั ปทุมธานี (มาตราส่วน 1:20,000)
6 2.1.2 ลกั ษณะภมู ิประเทศและภูมิอากาศ สภาพภูมิประเทศ เป็นท่ีราบลุ่ม อยู่ติดกับแม่น้าเจ้าพระยาและคลองต่าง ๆ เช่น คลองสระ คลองควายและมีคลองธรรมชาติ ไหลผ่าน ทาให้มีปริมาณน้าท่ีเพียงพอ เหมาะแก่การเพราะปลูกการ ทาเกษตรกรรม 2.1.3 จานวนหมบู่ ้าน จานวนประชากร / ครวั เรือน (ขอ้ มลู ณ 21 มถิ นุ ายน 2562) ตารางท่ี 1 จานวนหมู่บา้ น จานวนประชากร และจานวนครัวเรอื น หมู่ หมู่บ้าน จานวนประชากร จานวน ชาย หญงิ รวม ครวั เรอื น หมู่ 1 บ้านเจดีย์ทอง 329 344 673 หมู่ 2 บ้านคลองสระ 606 587 1193 206 หมู่ 3 บ้านคลองสระ 294 257 551 429 หมู่ 4 บ้านโพธ์ิ 416 411 827 193 หมู่ 5 บา้ นคลองควาย 146 142 288 346 หมู่ 6 บา้ นคลองควาย 135 155 290 77 หมู่ 7 บา้ นคลองควาย 213 216 429 116 หมู่ 8 บา้ นคลองควาย 497 491 988 130 หมู่ 1 (บางเตย) บ้านลาลาด 133 163 296 296 หมู่ 10 (บางเตย) บ้านลาดบวั 256 254 510 86 รวม 3,025 3,020 6,045 179 2,058 รวมทั้งสิ้น 10 หมู่บ้าน 2,058 ครัวเรือน ประชากรท้ังสิ้น 6,045 คน แยกเป็นชาย 3,025 คน หญงิ 3,020 คน ความหนาแนน่ เฉลย่ี 265 คน/ตารางกิโลเมตร 2.1.4 สภาพเศรษฐกจิ และสังคมโดยภาพรวม ชุมชนโดยรวมมีลักษณะเป็นชุมชนเกษตรกรรมและรับจ้างท่ัวไปมีการดาเนินวิถีชีวิต แบบชมุ ชนด้ังเดิมมีจิตสานกึ ในการอนุรกั ษศ์ ลิ ปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนยี มประเพณที อ้ งถนิ่ มีแรงเกาะ เกีย่ วในความสมั พันธ์ของชุมชนอยา่ งเหนยี วแน่น
7 2.2 ดา้ นโครงสร้างพ้นื ฐาน 2.2.1 การคมนาคม/ขนสง่ (ทางบก) ตารางท่ี 2 ชื่อถนนและลักษณะผิวจราจรของเสน้ ทางคมนาคม/ขนส่งทางบก ลาดบั ชนดิ ผวิ ผิว ผวิ ชอื่ ถนนสายทาง จราจร จราจร จราจร กวา้ ง ยาว 1 ถนนสายเช่ือม 3111- สามโคกท้ายเกาะ (ระยะทาง 515 คสล. 5.00 ม. 515 ม. ม.) หมู่ที่ 1 2 ถนนลูกรังซอยวดั เจดยี ท์ อง 1 ลกู รงั 3.00 ม. 89 ม. 3 ถนนลูกรังซอยวัดเจดีย์ทอง 2 3.00 ม. 152 ม. 4 ถนนลูกรงั ซอยวดั เจดีย์ทอง 4 ลกู รัง 3.00 ม. 177 ม. 5 ถนนลูกรงั ซอยวดั เจดยี ์ทอง 5 (ระยะทาง 684 ม.) ลกู รงั 3.50 ม. 266 ม. 6 ถนนลกู รงั ซอยรว่ มใจ 1 ลูกรัง 3.00 ม. 210 ม. 7 ถนน คสล.ซอยรว่ มใจ 2 คสล. 2.00 ม. 220 ม. 8 ถนน คสล.ซอยร่วมใจ 3 (ระยะทาง 650 ม.) หมู่ท่ี 2 คสล. 4.00 ม. 220 ม. 9 ถนนสายเลียบคลองบอน (ระยะทาง 966 ม.) หมทู่ ี่ 2 คสล. 4.00 ม. 966 ม. 10 สายเลยี บคลองเจ๊ก(ระยะทาง 1,015 ม.) หมทู่ ี่ 3 คสล. 3.00 ม. 1015 ม. 11 ถนนสาย ร.ร. คลองสระ (ระยะทางรวม 570 ม.) หมทู่ ี่ 3 คสล. 4.00 ม. 570 ม. 12 ถนนสาย ปท.3025 ซ.หมู่ 6 ซ.2 เช่อื ม 378 (ระยะทาง 4,800ม.) คสล. 4.00 ม. 700 ม. 13 ถนนเลยี บคลอง 378 คสล. 4.00 ม. 2500 ม. ถนนเลียบคลอง 378 คสล. 4.00 ม. 1120 ม. 14 ถนนลูกรังสายเชอ่ื ม 678 และ 378 หมู่ที่ 3, 7 และ 8 ลกู รัง 6.00 ม. 550 ม.
8 ลาดบั ชนิดผิว ผิว ผวิ ช่อื ถนนสายทาง จราจร จราจร จราจร กวา้ ง ยาว 15 ถนน คสล.สายบ้านสามเรือน(รางว)ี (ระยะทางรวม 504 ม) หมทู่ ่ี 4 คสล. 4.00 ม. 504 ม. 16 ถนน คสล. สายหม่ทู ี่ 5 ซอย 1 (ระยะทางรวม 280 ม) คสล. 4.00 ม. 280 ม. 17 ถนน คสล. สายหมู่ที่ 5 ซอย 2 (ระยะทางรวม 782 ม) หมทู่ ่ี 5 คสล. 6.00 ม. 782 ม. ถนนลกู รงั สายเลียบคลองขุด (ม 6 ซอย 1) (ระยะทาง 18 รวม 540 ม.) ลกู รัง 6.00 ม. 540 ม. 19 ถนนซอยกานันยุ้ย (ระยะทาง 730 ม.) หม่ทู ี่ 7 ลูกรงั 5.00 ม. 730 ม. 20 ถนนลกู รงั ซอยคลองสระพฒั นา 2 ลูกรัง 6.00 ม. 210 ม. ถนนลูกรงั ซอยคลองสระพฒั นา 1(ระยะทางรวม 410 21 ม.) หมทู่ ี่ 8 ลูกรงั 5.00 ม. 200 ม. ถนนคสล.เลยี บคลองพระอุดม(หนา้ วัดใหม)่ ระยะทาง 22 700 ม.) คสล. 3.00 ม. 700 ม. 23 ถนนคสล.ซอยบางเตย 1 คสล. 3.00 ม. 208 ม. ถนนคสล.ซอยบางเตย 2(ระยะทาง 2,628 ม.) หมู่ 1,10 24 (บางเตย) คสล. 4.00 ม. 2,420ม. ถนนคสล.สายเลียบคลองบางเตย(ระยะทาง 1,300 ม.) 25 หมู่ 1,10 คสล. 4.00 ม. 1}300ม. 26 ถนนคสล.ซอยลาดบัว 1 คสล. 4.00 ม. 200 ม. 27 ถนนคสล.ซอยลาดบวั 2 (ระยะทาง 550 ม.) หม่ทู ี่ 10 คสล. 4.00 ม. 350 ม. 2.2.2 การคมนาคม/ขนส่ง (ทางน้า) ตาบลคลองควาย มีการคมนาคม/ขนส่ง ทางน้า ประกอบด้วย 1 แม่น้า ได้แก่ แม่น้า เจ้าพระยา และ 10 คลอง ได้แก่ 1) คลองสระ 2) คลองควาย 3) คลองพระอุดม 4) คลองบางเตย 5) คลองลาดบัว 6) คลองขวาง 7) คลองพเี่ ล้ียง 8) คลองเจ๊ก 9) คลองวัว 10) คลองถนนสามโคก- ทา้ ยเกาะ 2.2.3 การไฟฟ้า มีไฟฟา้ ใชท้ ุกครัวเรือน และมีไฟฟา้ สาธารณะตามถนน
9 2.2.4 การประปา ราษฎรสว่ นใหญ่ใช้นา้ ประปาบาดาลของหมบู่ า้ น เนอ่ื งจากการประปาส่วนภมู ิภาคยังมีไม่ทว่ั ถงึ 2.2.5 การส่ือสารและโทรคมนาคม ครวั เรือนติดตั้งโทรศัพท์ ประมาณรอ้ ยละ 90 มเี สียงตามสายหรอื หอกระจายขา่ วประจา หมู่บ้าน เพ่ือการเผยแพรข่ ้อมูลขา่ วสารให้แก่ประชาชนได้รับทราบ 2.2.6 การจราจร ปจั จบุ นั ประชาชนใช้การจราจรทางบกเปน็ หลัก 2.2.7 การใช้ทด่ี ิน พืน้ ท่ีในตาบลคลองควายส่วนใหญ่ประกอบอาชพี ทางการเกษตร คือทานา เป็นหลัก 2.3 ด้านเศรษฐกิจ 2.3.1 อาชีพ - การเกษตรกรรม ร้อยละ 75 - รบั จ้างเอกชน รอ้ ยละ 20 - ประกอบการพาณิชย์ รอ้ ยละ 3 - รับราชการ, รัฐวสิ าหกจิ รอ้ ยละ 1 - อื่น ๆ ร้อยละ 1 ตารางท่ี 3 พืน้ ทที่ าการเกษตรกรรมของแต่ละหมู่บา้ น พื้นทท่ี านา ไม้ผล – ไม้ยืนตน้ ไม้ดอกไม้ประดบั อืน่ ๆ หม่ทู ี่ พืน้ ทปี่ ลกู จานวน พ้นื ท่ี จานวน พน้ื ท่ี จานวน พ้ืนที่ จานวน ราย ปลูก ราย ปลกู ราย ปลูก ราย 1 119 3 101 22 32 1 - - 2 1,041 30 226 54 75 3 - - 3 1,740 38 236 65 - - - - 4 210 4 45 32 - - - - 5 310 8 136 39 - - - -
10 6 473 14 44 34 - - - - 7 1,251 46 56 44 - - - - 8 2,951 85 248 81 - - - - 1 (บางเตย) 535 21 116 43 - - 9 14 10 (บางเตย) 1,730 64 155 58 - - 7 7 รวม 10,360 313 1,363 472 107 4 16 21 2.3.2 การรวมกลุ่มอาชีพในพื้นท่ี 1. กลุ่มอาชีพผลติ โคมไฟไม้ไผ่ หมู่ที่ 4 2. กลมุ่ อาชีพสตรบี า้ นคลองควาย หมู่ท่ี 6 3. กลุม่ อาชีพกลมุ่ เกษตรเฉลิมพระเกียรตบิ ้านทางยาว หมู่ที่ 8 4. กลมุ่ อาชีพแมบ่ ้านขนมหวาน หมู่ที่ 10 2.3.3 กลมุ่ ออมทรัพย์ 4 กลุ่ม 1. กลุม่ ออมทรัพยผ์ ู้ใชน้ ้าบ้านคลองสระ หมู่ท่ี 3 2. กล่มุ สัจจะออมทรัพย์บา้ นทางยาว หมู่ที่ 4 3. กล่มุ สัจจะออมทรัพยบ์ ้านลาลาด หมู่ท่ี 1 บางเตย 4. กลุ่มสัจจะออมทรัพยบ์ า้ นลาดบวั หมู่ท่ี 10 บางเตย ในด้านการส่งเสริมอาชีพ มีการจัดตั้งกลุ่มส่งเสริมอาชีพ หนึ่งตาบลหน่ึงผลิตภัณฑ์ เป็นสินค้า ติดอันดับของ อาเภอสามโคก ผลิตประเภทขนมไทย คือ กาละแม ฯลฯ นอกจากน้ียังมีผลติ ภัณฑ์โคม ไฟไมไ้ ผ่ เป็นสินค้าสง่ ออกทมี่ ชี ่ือเสยี งระดบั ชาติ 2.3.4 หน่วยงานธุรกจิ ในเขตองคก์ ารบริหารส่วนตาบลคลองควาย - ปัม้ น้ามนั จานวน 3 แหง่ - อู่ซ่อมรถ จานวน 5 แหง่ - โรงแรม จานวน 1 แห่ง - ร้านคา้ ท่ัวไป จานวน 66 แหง่ - โรงงานอตุ สาหกรรม จานวน 21 แห่ง - คลงั สินคา้ จานวน 2 แหง่ - เสาสญั ญาณโทรคมนาคม จานวน 5 แห่ง - รา้ นของเกา่ /โรงของเกา่ จานวน 9 แหง่ - บ้านเชา่ จานวน 19 แห่ง
11 2.3.5 การทอ่ งเท่ียว โบราณสถานวดั เจดยี ์ทอง และวัดป่าภรู ิทตั ตปฏิปทาราม 2.3.6 การปศุสตั ว์ มีการประกอบปศสุ ตั วใ์ นทอ้ งถ่นิ เช่น การเลย้ี งเป็ด การเล้ยี งไก่ 2.4 ดา้ นสงั คม หมู่ที่ 4 2.4.1 สถานการศกึ ษา หมทู่ ่ี 3 โรงเรียนประถมศึกษา 3 แห่ง ได้แก่ หมู่ที่ 8 1. โรงเรียนวัดสามัคคยิ าราม 2. โรงเรียนคลองสระ (สภาวทิ ยาอุทิศ) 3. โรงเรยี นวัดสหราษฎร์บารงุ โรงเรียนระดับประถมศกึ ษาและมธั ยมศึกษา 1 แหง่ ได้แก่ 1. โรงเรียนส่ีแยกบางเตย หม่ทู ่ี 1 ตาบลบางเตย โรงเรียนระดบั มัธยมศึกษา 1 แหง่ ไดแ้ ก่ 1. โรงเรยี นเตรียมอดุ มศึกษานอ้ มเกลา้ ปทุมธานี หม่ทู ่ี 2 มหาวิทยาลัย 1 แห่ง ได้แก่ มหาวทิ ยาลัยชินวัตร หมูท่ ี่ 10 ตาบลบางเตย 2.4.2 การศาสนา วัด/สานกั สงฆ์ จานวน 6 แหง่ ได้แก่ 1. วัดเจดยี ท์ อง ตัง้ อยหู่ มู่ท่ี 1 2. วัดป่าภูรทิ ตั ตปฎิปทาราม ตัง้ อยู่หมทู่ ี่ 2 3. วดั สามคั คิยาราม ตั้งอยู่หมู่ที่ 4 4. วดั สุราษฎรร์ งั สรรค์ ตัง้ อยหู่ มู่ที่ 4 5. วัดสหราษฎร์บารุง ตั้งอยู่หมู่ที่ 8 6. วดั ปา่ อริยธรรม ตงั้ อยหู่ มู่ที่ 8 2.4.3 การสาธารณสุข โรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพ 2 แห่ง ได้แก่ 1. โรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพตาบลคลองควาย ต้ังอยหู่ มทู่ ี่ 3 ตาบลคลองควาย 2. โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตาบลคลองควาย ตั้งอยหู่ มู่ท่ี 1 ตาบลบางเตย 2.4.4 การสงั คมสงเคราะห์และสวสั ดกิ ารสงั คม ปัจจุบันองค์การบริหารส่วนตาบลคลองควาย มีชมรมผู้สูงอายุท่ีเข้มแข็ง จัดกิจกรรมอย่าง ตอ่ เนื่องและนอกจากนี้ ผสู้ งู อายุ /คนพิการ/ ผปู้ ว่ ยเอดส์ ยังไดร้ บั เบยี้ ยังชพี เปน็ รายเดือน 2.4.5 ความปลอดภยั ในชีวติ และทรัพย์สนิ
12 - หนว่ ยงานราชการสถานตี ารวจภธู รอาเภอสามโคก 1 แห่ง - รถดบั เพลิง 2 คัน 2.5 ด้านทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม 2.5.1 ทรพั ยากรน้า 1. แม่น้าเจา้ พระยา 2. คลองสระ 3. คลองควาย 4. คลองพระอุดม 5. คลองบางเตย 6. คลองลาดบัว 7. คลองขวาง 8. คลองพี่เลีย้ ง 9. คลองเจ๊ก 10. คลองวัว 11. คลองถนน สามโคก-ทา้ ยเกาะ สภาพแหล่งน้าใช้ได้เฉพาะการเกษตรเท่าน้ันไม่สามารถใช้เพ่ือการอุปโภคบริโภคได้ อยา่ งมีประสิทธภิ าพ 2.5.2 ทรัพยากรป่าไม้ ไมม่ ี 2.5.3 ทรัพยากรธรณี ไม่มี 2.5.4 สภาพสงิ่ แวดล้อม คณุ ภาพแหล่งน้าตามลาคลองไม่สามารถใช้เพื่อการอุปโภคบริโภคได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ น้า ในคลองส่วนใหญ่เน่าเสียเน่ืองจากผักตบชวาและวัชพืชบางส่วนเน่าเสียจากการปลอ่ ยนา้ เสยี ของโรงงาน อุตสาหกรรมบางช่วงน้าในนาข้าวปล่อยลงสูล่ าคลองทาให้เนา่ เสีย แต่เป็นในชว่ งระยะสั้น ๆ เทา่ นัน้ ตาบลคลองควาย มีโบราณสถาน เช่น วัดเจดีย์ทอง ท่ีเป็นเอกลักษณ์ของชุมชนชาวรามัญ เป็นวัดเก่าแก่สมัยรัชกาลที่ 4 มีเจดีย์สร้างจาลองมาจากเมืองหงสา เรียกเจดีย์ชเวดากอง (จาลอง) หลวง พ่อขาวเน้อื หยกขาว เป็นทเ่ี คารพสกั การะของชมุ ชนตาบลคลองควายและบุคคลท่ัวไป สว่ นด้านหน้าริม แม่น้าเจ้าพระยามีเก๋งจีน เป็นโบราณสถานที่สาคัญย่ิงทางประวัติศาสตร์สว่ นโบราณสถานอีกแห่งหนึ่ง ซ่ึงทรงคุณค่าอย่างย่ิง คือ วัดป่าภูริทัตตปฏิปทาราม เป็นวัดท่ีปฏิบัติธรรมทางสายธรรมยุต ปฏิบัติ กรรมฐาน ยอดเจดยี ข์ องวดั ทาด้วยทองคาแท้ สว่ นท่ี 3 ผลการวเิ คราะห์ศกั ยภาพ ปัญหา ความต้องการ และประเดน็ การพฒั นาเชงิ พืน้ ที่ การวิเคราะห์ชุมชนดาเนินการโดยอาศัยข้อมูลทุติยภูมิที่รวบรวมจากฐานข้อมูลแผนพัฒนา ยุทธศาสตร์จังหวัดปทุมธานี แผนพัฒนาท้องถ่ินองค์การบริหารส่วนตาบลคลองควาย สานักงาน
13 พัฒนาชุมชนอาเภอสามโคก และการสืบค้นจากส่ือออนไลน์ต่างๆ และดาเนินการเก็บข้อมูลปฐมภูมิ จากการจัดเวทีประชุมผู้นาชุมชน การสมั ภาษณ์รายคนและกลุ่มในพืน้ ท่ีตาบลคลองควาย และผู้มสี ่วน ไดเ้ สยี นาข้อมูลทไ่ี ด้ประมวลผล สงั เคราะห์ผล แบ่งเปน็ ด้านดงั น้ี 3.1 ศกั ยภาพในการพฒั นาตาบลคลองควาย อาเภอสามโคก จงั หวัดปทมุ ธานี ตารางที่ 4 การวเิ คราะห์ศักยภาพในการพัฒนาตาบลคลองควาย หมู่ที่ ศกั ยภาพในการพัฒนา รายละเอยี ดในการพัฒนา 1 ด้านทรัพยากรมนุษย์ บา้ น - ปราชญ์ด้านวฒั นธรรมมอญ - ถอดบทเรียนหรือบนั ทึกเรอ่ื งเลา่ ของ เจดยี ์ คอื นายบญุ ชู ทองประยงค์ ปราชญ์ ทอง เพื่อใหค้ นรุน่ หลงั ได้ศึกษาและเรียนรู้ รวมถงึ การจัดทาฐานข้อมูล - สามารถนาไปสกู่ ารพฒั นาและเผยแพร่ ความรู้ ดา้ นศิลปะและวัฒนธรรมให้คนรนุ่ หลงั ด้านภาคเี ครอื ข่าย - เปน็ แหลง่ ทนุ หมุนเวียนให้กับชมุ ชนใน - กองทุนหมู่บ้านหมทู่ ี่ 1 การต่อยอด - กองทุนพฒั นาบทบาทสตรหี มทู่ ่ี 1 - กองทนุ ผใู้ ช้น้าประปาหมบู่ า้ นหม่ทู ่ี 1 - สามารถพฒั นาไปสู่แหลง่ ท่องเทีย่ วของ ทนุ ทางสงั คมและทนุ ทางวัฒนธรรม ชุมชนได้ - วัดเจดยี ท์ อง - จัดอบรมให้ความรู้เชงิ ปฏบิ ัติการ เร่อื ง ทุนทางเศรษฐกจิ และการค้าขาย การออกแบบผลิตภัณฑ์ให้น่าสนใจ - กลุม่ สมั มาชพี บา้ นเจดีย์ทอง รวมถงึ การต้งั เปน็ วิสาหกจิ ชุมชน (กะหรปี่ ั๊บ ซาลาเปา ขนมจบี สาคไู สห้ ม)ู
14 หม่ทู ่ี ศกั ยภาพในการพฒั นา รายละเอียดในการพัฒนา ทนุ ทางทรัพยากรธรรมชาติ - แมน่ า้ เจ้าพระยา - การออกแบบผลิตภัณฑ์ให้น่าสนใจ ด้านผลิตภัณฑช์ ุมชน - ชอ่ งทางการจัดจาหน่ายสินคา้ ที่ - ขนมเปี๊ยะ หมี่กรอบชาวรามัญ หลากหลาย - กะหรีป่ ๊บั ซาลาเปา ขนมจีบ สาคไู สห้ มู 2 ด้านทรัพยากรมนุษย์ บ้าน - ผู้เชย่ี วชาญด้านกฎหมาย คือ นายพิเชษฐ์ - ถอดบทเรยี นหรือบนั ทึกเร่อื งเล่าของ คลอง ภเู่ ฉลิมตระกลู (สารวัตรกานันตาบลคลอง ปราชญเ์ พอื่ ให้คนร่นุ หลงั ได้ศึกษาและ สระ ควาย) เรยี นรู้ รวมถึงการจัดทาฐานข้อมูล - หมอพ้นื บา้ น (เปา่ ) คือ - จดั เปน็ ศูนยเ์ รยี นรขู้ องชมุ ชน นางบญุ ชู อนิ ทรภาส - สามารถพฒั นาต่อยอดเปน็ กลุ่มอาชีพ - ปราชญ์ด้านศาสนพิธี คือ นายเชาว์ ตน้ รงั - ชา่ งฝีมอื ดา้ นถกั เปลญวน คือ นางจงดล ขนั อินทร์ ดา้ นภาคเี ครอื ข่าย - เป็นแหลง่ ทนุ หมนุ เวยี นให้กับชุมชน - กองทุนหมู่บ้านหมู่ 2 บ้านคลองสระ ในการต่อยอด - กองทุนพฒั นาบทบาทสตรีหมู่ 2 บา้ นคลองสระ - สามารถพฒั นาเป็นแหล่งวปิ ัสสนา - กองทุนผใู้ ช้น้าประปาหมูบ่ า้ น หมู่ 2 สาหรับพทุ ธศาสนกิ ชน บา้ นคลองสระ - สามารถพัฒนาไปสแู่ หล่งท่องเทย่ี วของ - กองทุนแกไ้ ขปัญหาความยากจน ชมุ ชนได้ - กองทนุ แม่ของแผ่นดิน ทนุ ทางสงั คมและทุนทางวัฒนธรรม - วัดปา่ ภูริทตั ตปฎิปทาราม - โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า ปทุมธานี
15 หม่ทู ่ี ศักยภาพในการพัฒนา รายละเอยี ดในการพัฒนา - ศาลาเอนกประสงค์ขนาดใหญส่ าหรบั จดั - สามารถเปน็ แหล่งวางขายสินคา้ ของ กิจกรรมของชมุ ชน ชุมชนได้ - มพี ืน้ ท่วี า่ งสาหรับใชป้ ระโยชน์ของชุมชน ติดถนนกาญจนาภิเษก หมายเลข 9 (ท่รี าชพัสดุ) ดา้ นผลิตภัณฑ์ชุมชน - การออกแบบผลิตภณั ฑ์ใหน้ ่าสนใจ - ข้าวตม้ มดั ขนมเทยี น หอ่ หมก - ชอ่ งทางการจดั จาหน่ายสินคา้ ท่ี หลากหลาย 3 ดา้ นทรัพยากรมนษุ ย์ บา้ น - หมอพ้นื บา้ น (เป่า/พ่น) คอื - ถอดบทเรยี นหรือบนั ทึกเร่อื งเลา่ ของ คลอง นายโถม เครอื โชติ ปราชญเ์ พอ่ื ให้คนรนุ่ หลงั ได้ศึกษาและ สระ - ปราชญด์ า้ นการเกษตร คือ เรียนรู้ - สามารถนาไปส่กู ารพัฒนาและเผยแพร่ นายดาวเรอื ง มะลิทอง ความรดู้ า้ นศลิ ปะและวฒั นธรรมให้คนรุ่น - ปราชญ์ด้านศาสนพธิ ี คอื หลัง นายน่มุ ผลมะขาม - จดั เปน็ ศูนย์เรียนรู้ของชมุ ชน ดา้ นภาคเี ครือขา่ ย - เป็นแหลง่ ทุนหมนุ เวียนใหก้ ับชุมชน - กองทุนหมู่บ้านหมู่ 3 บา้ นคลองสระ ในการต่อยอด - กองทุนพฒั นาบทบาทสตรีหมู่ 3 บา้ น คลองสระ - กองทุนผ้ใู ช้น้าประปาหมบู่ ้านหมู่ 3 บา้ น คลองสระ - กลุ่มออมทรัพยผ์ ใู้ ชน้ ้าบา้ นคลองสระ ทุนทางสังคมและทนุ ทางวัฒนธรรม - โรงเรียนคลองสระ
16 หมู่ท่ี ศกั ยภาพในการพฒั นา รายละเอยี ดในการพัฒนา - โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตาบลคลอง ควาย (ม.3) ทุนทางเศรษฐกิจและการคา้ ขาย - สามารถนาไปสู่พัฒนาการเผยแพร่ - กลมุ่ วสิ าหกิจชุมชนบ้านคลองสระ ความรู้ทางการเกษตรชีวภาพเพอ่ื (ผกั ปลอดสารพิษ) จาหน่าย - ศนู ย์พัฒนาการเรียนรูด้ า้ นการเกษตร ดา้ นผลิตภณั ฑช์ ุมชน - การออกแบบผลติ ภณั ฑใ์ หน้ ่าสนใจ - ขนมหวาน (ทองหยิบ ทองหยอด) - ช่องทางการจัดจาหน่ายสนิ คา้ ท่ี - น้าอ้อย ผักปลอดสารพิษ หลากหลาย 4 ด้านทรัพยากรมนุษย์ บ้าน - ผู้เช่ยี วชาญอาหารรามนั และปราชญ์ - ถอดบทเรยี นหรือบันทึกเรอ่ื งเล่าของ โพธ์ิ วัฒนธรรมมอญ คอื นายไพรตั น์ จันทรแ์ บบ ปราชญเ์ พ่อื ให้คนรุ่นหลังได้ศึกษาและ - ชา่ งฝีมอื ด้ามปนื คือ นายบุญสง่ โคมลอย เรียนรู้ - ช่างฝมี ือโคมไฟไม้ไผ่ คือ - สามารถนาไปสู่การพฒั นาและเผยแพร่ นายนิคม กองรัตน์ ความรู้ด้านศลิ ปะและวฒั นธรรมให้คนรุ่น หลัง - จัดเป็นศนู ย์เรียนรขู้ องชมุ ชน ดา้ นภาคเี ครือขา่ ย กองทนุ หมู่บ้านหมู่ท่ี 4 บ้านโพธ์ิ - เป็นแหลง่ ทนุ หมนุ เวยี นใหก้ ับชมุ ชน กองทนุ พัฒนาบทบาทสตรี หมทู่ ่ี 4 บ้านโพธิ์ ในการต่อยอด กองทนุ ผูใ้ ชน้ า้ ประปาหมู่บ้าน หมู่ท่ี 4 บ้านโพธ์ิ ทุนทางสังคมและทนุ ทางวัฒนธรรม - วัดสามัคคยิ าราม - วัดสุราษฎร์รงั สรรค์
17 หมูท่ ี่ ศกั ยภาพในการพัฒนา รายละเอียดในการพัฒนา - โรงเรยี นวัดสามคั คยิ าราม ทนุ ทางเศรษฐกจิ และการคา้ ขาย - สามารถนาไปสกู่ ารพฒั นาและเผยแพร่ - กลุม่ อาชพี ผลติ โคมไฟไม้ไผ่ ความรู้ด้านศลิ ปะและวฒั นธรรมใหค้ นรุ่น - กล่มุ อาชีพทาด้ามปืน หลงั - จดั เป็นศนู ย์เรยี นรูข้ องชุมชน - สามารถนาไปสู่พัฒนาการเผยแพร่ ความรูท้ างชา่ งไม้ ทุนทางทรพั ยากรธรรมชาติ - การออกแบบผลิตภัณฑ์ใหน้ ่าสนใจ - แมน่ า้ เจา้ พระยา - ช่องทางการจดั จาหน่ายสินค้าที่ ดา้ นผลิตภัณฑ์ชุมชน หลากหลาย - ดา้ มปนื /โคมไฟไม้ไผ่ - อาหารพ้ืนบ้านชาวมอญ 5 ดา้ นทรพั ยากรมนุษย์ - สามารถนาไปสกู่ ารพัฒนาและเผยแพร่ บา้ น - ชา่ งฝีมือ (ช่างไม้) ต่อเรือและเฟอรน์ ิเจอร์ ความรู้ด้านศิลปะและวฒั นธรรมใหค้ นรุ่น คลอง คือ นายประทวน ดาวอรา่ ม หลัง ควาย - จัดเปน็ ศูนยเ์ รียนรู้ของชมุ ชน ดา้ นภาคเี ครอื ขา่ ย -กองทนุ หมู่บ้านหมู่ 5 บ้านคลองควาย - เปน็ แหลง่ ทนุ หมนุ เวยี นให้กับชุมชน -กองทนุ พฒั นาบทบาทสตรีหมู่ 5 บา้ นคลอง ในการต่อยอด ควาย -กองทุนผูใ้ ชน้ า้ ประปาหมบู่ ้านหมู่ 5 บ้าน คลองควาย ด้านผลิตภณั ฑ์ชุมชน
18 หมู่ที่ ศักยภาพในการพฒั นา รายละเอยี ดในการพัฒนา - นา้ พริกนรก หมูสวรรค์ หมแู ดดเดยี ว - การออกแบบผลิตภัณฑ์ใหน้ ่าสนใจ - ช่องทางการจดั จาหน่ายสนิ ค้าท่ี หลากหลาย 6 ด้านทรัพยากรมนษุ ย์ บา้ น - ผูเ้ ชีย่ วชาญขนมกง กาละแม กระยาสารท - ถอดบทเรียนหรือบันทึกเรอ่ื งเลา่ ของ คลอง คือ นางอานวย ลางคุณเสน ปราชญ์ ควาย เพื่อใหค้ นรุ่นหลงั ไดศ้ ึกษาและเรียนรู้ - สามารถพฒั นาต่อยอดเปน็ กลุ่มอาชพี ดา้ นภาคเี ครอื ขา่ ย - เป็นแหล่งทุนหมนุ เวยี นให้กับชุมชนใน - กองทุนหมู่บา้ นหมู่ที่ 6 บ้านคลองควาย การต่อยอด - กองทนุ พฒั นาบทบาทสตรีหมทู่ ี่ 6 บ้าน คลองควาย - จดั เป็นศูนยเ์ รียนรู้ของชมุ ชน - กองทุนผใู้ ชน้ า้ ประปาหม่บู า้ นหมู่ 6 บา้ น - สามารถนาไปสู่พฒั นาการเผยแพร่ คลองควาย ความรู้ ทนุ ทางเศรษฐกจิ และการคา้ ขาย ด้านขนมไทย - กล่มุ วสิ าหกจิ ชมุ ชนขนมไทย ดา้ นผลิตภัณฑช์ ุมชน - การออกแบบผลิตภณั ฑ์ใหน้ ่าสนใจ - ขนมกง กาละแม กระยาสารท - ชอ่ งทางการจัดจาหน่ายสนิ ค้าท่ี หลากหลาย 7 ด้านทรัพยากรมนุษย์ บ้าน - ผูเ้ ชี่ยวชาญขนมเปีย๊ ะไสต้ ่าง ๆ - ถอดบทเรียนหรือบนั ทึกเรอื่ งเลา่ ของ คลอง คือ นางเพชรรตั น์ ฉันท์ผอ่ ง ปราชญเ์ พื่อให้คนร่นุ หลังได้ศึกษาและ ควาย เรยี นรู้
19 หมทู่ ี่ ศกั ยภาพในการพฒั นา รายละเอียดในการพัฒนา - จดั เป็นศนู ย์เรยี นรู้ของชมุ ชน - สามารถนาไปส่กู ารพฒั นาอาชพี ในชุมชน ดา้ นภาคเี ครอื ขา่ ย - เป็นแหล่งทนุ หมุนเวียนให้กับชุมชนใน - กองทุนหมู่บ้านหมทู่ ่ี 7 บ้านคลองควาย การต่อยอด - กองทนุ พฒั นาบทบาทสตรหี มูท่ ี่ 7 บา้ น คลองควาย - กองทุนผูใ้ ช้น้าประปาหมบู่ า้ นหมทู่ ี่ 7 บ้าน คลองควาย ดา้ นผลิตภณั ฑ์ชุมชน - การออกแบบผลิตภณั ฑใ์ ห้น่าสนใจ - ขนมเปี๊ยะ ทองมว้ น - ชอ่ งทางการจัดจาหน่ายสินค้าที่ หลากหลาย 8 ด้านทรพั ยากรมนุษย์ บา้ น - ผ้เู ช่ยี วชาญดา้ นการเกษตรอินทรยี ์ (ขา้ ว) - ถอดบทเรียนหรือบันทึกเรื่องเล่าของ คลอง คอื นายเดชา เครือโชติ ปราชญ์ ควาย - ชา่ งฝีมอื จักสาน (ลอบดักปลา) คอื เพื่อให้คนร่นุ หลงั ได้ศึกษาและเรียนรู้ - สามารถนาไปสู่การพฒั นาและเผยแพร่ นายวริ ตั น์ เกสร ความรู้ - ปราชญด์ ้านพิธีกรรมเกยี่ วกับงานศพ ดา้ นศลิ ปะและวฒั นธรรมใหค้ นรนุ่ หลงั คอื นายสวิง ทรพั ย์ผล (สปั เหรอ่ ) - จัดเปน็ ศนู ยเ์ รยี นรู้ของชุมชน - ปราชญศ์ าสนพิธี คอื - สามารถนาไปสู่การพัฒนาอาชีพใน นายวง เชิดชู (มัคทายก) ชุมชน - ศลิ ปนิ พ้ืนบ้านเพลงโนเน ทาขวัญนาค คอื นางชะม้อย เครือโชติ - ช่างฝมี อื จักสาน คือ นางเช้า อ่างบวั ด้านภาคเี ครือขา่ ย - เป็นแหลง่ ทนุ หมนุ เวียนให้กับชมุ ชน - กองทุนหมู่บ้านหมทู่ ี่ 8 บา้ นคลองควาย ในการต่อยอด
20 หม่ทู ี่ ศักยภาพในการพัฒนา รายละเอยี ดในการพัฒนา - กองทุนพัฒนาบทบาทสตรีหมทู่ ่ี 8 บา้ นคลองควาย - กองทุนผูใ้ ช้น้าประปาหมูบ่ า้ นหม่ทู ่ี 8 บ้านคลองควาย - กลุ่มออมทรัพย์ผ้ใู ชน้ า้ บ้านทางยาว - ธนาคารหมูบ่ า้ น - กองทนุ แมข่ องแผน่ ดนิ (แก้ไขปญั หายาเสพ ตดิ ) ทุนทางสงั คมและทุนทางวัฒนธรรม - วดั ปา่ อริยธรรม - สามารถพัฒนาเปน็ แหลง่ วปิ ัสสนา - โรงเรยี นวดั สหราษฎร์บารุง สาหรับพุทธศาสนกิ ชน ทนุ ทางเศรษฐกจิ และการค้าขาย - จดั เป็นศนู ย์เรยี นรูข้ องชมุ ชน - กลมุ่ เกษตรกรเฉลิมพระเกียรตบิ า้ นทาง ยาว (ข้าว) - กลุ่มวิสาหกิจชุมชนฟางข้าวบ้านทางยาว - กลมุ่ สัมมาชีพบา้ นทางยาว - รา้ นคา้ ชุมชน (ตงั้ จากกองทุนหมู่บ้าน ปัจจุบนั อยภู่ ายใต้โครงการประชารฐั ) ทุนทางทรพั ยากรธรรมชาติ - โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ ด้านผลิตภัณฑ์ชุมชน - การออกแบบผลติ ภณั ฑ์ให้น่าสนใจ - ข้าวต้มมดั ใต้ ข้าวกล้องงอก กล้วยฉาบ - ชอ่ งทางการจัดจาหน่ายสินค้าท่ี ไข่เค็ม หลากหลาย 1 ด้านทรพั ยากรมนุษย์ บ้าน - ผ้เู ชยี่ วชาญดา้ นการศึกษาและประธาน - เปน็ ผูน้ าในการพัฒนาศักยภาพชมรม ลาลาด ชมรมผ้สู ูงอายุ คอื นายสมบัติ จาเนยี ร ผู้สงู อายุ (อดีตผู้อานวยการโรงเรียนวัดสามัคคิยาราม) ด้านภาคเี ครือขา่ ย
21 หมทู่ ี่ ศกั ยภาพในการพัฒนา รายละเอียดในการพัฒนา - กองทนุ หมู่บ้านหมทู่ ี่ 1 บ้านลาลาด - เปน็ แหล่งทนุ หมุนเวียนใหก้ ับชุมชน - กองทุนพัฒนาบทบาทสตรหี มู่ที่ 1 ในการต่อยอด บ้านลาลาด - กองทนุ ผูใ้ ชน้ ้าประปาหม่บู ้านหมทู่ ่ี 1 บ้าน ลาลาด - กลมุ่ ออมทรัพยผ์ ู้ใช้นา้ - ธนาคารหมบู่ า้ น ทนุ ทางสังคมและทุนทางวัฒนธรรม - โรงเรียนสี่แยกบางเตย - ชมรมผ้สู งู อายสุ ามารถพัฒนาเปน็ - โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตาบลคลอง โรงเรยี นผู้สูงอายุ โดยมโี รงพยาบาล ควาย (หมู่ 1 บ้านลาลาด) ส่งเสริมสขุ ภาพตาบลคลองควาย - ชมรมผสู้ ูงอายุ (หมู่ 1 บา้ นลาลาด) และ อบต.คลอง ควาย เปน็ ภาคเี ครอื ขา่ ยหลักในการ ดาเนินการ 10 ดา้ นทรพั ยากรมนุษย์ บา้ น - ผ้เู ชีย่ วชาญดา้ นดนตรีไทย กลองยาว และ - ถอดบทเรยี นหรือบันทึกเร่อื งเลา่ ของ ลาด ปราชญด์ ้านศาสนพิธี (รบั ต้งั ศาล) คอื ปราชญ์ บัว นายแบน กลับใจ เพ่อื ให้คนรุ่นหลงั ได้ศึกษาและเรยี นรู้ หลวง - หมอพ้นื บา้ น (เปา่ พ่น พอก) คอื - สามารถนาไปสกู่ ารพฒั นาและเผยแพร่ นายยี่ กลับใจ ความรู้ - ผเู้ ชย่ี วชาญดา้ นขนมไทย คือ ด้านศิลปะและวฒั นธรรมใหค้ นรนุ่ หลัง นางกรุ่น กลบั ใจ - จดั เป็นศนู ย์เรยี นรูข้ องชมุ ชน - ชา่ งฝมี ือต่อเรือ คือ นายสมหมาย - สามารถนาไปสูก่ ารพัฒนาอาชีพใน ไทรสวุ รรณ์ (อดตี กานนั ตาบลบางเตย) ชุมชน ดา้ นภาคเี ครอื ขา่ ย - กองทนุ หมู่บ้านหมู่ 10 บ้านลาดบวั หลวง - เปน็ แหลง่ ทนุ หมนุ เวยี นให้กับชมุ ชน - กองทุนพฒั นาบทบาทสตรหี มู่ 10 บ้าน ในการต่อยอด ลาดบัวหลวง - กองทุนผใู้ ช้น้าประปาหมูบ่ า้ นหมู่ 10 บ้าน ลาดบวั หลวง
22 หมทู่ ี่ ศักยภาพในการพฒั นา รายละเอียดในการพัฒนา ทุนทางสังคมและทุนทางวัฒนธรรม - มหาวิทยาลยั ชนิ วัตร - เปน็ แหล่งสนบั สนนุ ดา้ นวิชาการให้กบั ชมุ ชน ทุนทางเศรษฐกจิ และการค้าขาย - กลมุ่ อาชีพขนมหวาน - การออกแบบผลติ ภัณฑใ์ ห้น่าสนใจ - ชอ่ งทางการจดั จาหน่ายสินคา้ ท่ี หลากหลาย
3.2 แผนที่แสดงศกั ยภาพดา้ นต่าง ๆ ของแต่ละหมูบ่ ้านในตาบล ภาพท่ี 2 แผนทแ่ี สดงศักยภาพดา้ นต่างๆ ขอ
องแตล่ ะหม่บู า้ นในตาบลคลองควาย 19
3.3 ปัญหาและความต้องการในพ้ืนที่ ตาบลคลองควาย อาเภอสามโคก จังหวัด ปทมุ ธานี ตารางท่ี 5 ปัญหาและความต้องการในพ้นื ทต่ี าบลคลองควาย หม่ทู ี่ ดา้ น ปญั หาและความต้องการ 1 ทนุ ทางเศรษฐกิจและการค้าขาย - ขาดการบริหารจัดการในกลุ่มสมั มาชีพท่มี ี บา้ น - กลุ่มสมั มาชีพบ้านเจดีย์ทอง ประสิทธภิ าพ ทาให้ขาดความยง่ั ยืนและความ เจดยี ์ (ขนมเป๊ยี ะ หมก่ี รอบชาวรามัญ ต่อเน่อื งในการดาเนนิ งาน ทอง กะหร่ปี ๊บั ซาลาเปา ขนมจีบ สาคู - ขาดความรูด้ า้ นการออกแบบผลิตภณั ฑ์ท่ีทันสมัย ไสห้ ม)ู ขาดการประชาสมั พนั ธ์อยา่ งต่อเน่อื ง และขาด แหล่งจาหน่ายสินคา้ และผลิตภัณฑ์ จงึ ทาใหก้ ลุ่มสัมมาชีพบา้ นเจดีย์ทองต้องการ พฒั นากลุ่มใหม้ คี วามเข้มแข็ง สามารถบริหาร จัดการกลุ่มไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ รวมท้ังการ พัฒนาผลิตภณั ฑ์และช่องทางการจัดจาหน่าย 2 ทนุ ทางเศรษฐกิจและการคา้ ขาย บ้าน - มพี น้ื ท่วี า่ งสาหรบั ใช้ประโยชน์ - ขาดแหล่งวางจาหน่ายสนิ ค้า/ผลติ ภัณฑข์ องชุมชน คลอง ของชุมชน จึงทาให้ชุมชนมีความตอ้ งการท่จี ะจดั ตงั้ สถานที่จดั สระ ติดถนนกาญจนาภิเษก หมายเลข จาหน่ายสินค้า/ผลติ ภัณฑข์ องชมุ ชนเอง เพื่อเปน็ 9 (ที่ราชพัสด)ุ รวมท้ังมสี ถานที่ แหล่งพฒั นาเศรษฐกจิ ของชมุ ชนตอ่ ไป สาคญั ของชมุ ชน ไดแ้ ก่ วัดปา่ ภูรทิ ัตตปฎปิ ทาราม โรงเรยี น เตรียมอดุ มศกึ ษาน้อมเกล้า ปทมุ ธานี และศาลาเอนกประสงค์ ขนาดใหญ่สาหรบั จัดกจิ กรรมของ ชุมชน 3 ทุนทางสงั คมและทนุ ทาง บ้าน วฒั นธรรม คลอง - มี รพ.สต.บ้านคลองควายซ่งึ เป็น - มีจานวนกลุม่ เสยี่ งและกลุ่มปว่ ยด้วยโรคไมต่ ดิ ต่อ สระ หน่วยงานดา้ นสาธารณสขุ ท่ใี ห้ เรอื้ รัง (โรคเบาหวาน โรคความดนั โลหิตสูง ภาวะ
21 หมู่ที่ ด้าน ปัญหาและความตอ้ งการ การดูแลทางด้านสขุ ภาพและการ ไขมนั ในเลอื ดสงู ) รวมท้งั กล่มุ ผ้สู ูงอายุ ผ้พู ิการ และ สาธารณสขุ ของชุมชน ผู้ป่วยตดิ เตียง ท่ีต้องการดูแลโดยชุมชนมสี ่วนรว่ ม 6 ทุนทางเศรษฐกิจและการคา้ ขาย - ขาดการบริหารจัดการในกลุ่มสัมมาชีพทีม่ ี บา้ น - กลมุ่ วิสาหกจิ ชุมชนขนมไทย ประสิทธภิ าพ ทาให้ขาดความย่ังยืนและความ คลอง ตอ่ เนือ่ งในการดาเนนิ งาน ควาย - ขาดความรดู้ า้ นการออกแบบผลติ ภณั ฑท์ ่ที ันสมัย ขาดการประชาสัมพันธ์อย่างต่อเน่ือง และขาด 8 ทุนทางเศรษฐกิจและการค้าขาย แหลง่ จาหน่ายสนิ ค้าและผลิตภัณฑ์ บ้าน - กลุม่ เกษตรกรเฉลมิ พระเกยี รติ คลอง บา้ นทางยาว จึงทาให้กล่มุ วสิ าหกจิ ชุมชนขนมไทยต้องการ ควาย พัฒนากลมุ่ ให้มคี วามเข้มแข็ง สามารถบรหิ าร 1 ทนุ ทางสงั คมและทนุ ทาง จดั การกลมุ่ ได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ รวมท้งั การ บา้ นลา วฒั นธรรม พฒั นาผลิตภัณฑ์และช่องทางการจัดจาหน่าย ลาด - ชมรมผสู้ งู อายุ - กลุม่ มีความต้องการถา่ ยทอดความรู้ด้านการทา เกษตรอนิ ทรยี ์ (ข้าว) ใหก้ บั คนในชุมชน - ชมรมผสู้ งู อายุตอ้ งการไดร้ บั การพัฒนาคุณภาพ ชีวิตครอบคลุมทุกมติ ิสามารถพัฒนาเป็นโรงเรียน ผูส้ ูงอายุ ซึง่ มีกิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาครอบคลมุ ทุกมติ ิ 3.4 ประเดน็ การพฒั นาเชิงพนื้ ท่ีตาบลคลองควาย อาเภอสามโคก จังหวดั ปทมุ ธานี การกาหนดประเด็นการพัฒนา วิเคราะห์จากศักยภาพชุมชน ปัญหาและความต้องการของ ชุมชนตาบลคลองควายท้ัง 10 หมู่บ้าน สามารถสรุปศักยภาพชุมชนดังภาพท่ี 2 (หน้า 19) และ สามารถสรปุ ประเด็นการพฒั นาได้ดงั น้ี 1. การพัฒนากลุ่มและสนิ ค้าชุมชน
22 โดยการพัฒนาวิสาหกิจชุมชนขนมไทย หมู่ 6 บ้านคลองควาย ซ่ึงจะดาเนินการพัฒนากลุ่ม ใหม้ คี วามเข้มแขง็ สามารถบรหิ ารจดั การกล่มุ ไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ รวมท้งั การพฒั นาผลิตภัณฑ์และ ช่องทางการจัดจาหน่าย ซึ่งมีกลุ่มเป้าหมาย จานวน 14 ครัวเรือน และการพัฒนากลุ่มสัมมาชีพ บ้านเจดีย์ทอง หมู่ 1 ซ่ึงจะดาเนินการในลักษณะเดียวกัน คือ การพัฒนากลุ่มให้มีความเข้มแข็ง สามารถบริหารจัดการกลุ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งการพัฒนาผลิตภัณฑ์และช่องทางการจัด จาหนา่ ย ซึ่งมีกลุ่มเป้าหมาย จานวน 12 ครัวเรือน โดยสามารถดาเนินการจดั อบรมให้ความรู้เพิม่ เติม ในเรื่องสูตรการผลิตและการออกแบบบรรจุภัณฑ์ให้ตรงตามความต้องการของชุมชนและผู้บริ โภค และท้ายที่สุดส่งเสริมเร่ืองช่องทางการตลาดให้ชุมชนมีพ้ืนท่ีวางขายสินค้าได้อย่างต่อเน่ืองและย่ังยืน ทั้งน้ีผลสาเร็จของแผนงานนี้จะนามาซึ่งองค์ความรู้ท่ีเป็นประโยชน์ให้กับชุมชน และคาดว่าชุมชน สามารถมีรายได้ เพม่ิ ขึ้นร้อยละ 10 ของครวั เรือนทเ่ี ข้ารว่ มโครงการ 2. การจัดต้งั ร้านค้าชุมชน หมู่ท่ี 2 ตาบลคลองควาย เป็นจุดศูนย์กลางการคมนาคมเนื่องจากมีสถานที่สาคัญ คือ วดั ป่าภูรทิ ตั ตปฎปิ ทาราม เป็นแล่งรวมพุทธศาสนิกชน มีโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้าปทุมธานี และมีศาลาเอนกประสงค์ขนาดใหญ่สาหรับจัดกิจกรรมต่างๆ ของชุมชน รวมท้ังมีพ้ืนท่ีว่างสาหรับ ใช้ประโยชน์ของชุมชนซ่ึงเป็นที่ราชพัสดุ ติดถนนกาญจนาภิเษก หมายเลข 9 ซึ่งจุดนี้ทางผู้นาชุมชน คือ กานนั และผู้ใหญบ่ ้าน มีแนวทางในการพัฒนาเป็นตลาดของชุมชน เพื่อจะกระตุ้นระบบเศรษฐกิจ ฐานรากและชุมชนให้มีความเข้มแข็งในระยะยาว สามารถพึ่งพาตนเอง ผ่านกลไกของตลาดชุมชน เพ่ิมช่องทางในการจาหน่ายผลผลิตทางการเกษตร สินค้าเกษตรแปรรูป สินค้าหัตถกรรม ผลิตภัณฑ์ ชุมชน เพื่อเป็นช่องทางการระบายสินค้าของชุมชน และเป็นกลไกในการแก้ไขปัญหาสินค้าเกษตร ของตาบลคลองควาย โดยมีกลุ่มเป้าหมาย คือ ประชาชนในตาบลคลองควายท่ีสนใจในการนาสินค้า ของชุมชนมาวางจัดจาหน่ายผลิตภัณฑช์ ุมชน จานวน 15 รา้ น นอกจากน้ี ชุมชนยังมแี นวคดิ ทีจ่ ะสรา้ ง เครือข่ายในการบริหารจัดการให้ร้านค้าชุมชนเป็นศูนย์เศรษฐกิจของตาบลคลองควาย โดยการมีส่วน รว่ มของหนว่ ยงานภาครฐั /เอกชน ผู้นาชุมชน และกลุ่มต่างๆ ในตาบล 3. การส่งเสริมสุขภาพ ตาบลคลองควายมีความสนใจในการจัดต้ังกลุ่ม/ชมรม เพื่อดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ผู้ป่วย และ ผู้พิการท่ีไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ (ติดเตียง) และมีความต้องการจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ การดูแลตนเองของกลมุ่ เส่ียงและผู้ป่วยด้วยโรคเรอ้ื รัง (โรคเบาหวาน โรคความดันโลหติ สูง โรคหลอด เลือดสมอง โรคหลอดเลือดหัวใจ และโรคหลอดเลือดสมอง) ซ่ึงส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุและมีโอกาส เสี่ยงต่อการเป็นลม ช๊อค และหมดสติได้ ดังน้ันชมุ ชนจึงมีความต้องการจัดอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ คนในชมุ ชนในการชว่ ยฟนื้ คนื ชีพ (CPR) ใหก้ ับกลุ่มผู้นาชมุ ชนและแกนนาเยาวชนตาบลคลองควาย 4. การเรยี นรตู้ ลอดชีวติ
23 หมู่ 1 บ้านลาลาด ตาบลบางเตย ซ่งึ ถกู จดั ใหเ้ ปน็ เขตรับผดิ ชอบของตาบลคลองควาย มชี มรม ผู้สูงอายุ ซึ่งมีจานวนสมาชิก จานวน 35 คน โดยมีนายสมบัติ จาเนียร อดีตผู้อานวยการโรงเรียน วัดสามัคคิยาราม เป็นประธานชมรมผู้สูงอายุ โดยชุมชนและหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง มีความต้องการ จะพัฒนาจัดต้งั เป็นโรงเรียนผู้สูงอายุของตาบลคลองควาย เพือ่ จัดกิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาคณุ ภาพ ชีวติ ให้กับสมาชิกผสู้ งู อายุครอบคลมุ ทุกมิติ 5. การจัดการสง่ิ แวดล้อมชุมชน ตาบลคลองควายมีความต้องการจะดาเนินการจัดทาโครงการชุมชนปลอดขยะ เพ่ือให้คนใน ชุมชนรู้จักการคัดแยกขยะ และการนาขยะกลับมาใช้ใหม่ โดยจัดดาเนินการชุมชนนาร่อง 30 ครวั เรือน นอกจากน้ี มีแนวคิดท่ีจะดาเนินการจัดการสง่ิ แวดล้อมของชุมชน โดยนาร่องในตลาดชุมชน ในเรื่องของมาตรฐานตลาด (stansard for marketplace) อาหารปลอดภัย (food safety) อาหาร สะอาด รสชาติอร่อย (clean food good taste) 6. การอนรุ ักษแ์ ละสืบทอดภูมปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ ตาบลคลองควายมีปราชญ์ชุมชนที่มีความรู้ความชานาญในการประกอบอาชีพ หรือมีความ เช่ียวชาญในอาชีพท่ีประสบความสาเร็จและมีความมั่นคงในอาชีพ เป็นที่ยอมรับของคนในชุมชน พร้อมมีจิตอาสาท่ีจะถ่ายทอดและขยายผลไปยังบุคคลอื่นๆ ในชุมชนหลายด้าน ได้แก่ ปราชญ์ด้าน วัฒนธรรมมอญ (หม่ทู ่ี 1 และ หมทู่ ี่ 4) ปราชญ์ด้านศาสนพิธี (หมู่ท่ี 2) ปราชญ์ด้านสมนุ ไพร พน่ เป่า พอก (หมู่ท่ี 3 และ หมู่ที่ 10 บางเตย) ช่างฝีมือโคมไฟไม้ไผ่/ด้ามปืน (หมู่ท่ี 4) ช่างไม้ต่อเรือ/ เฟอร์นิเจอร์ (หมู่ที่ 5) ศิลปินพื้นบ้านเพลงโนเน (หมู่ท่ี 8) ผู้เชี่ยวชาญด้านดนตรีไทย/กลองยาว (หมู่ ท่ี 10)
24
สว่ นที่ 4 รูปแบบการพฒั นาชมุ ชนนวตั กรรม จากข้อมูลสรุปประเด็นการพัฒนาของตาบลคลองควาย อาเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี บางประเด็นสามารถดาเนินการได้แบบเร่งด่วนบางประเด็นมหาวิทยาลัยไม่สามารถดาเนินการได้ สามารถนาเสนอต่อให้หน่วยงานภาครัฐในภาคีเครือข่ายพิจารณาดาเนินตามกรอบหน่วยงานเท่านั้น ในสว่ นทีม่ หาวิทยาลยั ดาเนินต่อได้ จัดทาในรูปแบบการพัฒนาชุมชนนวัตกรรมท่ีมีทั้งหมด 8 ประเด็น ดังนี้ 1. สรา้ งผ้นู าการเปลี่ยนแปลง 2. พฒั นาจิตอาสา เพ่ิมการมีส่วนร่วมพฒั นา 3. ครัวเรือนพอเพียง 4. สบื สานวัฒนธรรมชุมชน 5. สขุ ภาพดี สวสั ดกิ ารทว่ั ถึง 6. เกษตรปลอดภยั 7. วสิ าหกิจชมุ ชนเข้มแข็ง 8. ส่งิ แวดลอ้ มดี ชุมชนสวยงาม การพัฒนาชุมชนตาบลคลองควาย สามารถดาเนินการตามรูปแบบการพัฒนาชุมชน นวัตกรรมโดยมุ่งเน้นการใช้วิสาหกิจชุมชนเข้มแข็งนาการพัฒนาและขยายผลพัฒนาต่อในประเด็นอื่น ดงั ภาพที่ 4 และ ภาพท่ี 5 ดังนี้
25 ภาพท่ี 3 รปู แบบการพฒั นาชุมชนนวตั กรรมตาบลคลองควาย การดาเนินงานโครงการยกระดับคุณภาพชีวิตชุมชนและท้องถิ่น เพื่อมุ่งเน้นการสร้างผู้นาใน การพัฒนาทเ่ี รยี กวา่ “นวัตกรชุมชน” สร้างการเปล่ียนแปลงผา่ นกจิ กรรมสร้างการเรียนรู้จติ อาสาเพื่อ ถา่ ยทอดประสบการณ์จากผู้สร้างการเปล่ียนแปลงชุมชนจากรุ่นสู่รุ่นเพื่อส่งเสริมคนรุน่ ใหม่มีส่วนร่วม พัฒนาชุมชน ส่งเสริมการพัฒนาชุมชนนวัตกรรมวิสาหกิจชุมชนเข้มแข็งตาบลคลองควายใน 3 มิติ ดงั ภาพที่ 4 ดังนี้ 1. มิติการพัฒนาเศรษฐกิจ ได้แก่ โครงการจัดตั้งตลาดชุมชนตาบลคลองควาย โดยการ จัดทาตลาดชุมชนที่ หมู่ท่ี 2 เพื่อเป็นแหล่งจาหน่ายผลิตภัณฑ์ของประชาชนหรือกลุ่มอาชีพในชุมชน ตาบลคลองควาย ซ่ึงกลุ่มเปา้ หมายเป็นร้านคา้ จาหน่ายผลิตภณั ฑ์ชมุ ชน จานวน 15 รา้ น ซึ่งชุมชนยังมี แนวคิดที่จะสร้างเครือข่ายในการบริหารจัดการให้ร้านค้าชุมชนเป็นศูนย์เศรษฐกิจของตาบลคลอง ควาย โดยการมีสว่ นร่วมของหนว่ ยงานภาครัฐ/เอกชน ผนู้ าชุมชน และกลุ่มตา่ งๆ ในตาบล 2. มิติการพัฒนาสังคม ได้แก่ กิจกรรมสร้างเครือข่ายในการบริหารจัดการให้ร้านค้าชุมชน เป็นศูนย์เศรษฐกิจของตาบลคลองควาย และกิจกรรมการอนุรักษ์และสืบทอดภูมิปัญญาท้องถ่ิน โดย ให้ปราชญช์ ุมชนที่มคี วามรู้ความชานาญในการประกอบอาชีพหรอื มีความเชี่ยวชาญในอาชีพทป่ี ระสบ ความสาเร็จและมีความม่ันคงในอาชีพ เป็นท่ียอมรับของคนในชุมชนดา้ นต่างๆ ถ่ายทอดความรูใ้ ห้กับ แกนนาเยาวชนตาบลคลองควาย 3. มิติการพัฒนาส่ิงแวดล้อม ได้แก่ กิจกรรมการพัฒนามาตรฐานตลาด อาหารปลอดภัย และอาหารสะอาด รสชาติอร่อย และกจิ กรรมชุมชนปลอดขยะ
26 นอกจากน้ี ยังมีมิติการพัฒนาด้านการเสริมศักยภาพกลุ่ม/ครัวเรือน ในกลุ่มวิสาหกิจชุมชน และกลุ่มอาชีพ ตาบลคลองควาย ได้แก่ 1) กลุ่มสัมมาชีพบ้านเจดีย์ทอง หมู่ที่ 1 กลุ่มเป้าหมาย จานวน 12 ครัวเรอื น จัดกิจกรรมการบริหารจดั การกลมุ่ โดยการจดั อบรมพัฒนาศักยภาพการบริหาร จัดการวิสาหกิจชุมชนให้เกิดความเข้มแข็งและย่ังยืน พร้อมท้ังศึกษาดูงานวิสาหกิจชุมชนเข้มแข็ง ท่ีเป็นต้นแบบและได้รับการยอมรับ การพัฒนาผลิตภัณฑ์หมี่กรอบชาวรามัญและขนมเปี๊ยะ โดยจัด กิจกรรมอบรมเร่ืองการพัฒนาบรรจุภัณฑ์และตราสินค้า เพ่ือเพิ่มความน่าสนใจของผลิตภัณฑ์ และเพิ่มช่องทางจัดจาหน่ายผลิตภัณฑ์ โดยจัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการการจาหน่ายผลิตภัณฑ์ ออนไลน์รูปแบบต่างๆ เช่น การสร้างเพจเฟสบุ๊ค ไลน์แอพพลิเคชั่น และการจาหน่ายผ่านร้านค้า ออนไลน์ Shopee, Lazada และ 2) กลุ่มวิสาหกิจชุมชนขนมไทย หมู่ที่ 6 กลุ่มเป้าหมาย จานวน 14 ครัวเรือน โดยจัดกิจกรรมการบริหารจัดการกลุ่ม โดยการจัดอบรมพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการ วิสาหกิจชุมชนให้เกิดความเข้มแข็งและย่ังยืน พร้อมทั้งศึกษาดูงานวิสาหกิจชุมชนเข้มแข็งที่เป็น ตน้ แบบและได้รบั การยอมรบั การพัฒนาผลิตภณั ฑ์ กาละแมและกระยาสารท โดยจดั กิจกรรมอบรม เร่ืองการพัฒนาบรรจุภัณฑ์และตราสินค้า เพื่อเพิ่มความน่าสนใจของผลิตภัณฑ์ และเพ่ิมช่องทางจัด จาหน่ายผลิตภัณฑ์ โดยจัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการการจาหน่ายผลิตภัณฑ์ออนไลน์รูปแบบต่างๆ เช่น การสร้างเพจเฟสบุ๊ค การจาหน่ายสินค้าผ่านร้านค้าออนไลน์ Shopee, Lazada และร้านค้า ออนไลนอ์ ่นื ๆ สาหรับมิติการสร้างผู้นาการเปลี่ยนแปลง ได้แก่ กิจกรรมการพัฒนาภาวะผู้นาตามแนวทาง เศรษฐกิจพอเพียงและการพัฒนาที่ยังยืน และกิจกรรมการพัฒนาศักยภาพผู้นาด้านวิสาหกิจชุมชน เข้มแข็ง
27 ภาพท่ี 4 รูปแบบกิจกรรมการพฒั นาชุมชนนวตั กรรมตาบลคลองควาย
Search
Read the Text Version
- 1 - 40
Pages: