รายงานโครงการยกระดบั คณุ ภาพชวี ติ ชุมชนและท้องถน่ิ (โครงการระยะที่ 1) ตาบลทพั เสด็จ อาเภอตาพระยา จงั หวดั สระแก้ว อาจารย์ ดร.วัชรินทร์ ยุทธวานิชกลุ และคณะ มหาวิทยาลยั ราชภฏั วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ สระแก้ว ประจาปงี บประมาณ 2563
รายงานโครงการยกระดบั คุณภาพชีวติ ชุมชนและทอ้ งถ่นิ (โครงการระยะที่ 1) ตาบลทัพเสด็จ อาเภอตาพระยา จงั หวัดสระแก้ว อาจารย์ ดร.วัชรนิ ทร์ ยุทธวานิชกลุ อาจารยจ์ ารุนนั ท์ ไชยนาม อาจารย์พรรณี พมิ พโ์ พธ์ิ อาจารยเ์ พญ็ ศรี ชติ บุตร มหาวิทยาลยั ราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ สระแกว้ ประจาปงี บประมาณ 2563
ก กิตติกรรมประกาศ รายงานโครงการยกระดับคุณภาพชีวิตชุมชนและท้องถ่ิน ส่ิงแวดล้อม และวัฒนธรรม ในกิจกรรม สร้างความร่วมมือกับหน่วยงานราชการท่ีเก่ียวข้อง ศึกษาชุมชนและจัดทาฐานข้อมูล ตาบล และจัดทาแผนปฏิบัติการเพ่ิมรายได้ยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน ตาบลทัพเสด็จ อาเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว (โครงการระยะที่ 1) คณะผู้ดาเนินโครงการขอขอบพระคุณผู้ว่า ราชการจังหวัดสระแก้ว พัฒนาชุมชนจงั หวัด และหน่วยงานราชการระดับจังหวดั สระแก้ว นายอาเภอ ตาพระยา สานักงานพัฒนาชมุ ชน สานักงานเกษตรอาเภอ สาธารณสขุ อาเภอ และหน่วยงานราชการ ระดับอาเภอตาพระยา คณะผู้บริหารมหาวิทยาลัย คณาจารย์ องค์การบริหารส่วนตาบลทัพเสด็จ กานันตาบลทัพเสด็จ ผู้นาชุมชนท่ีให้คาแนะนา ผู้สนับสนุนการดาเนินโครงการ และขอขอบคุณ ประชาชนตาบลทัพเสด็จที่ใหค้ วามรว่ มมือในการทากิจกรรม ทาใหโ้ ครงการสามารถจัดทาแผนปฏิบัติ การเพ่ิมรายไดย้ กระดับคณุ ภาพชวี ิตของคนในชุมชน ตาบลทพั เสดจ็ อาเภอตาพระยา จงั หวดั สระแก้ว (โครงการระยะท่ี 1) ได้สาเร็จลุล่วงไปดว้ ยดี อาจารย์ ดร.วชั รนิ ทร์ ยทุ ธวานิชกุล และคณะ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ สระแก้ว ปพี ุทธศักราช 2563
ข สารบัญ หนา้ กิตตกิ รรมประกาศ ก สารบญั ข สารบญั ตาราง ค สารบัญภาพ ง ส่วนท่ี 1 บทนา 1 1.1 หลักการและเหตผุ ล 1 1.2 วัตถปุ ระสงค์ของการสารวจลงพนื้ ทชี่ มุ ชนในระดบั ตาบล และกลมุ่ เป้าหมาย 2 1.3 ขอบเขตการสารวจลงพนื้ ทีช่ ุมชนในระดบั ตาบล และกลุ่มเป้าหมาย 2 1.4 วธิ ีการดาเนินการสารวจความตอ้ งการของชุมชนในระดบั ตาบล และกลุม่ เป้าหมาย 2 1.5 เครือ่ งมอื ทใี่ ช้ในการสารวจความตอ้ งการของชมุ ชนในระดบั ตาบล และกลมุ่ เปา้ หมาย 3 ส่วนท่ี 2 ผลการศึกษาชุมชนเบอ้ื งตน้ ในระดับตาบล 4 2.1 ประวัตติ าบลและหมู่บา้ น 4 2.2 ข้อมลู ด้านสภาพนิเวศวิทยา 6 2.3 ข้อมูลด้านสภาพพน้ื ฐานด้านเกษตรกรรม 7 2.4 ขอ้ มูลดา้ นประชากร 7 2.5 ข้อมูลด้านสาธารณปู โภคในระดบั ตาบล 10 2.6 ขอ้ มูลดา้ นสงั คม 12 2.7 ขอ้ มลู ด้านการศึกษา 13 2.8 ข้อมลู ดา้ นการสาธารณสขุ 14 2.9 ข้อมูลดา้ นศาสนา วฒั นธรรม ความเชือ่ และการสันทนาการ 15 2.10 ข้อมลู ด้านเศรษฐกิจ 16 2.11 ข้อมูลด้านการเมืองการปกครองท้องถ่นิ 18 ส่วนที่ 3 ผลการวเิ คราะหศ์ กั ยภาพ ปญั หา/ความต้องการและประเดน็ การพัฒนาเชิงพ้นื ที่ 20 3.1 ผลการวเิ คราะหศ์ กั ยภาพในการพัฒนาตาบล 20 3.2 แผนที่แสดงศักยภาพดา้ นต่างๆ ของแตล่ ะหมู่บ้านในตาบล 31 3.3 ปัญหาและความตอ้ งการในพื้นที่ตาบล 32 3.4 ประเดน็ การพัฒนาเชิงพื้นที่ตาบล 33 สว่ นที่ 4 รปู แบบการพัฒนาชุมชนนวตั กรรม 35
ค สารบญั ตาราง ตารางท่ี หนา้ 1 รายชอ่ื หมู่บา้ นและผู้ใหญ่บา้ นตาบลทพั เสด็จ อาเภอตาพระยา จงั หวดั สระแกว้ 5 2 รายงานสถติ ิจานวนประชากรของตาบลทัพเสด็จ จานวน 12 หมบู่ ้าน 8 3 จานวนประชากรแยกรายอายตุ าบลทัพเสด็จ 9 4 ขอ้ มูลศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในตาบลทพั เสดจ็ 13
ง สารบญั ภาพ ภาพท่ี หน้า 1 แผนท่ีตาบลทพั เสด็จ อาเภอตาพระยาจังหวัดสระแก้ว 4 2 โรคหรอื สาเหตกุ ารปว่ ยของประชาชน ตาบลทัพเสดจ็ อาเภอตาพระยา จงั หวัดสระแก้ว 15 3 ศักยภาพชมุ ชนตาบลทพั เสดจ็ 31 4 รปู แบบการพัฒนาชุมชนนวตั กรรมตาบลทัพเสดจ็ 35 5 รูปแบบกิจกรรมการพฒั นาชมุ ชนนวตั กรรมตาบลทพั เสด็จ 36
ส่วนท่ี 1 บทนา 1.1 หลกั การและเหตุผล ตามที่ภาค รัฐไ ด้เชื่ อมโยง เ ป้า หม ายก าร พัฒ น าที่ ยั่ง ยืน ของ ส หปร ะ ชา ชา ติเ ข้า กั บ แ ผ น ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ของประเทศไทย และยุทธศาสตร์เกษตรและสหกรณ์ 20 ปี ระหว่างปี 2560 ถงึ ปี 2579 โดยนอ้ มนาเอาหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงท่เี นน้ การพัฒนาแบบยั่งยนื โดยคานึงถึง สิง่ แวดล้อมท่ีอยู่ และใช้หลักการทรงงานของพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพล อดลุ ยเดชบรม นาถบพิตร มาเป็นแนวทางในการดาเนินนโยบาย เพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับรายได้ของ ประชาชน แก้ไขปัญหาเชิงโครงสร้างการผลิตภาคเกษตรเสริมสร้างความมั่นคงทางอาหาร พัฒนา โภชนาการและความปลอดภัยด้านอาหาร เพ่ือนาไปสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และย่ังยืน ของประชาชน และประเทศชาติ ซึง่ สมเด็จพระเจ้าอย่หู วั มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกรู รัชกาลที่ 10 ทรงมี พระปณิธานแน่วแน่ที่จะสานต่อโครงการในพระราชดาริของพระราชบิดา เพอ่ื ช่วยเหลือประชาชนให้ มีคุณภาพชีวติ ที่ดีขน้ึ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นมหาวิทยาลัยท่ีพระราชา ประสงค์ให้เป็นมหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฎ พ.ศ.2547 มาตรา 7 ที่ระบุให้มหาวิทยาลัยเป็นสถาบันอุดมศึกษา เพ่ือการพัฒนาท้องถิ่นเสริมพลัง ปัญญาของแผ่นดิน ซ่ึงสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์เพื่อยกคุณภาพมาตรฐานมหาวิทยาลัยราชภัฎ สู่คุณภาพเป็นเลิศ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพบัณฑิตสู่นักปฏิบัติอย่างมืออาชีพ การยกคุณภาพ มาตรฐานชีวิตของชุมชน ท้องถ่ิน และพื้นท่ีให้มีความเข้มแข็งและยั่งยืน พร้อมท้ังสอดคล้องกับ ยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ในประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนางานพันธกิจสัมพันธ์ และถ่ายทอด เผยแพร่โครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดาริ โดยมี กลยุทธ์ในการสร้างเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติจากภายในและภายนอก เพื่อร่วมกันศึกษาแก้ไขปัญหา ของชมุ ชนทอ้ งถิ่นและเสริมพลังให้ชุมชนท้องถ่ินสามารถดารงอยไู่ ดอ้ ยา่ งย่ังยืน ให้ความสาคญั ในการ พัฒนาชมุ ชน และท้องถ่ิน ดังนั้น มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ สระแก้ว จึงได้จัดทาโครงการ ยกระดับคุณภาพชีวิตชุมชนและท้องถ่ิน ในพ้ืนที่ตาบลทัพเสด็จ อาเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว โดยมีเป้าหมายเพื่อให้คนในชุมชนสามารถบริหารจัดการชีวิตตนเองได้อย่างสมดุลและมีความ เหมาะสม สามารถดารงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ร่วมกับการส่งเสริมภูมิปัญญา ท้องถ่ิน เพ่ิมคุณค่าและมูลค่า เสริมเศรษฐกิจฐานรากในชุมชนให้มีความ เข้มแข็ง ม่ันคง นาไปสู่การ พง่ึ พาตนเองและชว่ ยเหลือเก้ือกูลกันในชมุ ชนได้อยา่ งย่ังยนื สง่ ผลใหช้ มุ ชนหมบู่ ้านมีคณุ ภาพชวี ิตและ รายไดท้ ่ีเพ่มิ ขึ้น
2 1.2 วตั ถุประสงคข์ องการสารวจลงพ้ืนทีช่ ุมชนในระดับตาบล และกลุ่มเปา้ หมาย 1) เพื่อสร้างเครือข่ายพฒั นาและแก้ปัญหาชุมชนท้องถิ่น และหน่วยงานเอกชนในพ้ืนที่ทม่ี ี สว่ นเกีย่ วขอ้ งกบั การพฒั นาคุณภาพชีวิตชุมชนตาบลทพั เสดจ็ อาเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว 2) เพื่อสารวจบริบทชุมชน ครัวเรือนเป้าหมาย และจัดทาฐานข้อมูลตาบลทัพเสด็จ อาเภอตาพระยา จงั หวัดสระแกว้ 3) เพ่อื ยกระดับคุณภาพชวี ิตของชุมชน ตาบลทพั เสดจ็ อาเภอตาพระยา จงั หวดั สระแกว้ 4) เพ่ือจดั ทาแผนปฏบิ ตั ิการเพ่มิ รายได้ยกระดบั คุณภาพชีวิตของคนในชมุ ชนตาบลทพั เสด็จ อาเภอตาพระยา จังหวดั สระแก้ว 1.3 ขอบเขตการสารวจลงพื้นทชี่ มุ ชนในระดบั ตาบล และกลมุ่ เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ประชาชนในพื้นที่ชุมชนหมู่ท่ี 1-12 ตาบลทัพเสด็จ อาเภอตาพระยา จงั หวัดสระแก้ว ผู้เขา้ รว่ มโครงการ ประชาชนตาบลทพั เสด็จ จานวนไมน่ ้อยกว่า 3 หมูบ่ า้ น ระยะเวลาดาเนนิ โครงการ เดอื นพฤศจิกายน 2562 ถงึ เดือนมกราคม 2563 ข้อมูลการสารวจบริบท พื้นที่ตาบลทัพเสด็จ อาเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว จานวน 12 ด้าน คอื 1. ขอ้ มูลท่ัวไปของชมุ ชน 2. ขอ้ มูลดา้ นสภาพนิเวศวทิ ยา 3. ขอ้ มูลด้านสภาพพืน้ ฐานดา้ นเกษตรกรรม 4. ขอ้ มลู ด้านประชากร 5. ข้อมูลด้านสาธารณปู โภคของหมู่บ้าน 6. ข้อมลู ดา้ นสงั คม 7. ข้อมูลดา้ นการศกึ ษา 8. ข้อมลู ดา้ นสาธารณสขุ 9. ขอ้ มลู ดา้ นศาสนา วัฒนธรรม ความเชือ่ 10. ขอ้ มลู ด้านเศรษฐกิจ 11. ขอ้ มูลด้านการเมืองและการปกครอง 12. ขอ้ มูลดา้ นแผนงานการพฒั นาชุมชน 1.4 วิธีการดาเนินการสารวจความตอ้ งการของชมุ ชนในระดับตาบล และกลุ่มเปา้ หมาย การดาเนินโครงการคณะผู้ดาเนินการมุ่งเน้นการสร้างกรอบปัญหาและความต้องการของ ชุมชนระดับตาบล เพ่ือกาหนดแผนปฏิบัติการแบบมีส่วนรว่ มของชุมชนในการวางแนวทางลดปัญหา ความยากจนของประชาชนและยกระดับขีดความสามารถของเศรษฐกิจรากฐาน การจัดการ
3 สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม ตาบลทัพเสด็จ อาเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว วิธีการการดาเนิน แผนงานเน้นไปท่ีการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research) ซึ่งเป็น การบูรณาการการวิจัยแบบมีส่วนร่วม (Participatory Research) และการวิจัยเชิงคุณภาพ (Quantitative Research) เพื่อให้ได้มาซึ่งแผนพัฒนาชุมชนท่ีจะสามารถลดความเหลื่อมล้าในการ ยกระดับรายได้ของประชาชนนวัตกรรมและกระบวนการทางความคิดสร้างสรรค์ที่จะเพ่ิมมูลค่า ทรัพยากรที่ไม่ก่อประโยชน์ในชุมชนให้เกิดประโยชน์อันส่งผลให้ประชาชนมีรายได้ท่ีเพิ่มสูงข้ึน กระบวนการลดปัญหาความยากจนท่ีเหมาะกับการเข้าถงึ ของประชาชนทุกวัยไดอ้ ย่างท่วั ถึงและยั่งยืน และเผยแพรอ่ งค์ความรูส้ ูป่ ระชาชนกลมุ่ อื่นๆ ได้โดยมีขนั้ ตอนดงั ต่อไปนี้ 1. สร้างความร่วมมือกับหน่วยงานราชการท่ีเกี่ยวข้อง ดาเนินการจัดทาปฏิทินการลง พนื้ ทศี่ กึ ษาข้อมูลและยกระดับพฒั นาคุณภาพชีวติ ชุมชนและท้องถ่ินเข้าพบและแสวงหาความร่วมมือ จากหนว่ ยงานภาครัฐและขอ้ ปรึกษาหารือทศิ ทางการพฒั นาคุณภาพชีวิตของประชาชนตาบลทพั เสด็จ อาเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว ได้แก่ นายอาเภอ ส่วนงานปกครองอาเภอ พัฒนาการอาเภอ เกษตรอาเภอ ณ ท่ีว่าการอาเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว กานัน และองค์การบรหิ ารส่วนตาบลทพั เสด็จ เพอ่ื ขอปรึกษาหารอื เก่ยี วกับทิศทางการดาเนนิ โครงการ และขอฐานข้อมูลตาบลเบอื้ งตน้ 2. ศึกษาชุมชนเป้าหมายและจัดทาฐานข้อมูลตาบล ดาเนินการประมวลผลรวบรวม ข้อมูลจากเอกสารฐานข้อมูลท่ีเก่ียวข้องของตาบลทัพเสด็จ โดยใช้ข้อมูลเอกสารจากฐานข้อมูลที่ เก่ียวข้องของตาบลทัพเสด็จ เช่นแผนพัฒนาตาบล 3-5 ปี ขององค์การบริหารส่วนตาบล และเกณฑ์ ความจาเป็นข้ันพื้นฐาน (จปฐ.) ท่ีตกเกณฑ์ของพัฒนาการจังหวัด จัดประชุมผู้นาชุมชนทั้งตาบลทัพ เสด็จ ได้แก่ ผู้ใหญ่บ้านและผู้นาชุมชนรวมตัวแทนหมู่ละ 3 คน เพ่ือวางกรอบในการพัฒนาร่วมกัน รวมทั้งคัดเลือกเป้าหมายในการพัฒนาศึกษาพื้นที่ เย่ียมชมรวบรวมข้อมูลภาคสนามจากพ้ืนท่ีของ ตาบลร่วมกับสาธารณสุขอาเภอ 1 ครั้ง ในการเก็บข้อมูล OP2 รวมท้ังศึกษาบริบทชุมชนในภาพรวม ศกึ ษา ประเมนิ ศกั ยภาพ ปัญหา ทุนของชมุ ชน และจัดทาฐานขอ้ มูลตาบล (OP2) 3. จัดทาแผนปฏิบตั กิ ารเพ่ิมรายได้ยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชมุ ชน 1.5 เครอ่ื งมอื ท่ีใช้การสารวจความตอ้ งการของชุมชนในระดับตาบล และกลมุ่ เปา้ หมาย การดาเนินโครงการ เก็บข้อมูลพื้นฐานชุมชนจากหน่วยงานราชการระดับจังหวัด อาเภอ และตาบล ซึ่งเป็นข้อมูลทุติยภูมิ นาข้อมูลที่ได้วางแผนลงพ้ืนที่เพื่อเก็บข้อมูลปฐมภูมิ โดยใช้แบบ สัมภาษณเ์ จาะลกึ แบบมโี ครงสร้าง (OP3-2) แบบสอบถาม (OP3-1) การสนทนากลมุ่ การสังเกต แบบ สารวจข้อมลู แผนผังชุมชน เป็นตน้
4 ส่วนท่ี 2 ผลการศึกษาชุมชนเบ้ืองตน้ ในระดบั ตาบล 2.1 ข้อมลู ทัว่ ไปของชมุ ชนในระดบั ตาบล 2.1.1 ประวตั ิความเปน็ มาของตาบล ตาบลทัพเสด็จ เป็นพื้นท่ีที่มีประวัติศาสตร์ผ่านมาหลายยุคหลายสมัยแต่โบราณกาลซ่ึงใน สมัยกรุงศรีอยุธยา ตาบลทัพเสด็จ ได้เป็นเส้นทางเดินทัพผ่านของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เมื่อสมัยที่ได้เดินทัพไปตีกัมพูชาหรือเขมร จึงได้มาต้ังค่ายพักแรมท่ีข้างหนองน้าใหญ่ในพ้ืนที่แห่งนี้ ต่อมาสถานท่ีแห่งน้ีจึงได้ช่ือว่า “ตาบลทัพเสด็จ” ห่างจากอาเภอตาพระยาประมาณ 4 กิโลเมตร ห่างจากตัวจังหวัดสระแก้วประมาณ 105 กิโลเมตรข้อมูลท่ัวไปของชุมชน ตาบลทัพเสด็จ อาเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว ตั้งอยู่ในเขตภาคตะวันออกของประเทศไทย มีเน้ือท่ีประมาณ 50,000 ไร่ หรอื 80 ตารางกิโลเมตร แบ่งเขตการปกครองเปน็ 12 หมบู่ ้าน และมีอาณาเขตติดต่อกับ ตา่ งประเทศ เขตตา่ งอาเภอ ดงั นี้ ทิศเหนอื มีอาณาเขตตดิ ตอ่ กับพน้ื ท่ีขององคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบลทัพไทย ทิศใต้ มีอาณาเขตตดิ ต่อกับพน้ื ทีข่ ององค์การบรหิ ารสว่ นตาบลตาพระยา ทิศตะวันออก มีอาณาเขตตดิ ตอ่ กับจงั หวัดบนั เตียเมียนเจยของประเทศกัมพูชา ทิศตะวนั ตก มพี น้ื ทต่ี ดิ ต่อกับพ้นื ทขี่ ององคก์ ารบริหารส่วนตาบลทัพราช ภาพท1ี่ แผนท่ีตาบลทัพเสดจ็ อาเภอตาพระยาจงั หวัดสระแก้ว
5 ตารางที่ 1 รายชอ่ื หมู่บา้ นและผูใ้ หญบ่ ้านตาบลทพั เสดจ็ อาเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว หมู่ที่ ชื่อหม่บู ้าน ผูใ้ หญบ่ า้ น 1 บา้ นโคกเพรก็ นายพลาย ม่นั ปืน 2 บา้ นแสง์ นางสายหยดุ อินทร์ประสงค์ 3 บ้านเจียงดา นายสบื พงษ์ คาสขุ สวัสด์ิ 4 บา้ นโคกแจง นางอาไพ แสนกลา้ 5 บา้ นโคกทหาร นายยอม เสนอภาค 6 บา้ นมะกอก นายซอ่ ม พักน้อย 7 บา้ นโคกสะอาด นายสมบัติ ดแี ย้ม 8 บ้านน้อยพัฒนา นายสมชาย ลาไย 9 บา้ นรม่ ไทร นายสาเภา พมิ พส์ วุ รรณ 10 บา้ นคลองแผง นางผอ่ งศรี ระพนั ธ์ 11 บ้านคลองน้าใส นายเพยี ร บญุ มว่ ง 12 บ้านทัพเสรี นายรอง แสนกลา้ 2.1.2 เหตุผลในการเลือกตาบล และกลมุ่ เป้าหมาย การเรม่ิ ต้น ลกั ษณะการต้ังถนิ่ ฐานและ การขยายตัวของตาบลและหมู่บ้าน ตาบลทัพเสด็จ เป็นพื้นท่ีเป้าหมายท่ีในการพัฒนา เนื่องจากเป็นตาบลในจังหวัดสระแก้ว โดยมหาวิทยาลัยเริ่มเข้ามาร่วมในการพัฒนาต้ังแต่ ปี 2562 พบว่า ตาบลทัพเสด็จ อาเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้วเป็นตาบลที่อยู่ห่างไกลและเป็นพื้นที่ติดกับชายแดนประเทศกัมพูชา สภาพทาง เศรษฐกิจยังไม่ดีเท่าท่ีควร ประสบปัญหาภัยแล้งต่อเนื่อง ทาให้ขาดทุนจากการประกอบอาชีพ เกษตรกรรม เกิดเป็นหน้ีสินภาคครัวเรือนเพิ่มข้ึน และมีรายได้ไม่เพียงพอต่อการใช้จ่ายในครัวเรือน และถงึ แมว้ ่าจะมีหนว่ ยงานของภาครัฐเข้ามาใหก้ ารสนับสนุนเรื่องของอาชีพ แตอ่ ยา่ งไรก็ตามการจัด สินค้าก็ยังไม่ได้รับการตอบรับมากพอ และไม่มีตลาดในการรองรับการจาหน่ายของสินค้า ทาให้เกิด การตกค้างของสินค้า และการหยุดชะงักของทุนในการหมุนเวียนการผลิต และสืบเนื่องจาก มหาวิทยาลัยเร่มิ เขา้ มามีสว่ นรว่ มในการพฒั นาโครงการการเลย้ี งไหมอีร่ี ในปีพ.ศ.2562 ผลการดาเนิน โครงการ พบว่า สมาชิกในชุมชนสนใจที่จะเข้าร่วมโครงการฯ จานวน 20 คน จาก 50 ครัวเรือน เนื่องจากผู้นาท้องที่และสมาชิกในชุมชน เห็นว่าภายในชุมชนส่วนใหญ่มีเพียงผู้สูงอายุท่ีอาศัยอยู่ใน พ้ืนที่ หากจะดาเนินการจัดทาโครงการน่าจะเป็นโครงการท่ีเหมาะสมแก่ผู้สูงอายุ มีต้นทุนของปัจจัย การผลิตที่ต่า และให้ผลผลิตมูลค่าท่ีสูง มีตลาดรองรับทั้งภายในและภายนอกประเทศ เป็นท่ีต้องการ ของอุตสาหกรรมทอผา้ มพี อ่ คา้ คนกลางรบั ซื้อผลผลิต ประกอบกับทนุ เดมิ ที่มคี วามสามารถในการทอ ผา้ จากการสบื ทอดบรรพบรุ ษุ สามารถเลีย้ งประกอบอาชีพได้ทุกครัวเรือนไปพรอ้ ม ๆ กับการทาอาชีพ
6 หลักควบคู่กันไปไดแ้ ละยงั สามารถสร้างรายได้เทียบเท่ากบั อาชีพหลักได้ และข้ันตอนดาเนินการงา่ ย รวมถึงสมาชิกในชุมชนประกอบอาชีพปลูกมันสาปะหลังเป็นส่วนใหญ่ สามารถนาใบมันสาปะหลงั มา เปน็ อาหารให้กับไหมอีร่ที าใหเ้ กิดประโยชน์ได้อีกช่องทางหน่งึ ดังน้ันโครงการดงั กลา่ วจงึ มคี วามประสงค์ที่จะผลักดันใหเ้ กิดเป็นกลมุ่ อาชพี อย่างเปน็ รปู ธรรม ต่อไป เพ่ือยกระดับคุณภาพชีวิตในการเพ่ิมรายได้ให้คนในชุมชนสามารถพ่ึงพาตนเองได้ และเป็น แบบอยา่ งสู่ครวั เรอื นอ่ืน ๆ ในชุมชน 2.1.3 การสบื เนือ่ งและการเปลย่ี นแปลงเหตกุ ารณ์สาคัญท่เี กิดข้นึ ทงั้ 4 มิติ ไดแ้ ก่ มิตดิ ้าน เศรษฐกิจ มิตดิ ้านสุขภาพ มติ ดิ ้านสง่ิ แวดล้อม และมติ ดิ า้ นสังคม ตาบลทัพเสด็จ อาเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้วเป็นพื้นที่ตาบลที่อยู่ห่างไกล และติดกับ ชายแดนประเทศกัมพูชา สภาพทางเศรษฐกิจยังไม่ดีเท่าที่ควร ประสบปัญหาภัยแล้งต่อเนื่อง ทาให้ ขาดทุนจากการประกอบอาชีพเกษตรกรรม เกิดเป็นหน้ีสินภาคครัวเรือนเพิ่มขึ้น และมีรายได้ไม่ เพียงพอต่อการใช้จ่ายในครัวเรือนทาให้ชุมชนมรี ายได้ต่า คุณภาพชีวิตของคนในชมุ ชนไม่ดีเท่าท่คี วร หลังจากปี 2562 มีโครงการของหนว่ ยงานของมหาวิทยาลยั เขา้ มาช่วยเหลืออยา่ งต่อเน่ือง ทาใหช้ ุมชน มีแนวโน้มรายได้เพ่ิมขน้ึ เกดิ การสร้างอาชีพและเกิดการรวมกลมุ่ โดยการบูรณาการการทางานร่วมท้ัง ภาครัฐและเอกชน 2.2 ข้อมลู ด้านสภาพนเิ วศวทิ ยา 2.2.1 สภาพภมู ิประเทศและภูมิอากาศ พ้ืนที่โดยส่วนใหญ่ของตาบลทัพเสด็จ มีสภาพเป็นที่ราบลาดเอียงไปทางทิศตะวันออกสู่ ประเทศกมั พูชา ซงึ่ ปริมาณนา้ จากธรรมชาติท่ีมีอยู่จะไหลลงสู่ประเทศกมั พูชาตลอดจนไม่สามารถกัก เก็บน้าไว้ได้ ประกอบกับสภาพดินเป็นดินดาน ลักษณะดินไม่อุ้มน้าทาให้มีปัญหาเร่ืองภัยแล้งอย่าง ตอ่ เน่อื ง ภูมิอากาศ เป็นแบบร้อนในช่วงฤดูร้อน มีความช้ืนในอากาศน้อย และมีปัญหาภัยแล้ง ต่อเนอื่ งปรมิ าณน้าฝนน้อยมี 3 ฤดู คือ ฤดรู ้อน เรม่ิ ตงั้ แต่กลางเดอื นมกราคม – กลางเดอื นพฤษภาคม ฤดูฝน เรม่ิ ตง้ั แต่กลางเดือนพฤษภาคม – กลางเดือนตลุ าคม ฤดูหนาว เร่มิ ตั้งแต่กลางเดอื นตุลาคม – กลางเดอื นธนั วาคม อุณหภมู ิ เนอื่ งจากจงั หวัดสระแก้วลึกเข้าไปในแผ่นดินจงึ มอี ากาศรอ้ นมากกว่าจงั หวัดอื่นท่ี อยู่ตามชายฝงั่ ทะเล ในฤดูรอ้ น และมอี ากาศเยน็ กว่าจังหวัดที่อย่ตู ิดชายฝงั่ ในฤดูหนาว โดยมอี ุณหภูมิ เฉล่ียตลอดทั้งปี 27.9 องศา เซลเซียส อุณหภูมิสูงสุดเฉล่ีย 33.6 องศาเซลเซียส อุณหภูมิต่าสุดเฉล่ีย 23.6 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงที่สุด อยู่ในเดือนเมษายน โดยอุณหภูมิสูงที่สุดที่เคยตรวจวัดได้คือ 42.2 องศาเซลเซียส และมีอุณหภมู ิต่าท่ีสดุ ทเี่ คยตรวจวัดได้ 7.6 องศาเซลเซียส
7 ปริมาณนา้ ฝน อาเภอตาพระยามปี รมิ าณฝนรวมต่ากวา่ 1,200 มลิ ลิเมตร เนอ่ื งจากอิทธพิ ล ของแนวเทือกเขาจันทบุรีซึ่งอยู่ทางตอนล่างของจังหวัด ทาให้พ้ืนท่ีทางตะวันออกของเทือกเขาเป็น พื้นท่ีที่มีฝนน้อยกว่าทางตอนบนของจังหวัด โดยอาเภอตาพระยามีแนวเทือกเขาท่ีต่อเน่ืองมาจาก เทือกเขาสันก้าแพงก้ันอยู่ซึ่งทอดเป็นแนวยาวจากทิศตะวนั ตกเฉียงเหนือไปยังทิศ ตะวันออกเฉียงใต้ ทาใหพ้ ้ืนทบ่ี รเิ วณอาเภอตาพระยาเปน็ พนื้ ท่ีอับฝนจงึ มีฝนน้อยกวา่ บรเิ วณอ่ืน ๆ โดยมี ปรมิ าณฝนรวม ตลอดปีเพียง 800 มิลลเิ มตร 2.3 ข้อมูลด้านสภาพพืน้ ฐานด้านเกษตรกรรม ข้อมูลด้านสภาพพื้นฐานด้านเกษตรกรรมของตาบลทัพเสด็จ เน่ืองจากตาบลทัพเสด็จ เป็น พนื้ ที่อับฝนดังนั้นสภาพโดยท่ัวไปในดา้ เกษตรกรรมจึงมคี วามเหมาะสมนอ้ ยสรุปได้ดังนี้ ดนิ มีสภาพเป็นดนิ ดา้ นท่ีไม่อมุ้ นา้ ไมเ่ หมาะแก่การเกษตร น้า สภาพคลองต้นื เขินทาใหม้ ีปญั หาการขาดแคลนน้า ถงึ จะมีการขดุ สระน้ามาก แต่นา น้าไปใช้ประโยชนไ์ ด้นอ้ ย เน่อื งจากนา้ ขนุ่ ไม่ตกตะกอน ป่าไม้ ไม่มีสภาพป่าไม้อยู่ในพื้นท่ีเนอ่ื งจากการบุกรุกของประชาชน แต่มีพื้นที่สาธารณะท่ี จะสามารถฟน้ื ฟกู ารปลูกป่าได้ ใ น พ้ื น ที่ ต า บ ล ทั พ เ ส ด็ จ มี จ า น ว น ป ร ะ ช า ก ร ใ น เ ข ต ป ร ะ ก อ บ อ า ชี พ เ ก ษ ต ร ก ร ร ม จานวน 1,725 ครวั เรอื น และส่วนใหญเ่ ป็นพนื้ ทเ่ี กษตรกรรมแบง่ เป็น ทานา 36,906 ไร่ ปลูกมนั สาปะหลงั 4,703 ไร่ ปลกู พืชอ่นื 500 ไร่ เล้ียงสตั ว์ 120 ไร่ ท่ีอยู่อาศยั 9,158 ไร่ 2.4 ข้อมลู ดา้ นประชากร 2.4.1 จานวนหลงั คาเรอื น รายงานสถติ ิจานวนประชากรระดบั ตาบล ของตาบลทพั เสด็จทั้งหมดในเขตพ้นื ท่ีรับผิดชอบ มีจานวนหลังคาเรือน 2,683 ครัวเรือน ความหนาแน่นของประชากร 110คน/ตร.กม. ซ่ึงมีจานวน ประชากรยอ้ ยหลงั 5 ปี ดงั นี้ พ.ศ.2558 ประชากรชาย 4,183 คน หญิง 4,266 คน รวม 8,449 คน จานวน ครวั เรือน 2,553 ครัวเรอื น พ.ศ.2559 ประชากรชาย 4,348 คน หญิง 4,348 คน รวม 8,595 คน จานวน ครวั เรือน 2,575 ครวั เรือน
8 พ.ศ.2560 ประชากรชาย 4,183 คน หญิง 4,266 คน รวม 8,449 คน จานวน พ.ศ.2561 ครัวเรอื น 2,553 ครวั เรือน พ.ศ.2562 ประชากรชาย 4,348 คน หญิง 4,348 คน รวม 8,595 คน จานวนครวั เรือน 2,575 ครัวเรอื น ประชากรชาย 4,363 คน หญิง 4,443 คน รวม 8,806 คน จานวน ครัวเรอื น 2,704 ครัวเรอื น ตารางท่ี 2 รายงานสถิติจานวนประชากรของตาบลทัพเสดจ็ จานวน 12 หม่บู ้าน พ้นื ทอ่ี ยู่ หมูท่ ี่ ชอ่ื บ้าน ครัวเรือน ชาย หญงิ ประชากร อาศยั (ไร)่ 1 โคกเพร็ก 313 563 544 1,107 510 335 2 แสง์ 226 310 324 634 340 370 3 เจยี งดา 180 264 263 526 400 560 4 โคกแจง 176 198 198 396 280 290 5 โคกทหาร 237 363 408 771 310 230 6 มะกอก 355 497 512 1,009 320 450 7 โคกสะอาด 151 291 285 576 4,395 8 น้อยพฒั นา 214 397 399 796 9 ร่มไทร 224 487 463 950 10 คลองแผง 181 251 249 500 11 คลองนา้ ใส 187 332 353 685 12 ทพั เสรี 270 411 445 856 รวม 2,704 4,363 4,443 8,806 หมายเหตุ ข้อมูล ณ เดือนพฤษภาคม 2562 2.4.2 การเปลย่ี นแปลงประชากร และช่วงอายุ จานวนประชากรแยกตามชว่ งอายุ (ปี) (เฉพาะผูม้ ีสญั ชาติไทย และมีช่อื อยใู่ นทะเบียนบ้าน) ตาบลทัพ เสด็จ อาเภอตาพระยา จงั หวัดสระแก้ว ข้อมูล ณ เดือนพฤษภาคม 2562
9 ตารางท่ี 3 จานวนประชากรแยกรายอายตุ าบลทัพเสด็จ อายุ ชาย หญงิ รวม อายุ ชาย หญงิ รวม นอ้ ยกว่า 1 ปี 46 47 93 1 ปี 63 54 117 2 ปี 63 64 127 3 ปี 69 50 119 4 ปี 54 63 117 5 ปี 59 68 127 6 ปี 65 76 141 7 ปี 84 49 113 8 ปี 65 66 131 9 ปี 65 46 111 10 ปี 63 66 129 11 ปี 57 59 116 12 ปี 61 67 128 13 ปี 49 67 116 14 ปี 73 59 132 15 ปี 62 58 120 16 ปี 73 68 141 17 ปี 49 81 130 18 ปี 63 70 133 19 ปี 52 78 130 20 ปี 61 68 129 21 ปี 70 82 152 22 ปี 81 75 156 23 ปี 82 89 171 24 ปี 73 69 142 25 ปี 86 74 160 26 ปี 69 73 142 27 ปี 66 80 146 28 ปี 60 74 134 29 ปี 66 48 114 30 ปี 65 54 119 31 ปี 52 58 110 32 ปี 64 53 117 33 ปี 69 59 128 34 ปี 78 66 144 35 ปี 70 55 125 36 ปี 62 52 114 37 ปี 61 61 122 38 ปี 76 59 135 39 ปี 71 60 131 40 ปี 73 48 121 41 ปี 67 66 133 42 ปี 61 61 122 43 ปี 56 63 119 44 ปี 76 78 154 45 ปี 77 54 131 46 ปี 75 76 151 47 ปี 56 79 135 48 ปี 72 72 144 49 ปี 66 67 133 50 ปี 66 68 134 51 ปี 85 75 160 52 ปี 67 59 126 53 ปี 62 76 138 54 ปี 52 66 118 55 ปี 58 50 108
10 อายุ ชาย หญงิ รวม อายุ ชาย หญงิ รวม 57 ปี 54 50 104 56 ปี 45 50 95 59 ปี 35 46 81 61 ปี 52 54 106 58 ปี 38 55 93 63 ปี 35 25 60 65 ปี 25 25 50 60 ปี 38 50 88 67 ปี 29 31 60 69 ปี 22 21 43 62 ปี 41 34 75 71 ปี 9 31 40 73 ปี 9 15 24 64 ปี 30 29 59 75 ปี 9 16 25 77 ปี 16 10 26 66 ปี 23 40 63 79 ปี 5 12 17 81 ปี 3 6 9 68 ปี 21 25 46 83 ปี 5 8 13 85 ปี 4 5 9 70 ปี 16 14 30 87 ปี 1 3 4 89 ปี 0 2 2 72 ปี 17 16 33 91 ปี 0 0 0 93 ปี 1 1 2 74 ปี 10 16 26 95 ปี 0 0 0 97 ปี 0 0 0 76 ปี 10 15 25 99 ปี 0 0 0 มากกวา่ 100 78 ปี 8 4 12 ปี 0 1 1 80 ปี 6 8 14 82 ปี 2 6 8 84 ปี 4 2 6 86 ปี 1 7 8 88 ปี 3 1 4 90 ปี 0 1 1 92 ปี 1 3 4 94 ปี 0 0 0 96 ปี 0 1 1 98 ปี 0 0 0 100 ปี 0 0 0 หมายเหตุ ขอ้ มูล ณ เดอื นพฤษภาคม 2562 2.5 ข้อมูลดา้ นสาธารณปู โภคในระดบั ตาบล 2.5.1 การคมนาคม/ขนสง่ ถนนลาดยาง จานวน 4 สาย ได้แก่ ถนนลาดยาง บ้านโคกเพร็ก– บา้ นโคกสะอาด ความยาว 4,225 เมตร
11 ถนนลาดยาง บ้านเจียงดา – บ้านโคกแจง ความยาว 4,674 เมตร ถนนลาดยาง บา้ นตาพระยา – บา้ นคลองแผง ความยาว 1,855 เมตร ถนนลาดยาง โคกทหาร – รม่ ไทร ความยาว 4,440 เมตร ถนนคอนกรตี เสรมิ เหลก็ ภายในหมู่บ้าน ถนนคอนกรตี เสรมิ บ้านโคกเพรก็ ถนนคอนกรตี เสริมบา้ นแสง์ ถนนคอนกรีตเสริมบ้านเจียงดา ถนนคอนกรตี เสริมบา้ นเโคกแจง ถนนคอนกรตี เสริมบา้ นโคกทหาร ถนนคอนกรีตเสรมิ บ้านมะกอก ถนนคอนกรีตเสรมิ บา้ นโคกสะอาด ถนนคอนกรตี เสริมบา้ นน้อยพฒั นา ถนนลูกรงั ภายในหมู่บ้าน – รอบหมู่บ้าน ถนนลูกรงั บ้านรม่ ไทร ถนนลูกรังบา้ นคลองน้าใส ถนนลกู รงั บ้านคลองแผง ถนนลูกรงั บ้านทัพเสรี 2.5.2 การไฟฟ้า จานวนครัวเรือนที่ใช้ไฟฟ้าสารวจจริง 1,766 ครัวเรือน (ครัวเรือนสารวจจริง 1,843 ครัวเรือน) จานวนครัวเรือนยังไม่มีไฟฟา้ ใช้ 77 ครัวเรือน พ้ืนที่ที่ได้รับบริการไฟฟ้า ร้อยละ 96 ของ พ้นื ที่ทง้ั หมด ไฟฟ้าสาธารณะ (ไฟส่องสวา่ ง) จานวน 120 จดุ ครอบคลมุ 12 หม่บู า้ น 2.5.3 การประปา การประปาอย่ใู นความรบั ผิดชอบของการประปาหมูบ่ ้าน ซึ่งในแต่ละหมบู่ ้านมีการจดั ตั้งหอ ประปาสง่ น้าครบทั้ง 12 หม่บู า้ น 2.5.4 การเขา้ ถึงอินเทอร์เนต็ และการใช้ประโยชน์จากอนิ เทอรเ์ นต็ ชมุ ชนตาบลทัพเสจ็ สามารถเขา้ ถึงอินเทอร์เนต็ ได้จาก โทรศัพพ์เคล่ือนท่ี ระบบอินเทอร์เน็ต เชา่ ต่างๆ และอนิ เทอร์เน็ตประชารัฐ เปน็ ต้น 2.5.5 การไปรษณยี ์ โทรเลข หรอื การสื่อสารหรือการขนสง่ และวัสดุ ครภุ ัณฑ์ การไปรษณีย์โทรเลข หรือการสื่อสารหรือการขนส่ง และวัสดุ ครุภัณฑ์อยู่ในความ รบั ผิดชอบของสานกั งานไปรษณยี ์สาขาอาเภอตาพระยาทัง้ หมดทกุ พนื้ ที่
12 2.6 ขอ้ มูลด้านสงั คม 2.6.1 ลักษณะของครอบครัว ครอบครัวเดย่ี ว ครอบครัวขยาย ลักษณะของครอบครัวของชุมชนตาบลทัพเป็นลักษณะท้ังครอบครัวเดี่ยว และอยู่รวมเปน็ ครอบครวั ใหญใ่ นบา้ นหลังเดยี ว 2.6.2 การรวมกลุ่มทางสังคมในเชงิ พัฒนาความเข้มแขง็ ของชุมชน ชุมชนตาบลทัพเสด็จ มีการรวมกลุ่มของคนในชุมชนเพ่ือแสดงถึงความเข้มแข็งของชุมชน ได้แก่ กลุ่มทอผ้า OTOP (หมู่ท่ี 1, 2) กลุ่มไมก้ วาดดอกหญ้า (หม่ทู ี่ 1, 2, 4, 5, 8) กลมุ่ จกั รสาน (หมู่ที่ 1, 2, 4, 8) กลมุ่ เกษตรอนิ ทรีย์ (หมทู่ ี่ 1) กลมุ่ เล้ียงไกไ่ ข่ (หมทู่ ี่ 1, 5) กลุ่มทอเสอ่ื (หม่ทู ี่ 2) กล่มุ ล้อเกวยี นปกี ไม้ เลากระทู้ (หมู่ท่ี 10) กลมุ่ วสิ าหกจิ ชมุ ชนเล้ยี งสกุ ร (หมทู่ ี่ 9, 10, 11) กล่มุ เลี้ยงโคเน้ือ (หมูท่ ี่ 11) กลุม่ เลย้ี งแพะเนอ้ื (หมทู่ ี่ 12) นอกจากน้ียังมีท่ีทาการของชุมชน และมีลานกิจกรรมท่ีใช้ในการทากิจกรรมการประชุม การประชาคม เช่น งานปีใหม่ งานวนั เดก็ งานสงกรานตก์ ิจกรรมวนั พอ่ กิจกรรมวนั แม่และกิจกรรมท่ี สาคัญๆ 2.6.3 ปราชญช์ ุมชน และภูมิปญั ญาพน้ื บ้านทสี่ าคญั ปราชญช์ มุ ชน - ผูเ้ ช่ยี วชาญดา้ นดนตรีมโหรี นายทรพั ย์ ไวแสง (หมู่ที่ 1) - ผ้เู ชย่ี วชาญด้านทาบายศรี นางคา วงศอ์ ดุ ม (หมทู่ ่ี 1) - ชา่ งฝีมือจกั รสาน นางล้วิ เพ็ชรประเสรฐิ (หมู่ท่ี 2) นางเรียบ แสนกล้า (หมู่ท่ี 4) นายลัน พทุ ธจิต (หมู่ที่ 8) - ช่างปนู ชา่ งไม้ นายมะลิ ศรมี าพทุ ธ (หมู่ที่ 4) - ช่างฝีมือสานไม้กวาด นางสุชิน พุเพิ่น (หมทู่ ่ี 8) - ชา่ งฝมี อื ทาลอ้ เกวียนปกี ไมเ้ ลากระทู้ นางผ่องศรี ราพันธ์ (หมทู่ ่ี 10)
13 ภมู ปิ ัญญาพืนบา้ นท่ีส้าคญั - นายยม วงศม์ ล (หมู่ท่ี 1) - ความเชอ่ื พธิ ีกรรมทางศาสนา - นายเตยี ว เพชรประเสรฐิ (หมู่ท่ี 2) - นายพวง วีบญุ ช่วย (หม่ทู ี่ 2) - หมอพ้นื บา้ น หมอขวัญ หมอเป่า - นายเรือง เชือ้ สขุ (หม่ทู ี่ 2, 6) - หมอพ้นื บา้ นหมอยาสมุนไพร - นายนภดล สวนประโตน (หมทู่ ่ี 7) - นายแดง มนั่ จิต (หมู่ที่ 12) - หมอทาเสน่ห์ - สมศักดิ์ วงศ์อดุ ม (หมทู่ ี่ 9) 2.6.4 ภาษาท้องถนิ่ ภาษาถิ่นในพื้นทเี่ ปน็ ภาษาเขมร เด็กรุ่นใหม่จะใช้ภาษาไทยภาคกลางเปน็ หลัก 2.7 ข้อมูลดา้ นการศึกษา ตาบลทัพเสดจ็ มีสถานศึกษาและการเรียนรู้ ดงั นี้ 1. ศูนยเ์ ทคโนโลยีและระบบสารสนเทศ (ศูนย์การเรียนรู้ชุมขน) จานวน 1 แห่ง 2. ศูนยพ์ ฒั นาเดก็ เล็ก สงั กัดองคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบลทัพเสดจ็ จานวน 5 แหง่ ตารางที่ 4 ขอ้ มูลศูนยพ์ ฒั นาเดก็ เลก็ ในตาบลทพั เสด็จ ท่ี ชอื่ ศนู ย์พฒั นาเดก็ เลก็ จานวนเด็ก ครผู ู้ชว่ ย (คน) ผู้ชว่ ยดแู ลเดก็ 1 คน 1 คน 1 ศูนย์พฒั นาเดก็ เลก็ บ้านโคกเพร็ก 42 คน 1 คน 1 คน 1 คน 1 คน 2 ศนู ย์พัฒนาเดก็ เลก็ ศูนย์แสง์ 37 คน 1 คน 1 คน - 2 คน 3 ศนู ย์พฒั นาเดก็ เล็กบา้ นรม่ ไทร 33 คน 4 ศนู ยพ์ ฒั นาเด็กเลก็ บา้ นโคกแจง 36 คน 5 ศนู ยพ์ ัฒนาเดก็ เลก็ บา้ นมะกอก 27 คน โรงเรยี นสงั กัดสานกั งานการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน จานวน 5 โรงเรยี น 1. โรงเรียนบ้านโคกเพร็ก เนื้อที่ท้ังหมด 25 ไร่ มีจานวนนักเรียนโรงเรียนบ้านโคกเพร็ก รวมทง้ั หมด 203 คน ข้อมูลจานวนครูโรงเรียนบ้านโคกเพร็ก ทั้งหมด 19 คน แยกเป็นจานวนครูชาย 4 คน จานวนครูหญิง 15 คน และมีนายสาเริง ขวดแก้ว ตาแหน่งผู้อานวยการโรงเรียนโคกเพร็ก (ขอ้ มูล ปี 2559) 2. โรงเรียนบา้ นแสง์ เนื้อที่ทั้งหมด 37 ไร่ 2 งาน 78 ตารางวา มีจานวนนักเรียนโรงเรียน บ้านแสง์ ท้ังหมด 222 คน จานวนครูโรงเรียนบ้านแสง์ ท้ังหมด 9 คน แยกเป็นจานวนครชู าย 2 คน จานวนครูหญิง 7 คน และมีนายประดิษฐ์ แดงหนองแปน ดารงตาแหน่งผู้อานวยการโรงเรียนบ้าน แสง์ (ขอ้ มลู ปี 2559)
14 3. โรงเรียนบา้ นโคกแจง เนื้อที่ท้งั หมด 70 ไร่ มีจานวนนกั เรียนโรงเรยี นบา้ นโคกแจง รวม ทั้งหมด130 คน จานวนครูโรงเรียนบ้านโคกแจงรวมท้ังหมด 12 คน แยกเป็นจานวนครูชาย 3 คน จานวนครูหญิง 9 คน โดยมีนายจุมพล จุภาพงษ์ ดารงตาแหน่งผู้อานวยการโรงเรยี นโคกแจง (ข้อมูล ปี 2559) 4. โรงเรียนบ้านโคกทหาร เนื้อท่ีท้ังหมด 25 ไร่ มีจานวนนักเรียนโรงเรียนบ้านโคกทหาร รวมท้ังหมด 173 คน จานวนครูโรงเรียนบ้านโคกทหาร รวมทั้งหมด 13 คน โดยมีนายวิษณุ เกิดใน หล้าดารงตาแหน่งผอู้ านวยการโรงเรียนบ้านโคกทหาร (ขอ้ มูล ปี 2559) 5. โรงเรียนบ้านมะกอก เนื้อที่ทั้งหมด 22ไร่ 3 งาน 33 ตารางวา มีจานวนนักเรียน โรงเรียนบ้านมะกอก รวมท้ังหมด 110 คน จานวนครูโรงเรียนบ้านมะกอก รวมท้ังหมด 10 คน แยกเป็นจานวนครูชาย 3 คน จานวนครูหญิง 7 คน และมีนายรังสรรค์ พานเพชร ดารงตาแหน่ง ผูอ้ านวยการโรงเรยี นมะกอก (ขอ้ มูล ปี 2559) 2.8 ข้อมลู ด้านการสาธารณสขุ 2.8.1 บริการสาธารณสขุ ในตาบล ในพน้ื ที่ตาบลทัพเสด็จ มโี รงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพชุมชน 4 แหง่ 1. โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตาบลโคกเพรก็ ตั้งอยู่ท่ีบ้านโคกเพร็ก หมู่ที่ 1 โดยมี นาย สันติสุข ลีสีสุข ดารงตาแหน่ง ผอ.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล และมีอาสาสมัครป้องกัน สาธารณสุขจานวน 38 คน 2. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลแสง์ ต้ังอยู่ท่ีบ้านแสง์ หมู่ที่ 2 โดยมี นายสนอง ศรี ตะปญั ญะ ดารงตาแหนง่ ผอ.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล และมีอาสาสมัครปอ้ งกันสาธารณสุข จานวน 32 คน 3. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลโคกแจง ต้ังอยู่ที่บ้านโคกแจง หมู่ที่ 3 โดยมี นาย ชาญชัย ธรรมมา ดารงตาแหน่ง ผอ.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล โดยมีอาสาสมัครป้องกัน สาธารณสุขจานวน 18 คน 4. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลมะกอก ต้ังอยู่ที่บ้านมะกอกหมู่ท่ี 6 โดยมี นายทนง สนธิศักดิ ดารงตาแหน่ง ผอ.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล และมีอาสาสมคั รป้องกนั สาธารณสขุ จานวน 54 คน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชน 4 แห่ง ต้ังอยู่หมู่ท่ี 1, 2, 3 และ 6 ให้บริการประชาชน อย่างทั่วถึงท้ัง 12 หมู่บ้าน โดยประชาชนทุกๆ คนในตาบลสามารถเข้าถึงการบรกิ าร และประชาชน ส่วนใหญ่รู้จักวิธีการรักษาพยาบาลเบ้ืองต้น และมียาสามัญประจาบ้าน และมีจานวนอาสาสมัคร ปอ้ งกันสาธารณสขุ ตาบลทพั เสด็จทัง้ หมด จานวน 142 คน
15 2.8.2 บทบาทของ อสม. ทุก ๆ หมู่บ้านในตาบลทัพเสด็จ มี อสม. ในการให้บริการประชาชนชุมชน การทางานของ อสม. มีวิธีการแบ่งจานวนครวั เรือนรับผิดชอบ เพ่ือให้สามารถวิเคราะหแ์ ละเข้าถึงด้านสุขภาพได้ง่าย ข้ึน โดยเน้นการดูแลผู้สูงอายุ สุขภาวะชุมชน การเฝ้าระวังโรคบาด ผู้ป่วยติดเตียง และโรคเอดส์ เป็นต้น การทางานของ อสม. ผูน้ าชมุ ชนใหค้ วามสาคญั และโดยสว่ นใหญ่ผนู้ าชมุ ชนเป็น อสม. ดว้ ย 2.8.3 โรคที่ชาวบา้ นเปน็ กนั มาก ประชาชนส่วนใหญ่ในชุมชนมีทั้งเด็กและผู้ใหญ่ ซึ่งโรคท่ีพบ คือ โรคท่ีเกิดจากการติดเชื้อ ทางเดินหายใจส่วนบนแบบเฉียบพลัน เน้ือเยื่อผิดปกติ โรคอ่ืน ๆ ของช่องปาก ต่อมน้าลายและ ขากรรไกร ความดันโลหิตสูงที่ไม่มีสาเหตุ ฟันผุ โรคเบาหวาน โรคเร้ือรังในต่อมทอนซินและต่อม น้าเหลืองในคอ ความผลิปกตอิ น่ื ของฟันและโครงสร้าง การบาดเจบ็ และ โรคอื่น ๆ ของหลอดอาหาร และกระเพาะอาหาร ดังภาพที่ 6 แสดงสัดส่วนสาเหตุการป่วยของประชากร ชาย-หญิง ในตาบลทัพ เสด็จ ซง่ึ อา้ งองิ ข้อมลู จากศนู ยข์ อ้ มลู สุขภาพจังหวดั สระแก้ว ปี 2563 ภาพท่ี 2 โรคหรอื สาเหตกุ ารปว่ ยของประชาชน ตาบลทัพเสดจ็ อาเภอตาพระยา จังหวัดสระแกว้ (ทมี่ า : ศูนย์ขอ้ มลู สขุ ภาพจังหวดั สระแกว้ ) 2.9 ขอ้ มูลด้านศาสนา วัฒนธรรม ความเช่ือ และการสนั ทนาการ ด้านศาสนาประชากรในตาบลทัพเสด็จมีผู้นับถือศาสนาพุทธ ร้อยละ 95 ของจานวน ประชากรท้ังหมดในเขตองค์การบริหารส่วนตาบลทัพเสด็จ ผู้นับถือศาสนาอิสลามและศาสนาคริสต์
16 รวมกันร้อยละ 5 ของจานวนประชากรท้ังหมดในเขตองค์การบริหารส่วนตาบลทัพเสด็จ ซึ่งภายใน ตาบลมวี ัดและสานักสงฆร์ วมท้ังหมด 5 แหง่ ไดแ้ ก่ 1. วัดทพั เสดจ็ (บ้านแสง์) 2. วัดมะกอก (บา้ นโคกเพร็ก) 3. วดั โคกแจง 4. สานักสงฆบ์ า้ นโคกทหาร 5. สานักสงฆ์บ้านรม่ ไทร ดา้ นวฒั นธรรมประเพณแี ละงานประจาปี มีประเพณีวัฒนธรรมท่ีสาคัญ คือวันสงกรานต์ งานลอยกระทง การจัดงานวันเข้าพรรษา ออกพรรษา งานแห่หลวงพอ่ องค์ดา และการแขง่ ขันกีฬาประเพณที อ้ งถ่นิ ดา้ นการสันทนาการ 1. สนามฟตุ บอล 13 แหง่ 2. สนามตะกรอ้ 12 แหง่ 3. สนามวอลเลยบ์ อล 12 แหง่ 4. ทอี่ า่ นหนงั สอื พิมพ์ประจาหม่บู ้าน /ศูนย์ข้อมลู ขา่ วสาร 12 แหง่ 2.10 ข้อมลู ดา้ นเศรษฐกจิ 2.10.1 การประกอบอาชีพหลกั อาชีพรองของชาวบา้ น ประชาชนส่วนใหญป่ ระกอบอาชีพเกษตรกรรม ไดแ้ ก่ การทานา ทาไร่ เลี้ยงสัตว์ โดยเฉพาะ การปลูกข้าวนาปี การปลูกมันสาปะหลัง และปลูกพืชใช้น้าน้อยเป็นหลัก นอกจากนี้มีการเล้ียงสัตว์ เช่น โค, กระบือ, สุกร, เป็ด, ไก่ เป็นต้น นอกจากนี้กจ็ ะมีรายได้รองจากการทาอาชีพเสริม การทาไม้ กวาดอกหญ้า การจักรสาน ทอผ้า ทอเสือ่ การเลยี้ งไหมอีร่ี เปน็ ตน้ ประชากรในพ้ืนท่ีตาบลทัพเสด็จส่วนมากประกอบอาชีพเกษตรกรรม โดยสามารถจาแนกได้ ดงั นี้ 1. ทานา 36,906 ไร่ 2. ทาไร่ 4,703 ไร่ 3. เลย้ี งสตั ว์ (โค, กระบอื , สกุ ร, เป็ด, ไก)่ 120 ไร่ 4. ครวั เรอื น 50 ไร่ 2.10.2 ตลาดสาหรับผลผลิตระบบการแลกเปล่ียนส่ิงของภายในตาบล และประชาชนส่วน ใหญจ่ ะตงั้ รา้ นคา้ จาหนา่ ยเป็นของตนเอง อกี ทง้ั ยงั มีตลาดนัดชมุ ชน ในพ้ืนท่ี ม.3 ท่เี ปน็ สถานท่ีในการ พบปะ แลกเปล่ียนสินค้า
17 2.10.3 ปัญหาทางดา้ นการทามาหากนิ ขาดเงินทนุ แหล่งนา้ ทีท่ ากนิ ภยั ธรรมชาติ การบุก รุกที่ดินสาธารณะ ป่าสงวนแห่งชาติ ปัจจบุ ันตาบลทัพเสด็จ ประชาชนสว่ นใหญท่ าอาชพี เกษตรกรรเปน็ หลกั นา้ จึงเป็นสง่ิ สาคัญ ในการทามาหากิน เน่อื งจากเป็นพื้นท่ที ่มี ีปรมิ ษณน้าฝนน้อย ลักษณะเนื้อดินดานที่ไม่สามารถอุ้มนา้ ได้ จึงทาให้เกษตรกรในพ้ืนที่ประสบกับสภาวะภัยแล้งเป็นอย่างมาก เบ้ืองต้นการแก้ไข ตาบลทัพเสด็จ แม้ว่าส่วนราชการต่าง ๆ จะเข้ามาช่วยเหลือในการขุดแหล่งเก็บน้าในพื้นที่ แต่เนื่องจากสภาพดินที่ เป็นดินดานจึงไม่สามารถอุ้มน้าได้ ประกอบกับพ้ืนท่ีโดยส่วนใหญ่ของตาบลทัพเสด็จ มีสภาพเป็นท่ี ราบลาดเอียงไปทางทิศตะวันออกสู่ประเทศกัมพูชา ซ่ึงปริมาณน้าจากธรรมชาติท่ีมีอยู่จะไหลลงสู่ ประเทศกัมพูชาตลอดจนไม่สามารถกกั เก็บนา้ ไว้ได้ ทาให้มีปัญหาเรื่องภัยแล้งอย่างต่อเน่ือง ซ่ึงทาให้ เกิดปัญหาขาดแคลนแหล่งสาหรับอุปโภคและบริโรค และส่งผลทาให้พืชผลทางการเกษตรได้ผลผลติ ไมเ่ ปน็ ไปตามท่ีควร และทาใหเ้ กิดความเสียหายตอ่ ผลผลติ ทางด้านเกษตรกรรม นอกจากนีย้ ังเกิดภัย พิบตั ิ เช่น ภยั แล้งต่อเนอื่ ง อทุ กภัย วาตภัย เปน็ ตน้ นอกจากน้ีปัญหาทางด้านการทามาหากินทพี่ บในตาบลทัพเสด็จ ไดแ้ ก่ คา่ ครองชีพท่ีสูงขึ้น และความผันผวนของราคาสินค้าอุปโภค/บริโภค เช่น น้ามัน ข้าวสาร อาหารแห้ง ยารักษาโรคที่มี ราคาสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ราคาพืชผลการเกษตรไม่คงที่ ขึ้นอยู่กับกลไกราคาของตลาด เกษตรกรยัง นิยมใช้สารเคมีในการเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร กลุ่มอาชีพขาดความเข้มแข็ง ประชาชนยังมีระบบ ความคดิ หรอื การประกอบอาชีพแบบเดมิ ๆ เชน่ การปลกู พืชเชงิ เดี่ยวซา้ ๆ ในพ้ืนทเี่ ดมิ 2.10.4 สภาวะทางเศรษฐกิจในตาบล และกลุ่มเป้าหมาย รวมทงั้ ความคิดเป็นของชาวบ้าน ตอ่ สภาพเศรษฐกจิ ภายในและภายนอกตาบล ข้อเสนอแนะของชาวบ้านต่อการแกไ้ ขปัญหาเศรษฐกจิ ตาบลทัพเสด็จ มีการประกอบด้านพาณิชยกรรมเป็นจานวนมากได้แก่ สถานีบริการนา้ มัน จานวน 1 แห่ง ปม้ั จานวน 8 แห่ง รา้ นค้า จานวน 78 แห่ง บงั กะโล จานวน 2 แหง่ โรงสี จานวน 15 แห่ง รา้ นเสรมิ สวย จานวน 2 แหง่ รา้ นซอ่ ม จานวน 6 แห่ง รา้ นเฟอร์นเิ จอร์ จานวน 6 แห่ง โรงงาน พลาสติก จานวน 1 แห่ง และร้านจาหน่ายรถจักรยานยนต์ จานวน 1 แห่ง ส่วนการท่องเที่ยวตาบล ทัพเสดจ็ ไม่มีแหล่งทอ่ งเท่ียวทชี่ ัดเจน มแี ต่ในลักษณะวิถีชุมชนเชิงการเกษตร และพลับพลาทีป่ ระทับ ทรงงานในหลวงรชั กาลท่ี 9 ที่บ้านแสง์ ข้อเสนอแนะของชาวบ้านต่อการแกไ้ ขปัญหาเศรษฐกิจ มีความต้องการหาอาชีพเสริมเพมิ่ นาเงนิ มาจนุ เจอื ครอบครวั ในช่วงว่างเวน้ จากการเก็บเกีย่ ว และต้องการความช่วยเหลอื ดา้ นอน่ื ๆ เชน่ แหล่งน้าสาหรับอปุ โภค และบริโภค 2.10.5 บทบาทของกลมุ่ เศรษฐกิจในชมุ ชน การรวมกลุ่มของประชาชนในตาบลทัพเสด็จ จะรวมกลุ่มตามความสนใจและความถนัด เฉพาะของแต่ละคน ร่วมกันทาผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เพ่ือนาไปจาหน่าย ซึ่งผลิตภัณฑ์ของบางหมู่บ้านได้
18 นาไปจาหนา่ ยในตลาดชมุ ชน ส่วนราชการ ตลาดในตา่ งจงั หวัด และตลาดประเทศเพ่ือนบา้ น (กัมพูชา) เปน็ ต้น ท้ังนีแ้ ตล่ ะกลุ่มจะใชท้ รพั ยากรทีม่ อี ยูใ่ นชมุ ชน เพื่อลดต้นทุนการผลติ 2.11 ขอ้ มูลดา้ นการเมอื งและการปกครองท้องถนิ่ 2.11.1 โครงสร้างการปกครองของตาบลและหมูบ่ ้าน (ช่ือฝ่ายปกครอง ผู้นากลุ่มหรือคุม้ บ้าน) เขตการปกครองเขตการปกครองขององค์การบริหารส่วนตาบลทัพเสด็จ มีหมู่บ้านท้ังหมด 12 แหง่ มีรายชอื่ ผู้นาหมู่บา้ นดงั น้ี 1. นายพลาย มน่ั ปืน ตาแหน่งกานันตาบลทัพเสดจ็ 2. นางสายหยดุ อนิ ทร์ประสงค์ ตาแหนง่ ผู้ใหญบ่ า้ นแสง์ 3. นายสืบพงษ์ คาสขุ สวัสด์ิ ตาแหนง่ ผู้ใหญ่บ้านเจียงดา 4. นางอาไพ แสนกลา้ ตาแหน่งผู้ใหญบ่ ้านโคกแจง 5. นายยอม เสนอภาค ตาแหน่งผใู้ หญ่บ้านโคกทหาร 6. นายซอ่ ม พกั น้อย ตาแหนง่ ผใู้ หญ่บา้ นมะกอก 7. นายสมบัติ ดีแย้ม ตาแหน่งผู้ใหญ่บา้ นโคกสะอาด 8. นายสมชาย ลาไย ตาแหน่งผู้ใหญ่บา้ นน้อยพัฒนา 9. นายสาเภา พมิ พ์สุวรรณ ตาแหนง่ ผู้ใหญบ่ า้ นรม่ ไทร 10.นางผ่องศรี ระพันธ์ ตาแหน่งผใู้ หญ่บ้านคลองแผง 11.นายเพยี ร บุญมว่ ง ตาแหน่งผู้ใหญ่บา้ นคลองน้าใส 12.นายรอง แสนกลา้ ตาแหน่งผู้ใหญบ่ ้านทัพเสรึ องค์การบริหารส่วนตาบลทัพเสด็จ ได้ยกฐานนะจากสภาตาบลเป็นองค์การบริหารส่วน ตาบล ตามประกาศในราชกิจจานุเบกษาฉบับประกาศทั่วไป เล่มท่ี 113 ตอนพิเศษ 52 ลงวันที่ 25 ธันวาคม 2539 โดยมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันท่ี 23 กุมภาพันธ์ 2540 เป็นต้น มา และได้ปรับขนาดจาก องค์การบริหารส่วนตาบลขนาดเล็กเป็นขนาดกลาง ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการ พนักงานส่วน ตาบลจังหวัดสระแก้ว (ก.อบต.จังหวัดสระแก้ว) ในการประชุมครั้งที่ 1 /2553 เม่ือวันท่ี 20 มกราคม 2553 โดยระบบการบริหารมี นายนที หวลประไพ ดารงตาแหน่งนายกองค์การบริหาร ส่วนตาบล นายบุญจาย ทรงภูมิ ดารงตาแหน่งรองนายกองค์การบริหารส่วนตาบล และ นายนพพัฒน์ วิลาวลั ย์ ดารงตาแหนง่ เลขานกุ ารนายกองคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบล โครงสร้างการบริหารงานในชุมชนแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ ส่วนงานปกครอง และส่วน งานบรกิ ารจัดการ ส่วนงานปกครอง เป็นงานด้านอาเภอ บริหารจัดการผ่าน กานัน ผู้ใหญ่บ้าน เพ่ือให้ชุมชน เกดิ ความเขม้ แข็งโดยบรู ณาการทางานร่วมกับดา้ นบรหิ ารจดั การ
19 ส่วนงานบริหารจัดการ เป็นงานขององค์การบริหารส่วนตาบลทัพเสด็จ บริหารจัดการ งบประมาณ ในการพัฒนาตาบลทัพเสด็จทุก ๆ ด้าน โดยมีนายกองค์การบริหารส่วนตาบลเป็นผู้ กาหนดนโยบาย ดา้ นการบริหาร มีโครงสร้างการแบง่ สว่ นราชการชัดเจน ครอบคลุมอานาจหนา้ ที่ตาม ภารกิจ มีการแบ่งงานและมอบหมายงานอย่างชัดเจน ผู้บริหารท้องถ่ินสามารถกาหนดนโยบายได้ ภายใต้กรอบของกฎหมาย และมีการมอบอานาจการบริหารงานตามลาดับชั้น โดยมีการกากับดูแล จากส่วนกลาง และส่วนภูมิภาค ตลอดจนมีส่วนราชการหลายส่วนในพ้ืนที่ และมีการวัสดุอุปกรณ์ เครอื่ งมอื เคร่ืองใช้ในการปฏิบัตงิ านอย่างเพียงพอและทนั สมยั ระดบั หมูบ่ า้ นมีสมาชกิ องคก์ ารบริหาร ส่วนตาบล ทาหน้าทใ่ี นการพัฒนาชมุ ชนซง่ึ ทางานร่วมกับผ้ใู หญ่และผ้นู าชมุ ชน อยา่ งไรกต็ ามเน่อื งจาก พื้นท่ีท้ังตาบลท่ีอยู่ในความรับผิดชอบกว้าง การดูแลอาจจะไม่ท่ัวถึง และเนื่องจากสภาพหมู่บ้าน หา่ งไกลกัน 2.11.2 องค์กรหรอื กล่มุ ทางการ และไม่ทางการ ตาบลทพั เสดจ็ ผนู้ าระดบั ทอ้ งถน่ิ มคี วามขัดแยง้ กัน มกี ลมุ่ กานนั ผูใ้ หญบ่ ้านทม่ี คี วามเขม้ แข็ง ในด้านการจดั การชุมชน การปอ้ งกนั สาธารณภัยตา่ ง ๆ และยาเสพติด ซึง่ ทางานร่วมกับ อบต. อาเภอ เพ่อื ดแู ลด้านการบริหารจัดการ ดา้ นสาธารณสขุ การคมนาคม ส่งิ แวดลอ้ ม และการสร้างอาชพี ชุมชน เป็นตน้ 2.11.3 ระดบั การมีสว่ นรว่ มของสมาชกิ ชุมชนในด้านการคิดและการตดั สนิ ใจในเรื่องต่าง ๆ ของตาบลและหมบู่ า้ น ประชาชนในชุมชนตาบลทัพเสด็จ มีส่วนร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ ของทางหน่วยงานราชการ และการกาหนดนโยบายระดบั หมู่บ้านและตาบล ร่วมกบั กานนั ผใู้ หญบ่ า้ น แกนนาชมุ ชน และ อบต. แต่ในด้านการรวมกลุ่มอาชพี การทากจิ กรรมโดยวิธกี ารรวมกลุ่มทาได้ยาก ชาวบา้ นขาดความสามัคคี น อ ก จ า ก น้ี ยั ง พ บ อุ ป ส ร ร ค ด้ า น ค ว า ม ไ ม่ ต่ อ เ นื่อ ง ใ น ก า ร ด า เ นิ น โค ร ง กา ร ส่ ง เ ส ริ ม อา ชี พ ใ น พ้ืน ท่ี งบประมาณ ในการสนับสนุน และชาวบา้ นยงั ยึดติดกับวิถีการเกษตรแบบดัง่ เดิม
ส่วนที่ 3 ผลการวิเคราะห์ศกั ยภาพ ปัญหา ความต้องการ และประเดน็ การพัฒนาเชิงพ้ืนที่ การวิเคราะห์ชุมชนดาเนนิ การโดยอาศัยข้อมูลทุตยิ ภูมิทร่ี วบรวมจากฐานข้อมูลแผนพัฒนา ตาบลทัพเสด็จ แผนพัฒนาท้องถิ่นองค์การบริหารส่วนตาบลทัพเสด็จ สานักงานพัฒนาชุมชน สานักงานสาธารณสุขอาเภอ และการสบื ค้นจากส่อื ออนไลน์ต่าง ๆ และดาเนินการเกบ็ ข้อมูลปฐมภูมิ จากการจัดเวทีประชุมผู้นาชุมชน การสัมภาษณ์ผู้นาชุมชนและกลุ่มในพื้นท่ีตาบลทัพเสด็จ และนา ข้อมลู ทีไ่ ด้ประมวลผล สงั เคราะหผ์ ล แบง่ เปน็ ด้านดงั น้ี 3.1 ศกั ยภาพในการพฒั นาตาบลทพั เสดจ็ อาเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว หมทู่ ี่ 1 1. ทุนด้านทรัพยากรมนษุ ย์ หมู่ที่ 1 มที ุนดา้ นทรพั ยากรมนษุ ย์หลายด้านได้แก่ วงดนตรีมโหรี (นายทรัพย์ ไวแสง) และ ช่างทาบายศรี (นางคา วงศ์อดุ ม) 2. ดา้ นภาคเี ครอื ข่ายในพ้ืนท่ี เครือข่ายด้านการปกครองท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนตาบลทัพเสด็จ สามารถนาไปสู่ดา้ น สาธารณูปโภคทดี่ ขี นึ้ และความเข้มแขง็ ในการรวมกลมุ่ ประชาชน เครือข่ายดา้ นพัฒนาชุมชน/พัฒนาผลิตภัณฑ์ของชุมชน สามารถนาไปสูก่ ารพฒั นาดา้ นองค์ ความรใู้ นการพัฒนาผลิตภณั ฑ์ รวมถึงการยกระดบั มาตรฐานของผลิตภณั ฑ์ เครือขา่ ยดา้ นกรมพฒั นาฝีมือแรงงาน จะเข้ามาดูแลดา้ นองคค์ วามรใู้ หม่ ๆ แก่ชาวบ้าน 3. ทนุ ทางสงั คมและทนุ ทางวัฒนธรรม วัดมะกอก (บา้ นโคกเพร็ก) สามารถนาไปสู่การพัฒนาด้าน ศาสนา และศิลปวฒั นธรรม ประเพณีแซนโฎนตา ซึ่งเป็นประเพณีประจาอาเภอตาพระยา และเป็นประเพณีที่โดดเดน่ ของอาเภอตาพระยา 4. ทุนทางเศรษฐกิจและการคา้ ขาย - 5. ทุนทางทรพั ยากรธรรมชาติ คลองไผ่ บ่อบาดาล ห้วยสะโตน สามารถนาไปสู่การพฒั นาด้านการท่องเที่ยว ระบบการ จดั การนา้ ในหมบู่ ้าน 6. ด้านจัดการส่ิงแวดลอ้ ม -
21 7. ดา้ นองค์ความรู้ - 8. ดา้ นวตั ถุดิบ - 9. ด้านผลิตภัณฑ์ชุมชน ด้านผลิตภัณฑ์ชุมชน ของหมู่ท่ี 1 ได้แก่ ผ้าทอ OTOP, ไม้กวาดดอกหญ้า และจักรสาน สามารถนาไปสู่การพัฒนาดา้ นรายได้ หมู่ท่ี 2 1. ทุนดา้ นทรพั ยากรมนุษย์ ทุนด้านทรัพยากรมนุษย์ด้านหมอพ้ืนบ้าน หมอขวัญ หมอเป่า (นายเรือง เชื้อสุข) สามารถ นาไปสู่พัฒนาดา้ นการจัดทาองคค์ วามร้ภู ูมิปญั ญา เร่ืองการรักษาแบบพื้นบ้าน 2. ด้านภาคีเครอื ขา่ ยในพื้นที่ เครือข่ายด้านการปกครองท้องถ่ิน องค์การบริหารส่วนตาบลทัพเสด็จ สามารถนาไปสู่ดา้ น สาธารณูปโภคท่ีดีขน้ึ และความเขม้ แข็งในการรวมกลุ่มประชาชน เครือข่ายด้านพัฒนาชุมชน/พัฒนาผลิตภัณฑ์ของชุมชน สามารถนาไปส่กู ารพฒั นาด้านองค์ ความรู้ในการพฒั นาผลติ ภณั ฑ์ รวมถึงการยกระดับมาตรฐานของผลิตภณั ฑ์ 3. ทนุ ทางสังคมและทนุ ทางวฒั นธรรม ทุนทางสังคมด้านการศึกษา ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กศูนย์แสง์ และ โรงเรียนเพียงหลวง (โรงเรียบ้านแสง)์ สามารถนาไปสู่การพฒั นา และยกระดบั คณุ ภาพทางการศึกษา ประเพณีแซนโฎนตา ซึ่งเป็นประเพณีประจาอาเภอตาพระยา และเป็นประเพณีท่ีโดดเดน่ ของอาเภอตาพระยา 4. ทุนทางเศรษฐกิจและการค้าขาย - 5. ทุนทางทรพั ยากรธรรมชาติ คลองลาสะโตน สามารถนาไปสู่การพัฒนาด้านการท่องเที่ยว ระบบการจัดการน้าใน หมบู่ า้ น 6. ดา้ นจดั การสิ่งแวดลอ้ ม - 7. ดา้ นองคค์ วามรู้ - 8. ด้านวัตถดุ ิบ -
22 9. ด้านผลิตภณั ฑช์ ุมชน หมทู่ ี่ 3 1. ทนุ ด้านทรพั ยากรมนษุ ย์ พิธีกรรมทางศาสนา (นายเตียว เพชรประเสริฐและนายพวง วีบุญช่วย) สามารถนาไปสู่ พัฒนาด้านการจัดทาองคค์ วามรู้ เพอ่ื ใหเ้ กิดการสบื ทอดพธิ ีกรรมทางศาสนา ช่างจักรสาน (นางลิว้ เพช็ รประเสริฐ) สามารถนาไปสูพ่ ัฒนาดา้ นการรวมกลุ่มอาชพี และสร้าง รายไดเ้ สริมในครวั เรือน 2. ดา้ นภาคเี ครือข่ายในพ้ืนท่ี เครือข่ายด้านการปกครองท้องถ่ิน องค์การบริหารส่วนตาบลทัพเสด็จ สามารถนาไปส่ดู ้าน สาธารณปู โภคท่ีดีขนึ้ และความเข้มแขง็ ในการรวมกลมุ่ ประชาชน เครอื ข่ายด้านพฒั นาชุมชน/พัฒนาผลิตภัณฑ์ของชุมชน สามารถนาไปสกู่ ารพัฒนาด้านองค์ ความรู้ในการพฒั นาผลิตภัณฑ์ รวมถึงการยกระดบั มาตรฐานของผลิตภณั ฑ์ 3. ทุนทางสงั คมและทุนทางวฒั นธรรม ประเพณีแซนโฎนตา ซึ่งเป็นประเพณีประจาอาเภอตาพระยา และเป็นประเพณีท่ีโดดเด่น ของอาเภอตาพระยา 4. ทนุ ทางเศรษฐกจิ และการคา้ ขาย ตลาดชมุ ชน สามารถนาไปพฒั นาชอ่ งทางการ จาหนา่ ยจาหน่ายสินค้าของชุมชน 5. ทุนทางทรัพยากรธรรมชาติ - 6. ด้านจดั การส่งิ แวดลอ้ ม - 7. ด้านองคค์ วามรู้ - 8. ด้านวัตถดุ ิบ - 9. ด้านผลติ ภณั ฑ์ชุมชน - หมทู่ ี่ 4 1. ทนุ ด้านทรัพยากรมนษุ ย์ ช่างปูน ช่างไม้ (นายมะลิ ศรีมาพุทธ) ช่างฝีมือจักรสาน (นางเรียบ แสนกล้า) สามารถ นาไปส่พู ฒั นาดา้ นการรวมกล่มุ อาชีพและสร้างรายไดเ้ สรมิ ในครัวเรอื น
23 2. ดา้ นภาคีเครอื ขา่ ยในพนื้ ที่ เครือข่ายด้านการปกครองท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนตาบลทัพเสด็จ สามารถนาไปสดู่ า้ น สาธารณูปโภคทด่ี ีขนึ้ และความเข้มแขง็ ในการรวมกล่มุ ประชาชน เครอื ขา่ ยดา้ นพฒั นาชุมชน/พฒั นาผลิตภัณฑ์ของชุมชน สามารถนาไปสกู่ ารพัฒนาดา้ นองค์ ความรู้ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ รวมถงึ การยกระดบั มาตรฐานของผลิตภัณฑ์ เครือข่ายดา้ นกรมพฒั นาฝีมือแรงงาน จะเขา้ มาดูแลดา้ นองค์ความรู้ใหม่ ๆ แกช่ าวบา้ น 3. ทุนทางสังคมและทุนทางวัฒนธรรม ทุนทางสังคมด้านการศึกษา ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านโคกแจง และ โรงเรียนบ้านโคกแจง สามารถนาไปสกู่ ารพัฒนา และยกระดบั คุณภาพทางการศึกษา ประเพณีแซนโฎนตา ซึ่งเป็นประเพณีประจาอาเภอตาพระยา และเป็นประเพณีท่ีโดดเด่น ของอาเภอตาพระยา 4. ทนุ ทางเศรษฐกิจและการคา้ ขาย - 5. ทนุ ทางทรพั ยากรธรรมชาติ - 6. ดา้ นจัดการส่งิ แวดลอ้ ม มกี ารจดั การคัดแยกขยะ บางครัวเรือนนาขยะไปทาปยุ๋ หมกั (ป๋ยุ เปยี ก) สามารถนาไปสู่การ พัฒนาด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมชมุ ชน/การสร้างรายไดจ้ ากการคดั แยกขยะ 7. ดา้ นองค์ความรู้ - 8. ดา้ นวตั ถุดิบ - 9. ดา้ นผลิตภณั ฑช์ มุ ชน ไม้กวาดดอกหญ้า หม่ทู ่ี 5 1. ทุนด้านทรพั ยากรมนษุ ย์ - 2. ด้านภาคเี ครือขา่ ยในพนื้ ท่ี เครือข่ายด้านการปกครองท้องถ่ิน องค์การบริหารส่วนตาบลทัพเสด็จ สามารถนาไปสดู่ ้าน สาธารณปู โภคทดี่ ขี นึ้ และความเข้มแขง็ ในการรวมกล่มุ ประชาชน เครอื ขา่ ยด้านพัฒนาชุมชน/พฒั นาผลิตภัณฑ์ของชุมชน สามารถนาไปสู่การพฒั นาด้านองค์ ความร้ใู นการพัฒนาผลติ ภณั ฑ์ รวมถึงการยกระดบั มาตรฐานของผลิตภณั ฑ์
24 เครอื ขา่ ยดา้ นกรมพฒั นาฝมี ือแรงงาน จะเขา้ มาดแู ลด้านองคค์ วามรใู้ หมๆ่ แกช่ าวบ้าน 3. ทุนทางสังคมและทุนทางวัฒนธรรม ทุนทางสังคมด้านการศึกษา โรงเรียนบ้านโคกทหาร สามารถนาไปสู่การพัฒนา และ ยกระดับคณุ ภาพทางการศึกษา ประเพณีแซนโฎนตา ซึ่งเป็นประเพณีประจาอาเภอตาพระยา และเป็นประเพณีท่ีโดดเดน่ ของอาเภอตาพระยา 4. ทุนทางเศรษฐกิจและการคา้ ขาย - 5. ทนุ ทางทรัพยากรธรรมชาติ - 6. ดา้ นจัดการสงิ่ แวดลอ้ ม - 7. ด้านองค์ความรู้ - 8. ด้านวัตถดุ บิ - 9. ด้านผลติ ภัณฑ์ชมุ ชน ดา้ นผลิตภัณฑช์ ุมชนของหมูท่ ี่ 5 ไดแ้ ก่ ไมก้ วาด สามารถนาไปสกู่ ารพฒั นาดา้ นรายได้ หมูท่ ี่ 6 1. ทุนด้านทรพั ยากรมนษุ ย์ หมอพิธีกรรมเสี่ยงทาย ราแม่มด สามารถนาไปสู่การพัฒนาด้านการจัดทาองค์ความรู้ เพ่อื ให้เกิดการสืบทอดพธิ ีกรรมทางศาสนา หมอชาวบ้าน (เป่างูสวัด เป่าเคล็ด ขาพลิกขาแพลง) สามารถนาไปสู่การพัฒนาด้านการ จดั ทาองค์ความรู้ภมู ิปญั ญา เรื่องการรักษาแบบพน้ื บ้าน 2. ด้านภาคีเครอื ขา่ ยในพนื้ ที่ เครือข่ายด้านการปกครองท้องถ่ิน องค์การบริหารส่วนตาบลทัพเสด็จ สามารถนาไปสู่การ พฒั นาดา้ นสาธารณูปโภคท่ดี ีขนึ้ และความเขม้ แขง็ ในการรวมกลุ่มประชาชน เครือข่ายด้านพฒั นาชุมชน/พฒั นาผลิตภัณฑ์ของชุมชน สามารถนาไปส่กู ารพฒั นาดา้ นองค์ ความรู้ในการพฒั นาผลิตภัณฑ์ รวมถึงการยกระดับมาตรฐานของผลติ ภัณฑ์ เครอื ขา่ ยดา้ นกรมพัฒนาฝมี อื แรงงาน จะเขา้ มาดูแลดา้ นองค์ความรู้ใหม่ๆแก่ชาวบา้ น
25 3. ทนุ ทางสงั คมและทนุ ทางวัฒนธรรม ทุนทางสังคมด้านการศึกษา ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านมะกอก และโรงเรียนบ้านมะกอก สามารถนาไปสู่การพัฒนา และยกระดบั คณุ ภาพทางการศกึ ษา ประเพณีแซนโฎนตา ซึ่งเป็นประเพณีประจาอาเภอตาพระยา และเป็นประเพณีท่ีโดดเดน่ ของอาเภอตาพระยา 4. ทนุ ทางเศรษฐกจิ และการคา้ ขาย - 5. ทุนทางทรัพยากรธรรมชาติ หนองมาสะแก ฝายน้าล้น หนองตะโคก ฝายคึกฤทธิ์ คลองห้วยยาง ฝ่ายน้าล้นจุดตะปลูก สามารถนาไปสกู่ ารพัฒนาด้านการทอ่ งเทีย่ ว ระบบการจัดการนา้ ในหมู่บ้าน ป่าชมุ ชน สามารถนาไปสู่การพฒั นาดา้ นแหลง่ เรียนรูข้ องชุมชน และเปน็ แหลง่ เรียนร้ใู ห้กับ นักเรียน คนในชมุ ชน หรือนักทอ่ งเท่ียวผูท้ ี่สนใจ 6. ด้านจัดการส่งิ แวดล้อม - 7. ด้านองคค์ วามรู้ - 8. ด้านวัตถุดิบ - 9. ด้านผลติ ภัณฑ์ชมุ ชน - หม่ทู ี่ 7 1. ทุนดา้ นทรัพยากรมนษุ ย์ หมอพน้ื บา้ นหมอยาสมุนไพร (นายนภดล สวนประโตน) สามารถนาไปสู่การพัฒนาด้านการ รวบรวมความรดู้ ้านสมนุ ไพรเพือ่ จัดทาฐานข้อมูลสมุนไพร และการจัดทาองค์ความรู้ภูมิปัญญา เร่ือง การรักษาแบบพ้ืนบ้าน 2. ด้านภาคีเครอื ขา่ ยในพนื้ ที่ เครือข่ายด้านการปกครองท้องถ่ิน องค์การบริหารส่วนตาบลทัพเสด็จ สามารถนาไปสู่การ พฒั นาดา้ นสาธารณปู โภคทีด่ ขี ึ้นและความเขม้ แข็งในการรวมกลุม่ ประชาชน เครอื ข่ายด้านพฒั นาชุมชน/พัฒนาผลิตภัณฑ์ของชุมชน สามารถนาไปสูก่ ารพัฒนาด้านองค์ ความร้ใู นการพัฒนาผลติ ภณั ฑ์ รวมถงึ การยกระดบั มาตรฐานของผลิตภณั ฑ์ เครือข่ายดา้ นกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน จะเข้ามาดแู ลด้านองคค์ วามรใู้ หม่ๆแก่ชาวบ้าน
26 3. ทนุ ทางสงั คมและทุนทางวัฒนธรรม ทุนทางสังคมด้านการศึกษา โรงเรียนบ้านโคกทหาร สามารถนาไปสู่การพัฒนา และ ยกระดับคุณภาพทางการศึกษา ประเพณีแซนโฎนตา ซ่ึงเป็นประเพณีประจาอาเภอตาพระยา และเป็นประเพณีที่โดดเดน่ ของอาเภอตาพระยา 4. ทนุ ทางเศรษฐกจิ และการคา้ ขาย - 5. ทุนทางทรพั ยากรธรรมชาติ - 6. ด้านจัดการสิง่ แวดล้อม - 7. ด้านองคค์ วามรู้ - 8. ดา้ นวตั ถดุ บิ - 9. ดา้ นผลติ ภณั ฑช์ ุมชน - หม่ทู ี่ 8 1. ทุนด้านทรพั ยากรมนุษย์ งานฝีมือช่างจักรสาน (นายลัน พุทธจิต) และช่างสานไม้กวาด (นางสุชิน พุเพิ่น) สามารถ นาไปสู่การพัฒนาด้านการรวมกลุ่มอาชีพและสรา้ งรายไดเ้ สรมิ ในครัวเรือน 2. ด้านภาคเี ครือข่ายในพน้ื ท่ี เครือข่ายด้านการปกครองท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนตาบลทัพเสด็จ สามารถนาไปสู่การ พัฒนาด้านสาธารณูปโภคที่ดขี ้ึนและความเข้มแข็งในการรวมกลมุ่ ประชาชน เครือข่ายด้านพฒั นาชุมชน/พัฒนาผลิตภัณฑ์ของชุมชน สามารถนาไปสกู่ ารพฒั นาดา้ นองค์ ความรใู้ นการพฒั นาผลิตภัณฑ์ รวมถึงการยกระดบั มาตรฐานของผลิตภณั ฑ์ เครือข่ายดา้ นกรมพฒั นาฝมี ือแรงงาน จะเขา้ มาดแู ลด้านองคค์ วามรู้ใหม่ ๆ แกช่ าวบา้ น 3. ทนุ ทางสังคมและทนุ ทางวัฒนธรรม ทุนทางสังคมด้านการศึกษา โรงเรียนบ้านโคกทหาร สามารถนาไปสู่การพัฒนา และ ยกระดบั คณุ ภาพทางการศึกษา ประเพณีแซนโฎนตา ซึ่งเป็นประเพณีประจาอาเภอตาพระยา และเป็นประเพณีที่โดดเด่น ของอาเภอตาพระยา
27 4. ทนุ ทางเศรษฐกิจและการคา้ ขาย - 5. ทุนทางทรพั ยากรธรรมชาติ คลองไผ่ และสระหนองตลาด สามารถนาไปสู่การพัฒนาด้านการท่องเที่ยว ระบบการ จดั การน้าในหมูบ่ า้ น 6. ดา้ นจดั การสิ่งแวดลอ้ ม - 7. ดา้ นองคค์ วามรู้ - 8. ดา้ นวัตถุดบิ - 9. ด้านผลติ ภณั ฑช์ ุมชน การทาไมก้ วาดดอกหญา้ หมู่ท่ี 9 1. ทนุ ดา้ นทรพั ยากรมนุษย์ หมอดู หมอพื้นบ้านรักษาคนป่วย และหมอทาเสน่ห์ (นายสมศักด์ิ วงศ์อุดม) สามารถ นาไปสู่การพฒั นาด้านการจัดทาองคค์ วามรู้ เพ่ือใหเ้ กดิ การสบื ทอด และอนุรกั ษพ์ ธิ ีกรรม 2. ด้านภาคีเครือข่ายในพ้ืนที่ เครือข่ายด้านการปกครองท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนตาบลทัพเสด็จ สามารถนาไปสู่การ พฒั นาดา้ นสาธารณูปโภคทดี่ ีข้ึนและความเขม้ แข็งในการรวมกลุม่ ประชาชน เครือข่ายพัฒนาชุมชน/พัฒนาผลิตภัณฑ์ของชุมชน สามารถนาไปสู่การพัฒนาด้านองค์ ความร้ใู นการพฒั นาผลติ ภัณฑ์ รวมถึงการยกระดับมาตรฐานของผลติ ภณั ฑ์ เครอื ขา่ ยกรมพฒั นาฝมี ือแรงงาน จะเขา้ มาดแู ลด้านองคค์ วามรู้ใหม่ ๆ แก่ชาวบา้ น เครือข่ายด้านปศุสัตว์อาเภอ เข้ามาให้ความช่วยเหลือในด้านให้ความรู้ด้านการเลี้ยงสัตว์ นาไปสู่การพัฒนาเพิ่มผลผลิตทางปศุสัตว์ ดูแลสุขอนามยั สัตว์ 3. ทุนทางสงั คมและทนุ ทางวัฒนธรรม ทนุ ทางสงั คมด้านการศกึ ษา ศนู ย์พฒั นาเดก็ เล็กบ้านรม่ ไทร สามารถนาไปสู่การพัฒนา และ ยกระดับคุณภาพทางการศกึ ษา ทุนทางวฒั นธรรม สานักสงฆ์บ้านร่มไทร ประเพณีแซนโฎนตา ซึ่งเป็นประเพณีประจาอาเภอตาพระยา และเป็นประเพณีที่โดดเด่น ของอาเภอตาพระยา
28 4. ทนุ ทางเศรษฐกิจและการค้าขาย - 5. ทนุ ทางทรัพยากรธรรมชาติ ปา่ ชุมชน สามารถนาไปสูก่ ารพฒั นาดา้ นแหล่งเรียนร้ขู องชุมชน และเป็นแหล่งเรียนรใู้ ห้กบั นกั เรียน คนในชมุ ชน หรอื นกั ทอ่ งเทยี่ วผู้ทส่ี นใจ 6. ดา้ นจัดการสง่ิ แวดล้อม - 7. ดา้ นองคค์ วามรู้ - 8. ด้านวัตถดุ บิ - 9. ดา้ นผลิตภัณฑช์ ุมชน - หมทู่ ่ี 10 1. ทนุ ดา้ นทรัพยากรมนุษย์ ช่างฝีมือทาล้อเกวียนปีกไม้ เลากระทู้ (นางผ่องศรี ราพันธ์) สามารถนาไปสู่การพัฒนาดา้ น การรวมกลุม่ อาชีพและสรา้ งรายไดเ้ สริมในครวั เรอื น 2. ด้านภาคีเครือข่ายในพ้นื ท่ี เครือข่ายด้านการปกครองท้องถ่ิน องค์การบริหารส่วนตาบลทัพเสด็จ สามารถนาไปสู่การ พฒั นาด้านสาธารณปู โภคท่ีดีข้ึนและความเข้มแขง็ ในการรวมกล่มุ ประชาชน เครือข่ายพัฒนาชุมชน/พัฒนาผลิตภัณฑ์ของชุมชน สามารถนาไปสู่การพัฒนาด้านองค์ ความรใู้ นการพฒั นาผลิตภัณฑ์ รวมถึงการยกระดับมาตรฐานของผลิตภัณฑ์ เครอื ขา่ ยกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน จะเขา้ มาดูแลด้านองค์ความรู้ใหม่ ๆ แกช่ าวบ้าน 3. ทนุ ทางสงั คมและทุนทางวัฒนธรรม ประเพณีแซนโฎนตา ซึ่งเป็นประเพณีประจาอาเภอตาพระยา และเป็นประเพณีท่ีโดดเด่น ของอาเภอตาพระยา 4. ทุนทางเศรษฐกิจและการคา้ ขาย - 5. ทนุ ทางทรพั ยากรธรรมชาติ -
29 6. ด้านจดั การสง่ิ แวดลอ้ ม - 7. ด้านองค์ความรู้ - 8. ด้านวตั ถดุ บิ - 9. ด้านผลิตภณั ฑ์ชมุ ชน - หมทู่ ี่ 11 1. ทุนดา้ นทรพั ยากรมนุษย์ - 2. ดา้ นภาคีเครือข่ายในพน้ื ท่ี เครือข่ายด้านการปกครองท้องถิ่น องค์การบริหารส่วนตาบลทัพเสด็จ สามารถนาไปสู่การ พัฒนาด้านสาธารณปู โภคทด่ี ีข้ึนและความเข้มแขง็ ในการรวมกลมุ่ ประชาชน เครือข่ายพัฒนาชุมชน/พัฒนาผลิตภัณฑ์ของชุมชน สามารถนาไปสู่การพัฒนาด้านองค์ ความรู้ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ รวมถึงการยกระดบั มาตรฐานของผลิตภัณฑ์ เครอื ขา่ ยกรมพัฒนาฝมี อื แรงงาน จะเขา้ มาดูแลดา้ นองคค์ วามรใู้ หม่ ๆ แกช่ าวบ้าน เครือข่ายด้านปศุสัตว์อาเภอ เข้ามาให้ความช่วยเหลือในด้านให้ความรู้ด้านการเล้ียงสัตว์ นาไปสกู่ ารพัฒนาเพิม่ ผลผลติ ทางปศสุ ตั ว์ ดแู ลสุขอนามยั สัตว์ 3. ทุนทางสงั คมและทุนทางวัฒนธรรม ประเพณีแซนโฎนตา ซ่ึงเป็นประเพณีประจาอาเภอตาพระยา และเป็นประเพณีท่ีโดดเด่น ของอาเภอตาพระยา 4. ทนุ ทางเศรษฐกิจและการคา้ ขาย - 5. ทนุ ทางทรพั ยากรธรรมชาติ - 6. ดา้ นจดั การส่ิงแวดลอ้ ม - 7. ด้านองค์ความรู้ - 8. ด้านวัตถุดบิ -
30 9. ดา้ นผลติ ภณั ฑช์ ุมชน - หมู่ท่ี 12 1. ทนุ ดา้ นทรัพยากรมนุษย์ หมอพนื้ บ้านหมอยาสมุนไพร (นายแดง ม่ันจติ ) สามารถนาไปส่กู ารพัฒนาดา้ นการรวบรวม ความรู้ด้านสมุนไพรเพอ่ื จัดทาฐานข้อมูลสมุนไพร และการจัดทาองค์ความรู้ภูมปิ ญั ญา เร่ืองการรักษา แบบพืน้ บ้าน 2. ด้านภาคเี ครือขา่ ยในพนื้ ที่ เครือข่ายด้านการปกครองท้องถ่ิน องค์การบริหารส่วนตาบลทัพเสด็จ สามารถนาไปสู่การ พฒั นาด้านสาธารณปู โภคที่ดขี ้ึนและความเข้มแข็งในการรวมกลุ่มประชาชน เครือข่ายพัฒนาชุมชน/พัฒนาผลิตภัณฑ์ของชุมชน สามารถนาไปสู่การพัฒนาด้านองค์ ความรู้ในการพฒั นาผลิตภัณฑ์ รวมถงึ การยกระดบั มาตรฐานของผลติ ภัณฑ์ เครือขา่ ยกรมพัฒนาฝมี อื แรงงาน จะเขา้ มาดแู ลด้านองค์ความรใู้ หม่ ๆ แกช่ าวบ้าน เครือข่ายด้านปศุสัตว์อาเภอ เข้ามาให้ความช่วยเหลือในด้านให้ความรู้ด้านการเลี้ยงสัตว์ นาไปสู่การพัฒนาเพม่ิ ผลผลติ ทางปศุสตั ว์ ดูแลสุขอนามยั สตั ว์ 3. ทุนทางสังคมและทนุ ทางวัฒนธรรม ประเพณีแซนโฎนตา ซ่ึงเป็นประเพณีประจาอาเภอตาพระยา และเป็นประเพณีที่โดดเด่น ของอาเภอตาพระยา 4. ทุนทางเศรษฐกจิ และการคา้ ขาย - 5. ทุนทางทรพั ยากรธรรมชาติ คลองศรีเพ็ญ สามารถนาไปสู่การพัฒนาด้านแหล่งเรียนรู้ของชุมชน และเป็นแหล่งเรียนรู้ ให้กับ นกั เรียน คนในชมุ ชน หรอื นกั ท่องเทยี่ วผู้ทส่ี นใจ 6. ด้านจดั การสงิ่ แวดลอ้ ม - 7. ด้านองค์ความรู้ - 8. ดา้ นวัตถุดิบ - 9. ดา้ นผลิตภัณฑ์ชมุ ชน -
31 3.2 แผนที่แสดงศกั ยภาพด้านต่างๆ ของแต่ละหมู่บา้ นในตาบล จากการวิเคราะห์จากศักยภาพชุมชนตาบลทัพเสด็จท้ัง 12 หมู่บ้าน สามารถสรุปศักยภาพ ชมุ ชนดงั น้ี ภาพที่ 3 ศกั ยภาพชมุ ชนตาบลทัพเสด็จ
32 3.3 ปัญหาและความต้องการในพ้ืนที่ ตาบลทัพเสดจ็ อาเภอตาพระตา จงั หวัดสระแกว้ 1. ทรัพยากรมนษุ ย์ จากการสัมภาษณ์ผู้ใหญ่บ้านทุกหมู่บ้าน ทุกหมู่บ้านประสบปัญหาเดี่ยวกัน คือในแต่ละ หมู่บ้านลูกบ้านมีการรวมกลุ่มกันค่อนข้างยาก รวมกลุ่มกันได้เป็นกลุ่มน้อย ไม่ชอบทางานเป็นกลุ่ม เช่น หมู่ 6, 7, 8, และ 12 2. ดา้ นภาคีเครือข่ายในพื้นท่ี ความไม่ต่อเนื่องในการเข้ามาให้ความช่วยเหลือดูแล ส่งผลให้การพัฒนาไม่ว่าจะเป็นดา้ น ผลิตภัณฑ์ ด้านองค์ความรู้ไม่ต่อเน่ือง เช่น หมู่ 2, 3, 7และ 8 อย่างไรก็ตาม ท้ัง 12 หมู่บ้านประสบ ปัญหาการขายส้ินค้าหรือแหล่งรับช้ือ ยกตัวอย่างเช่น เกษตรกร หมู่ 2, 5 และ 9 ที่เพาะเล้ียงหนอน ไหมอีร่ี แต่ขาดองค์ความรู้และแนวทางการเพิ่มคุณภาพของไหมอีร่ี อีกทั้งยังมีการผูกขาดการขายรัง ไหมจากผู้ช้ือเพียงรายเดยี ว และการรบั ชือ้ ในราคาตา่ การจ่ายค่าตอบแทนทไ่ี ม่ตรงเวลา เป็นตน้ 3. ดา้ นทนุ ทางสังคมและทนุ ทางวฒั นธรรม ไม่มี 4. ดา้ นทนุ ทางเศรษฐกิจ ไม่มี 5. ด้านทุนทางทรัพยากรธรรมชาติ หมู่ 4, 5, 7, 9, 11 และ 12 ไมม่ ีแหลง่ นา้ ธรรมชาติในชุมชน ส่งผลในเรอื่ งของการ ขาดแคลนน้าในชว่ งหนา้ แลง้ 6. ด้านการจดั การส่ิงแวดลอ้ ม ไมม่ ี 7. ด้านวัตถุดิบ หมู่ 1 ทาผลิตภณั ฑ์ผ้าทอ แต่ท่หี มู่บ้านไมไ่ ดม้ ีเสน้ ไหมเอง ต้องสง่ั ซอื้ จากจังหวัดบุรรี มั ย์เพื่อ นามาทอผา้ 8. ด้านผลติ ภัณฑช์ ุมชน หมู่ 3, 6, 7, 9, 11, และ 12 ยังไม่มีผลติ ภัณฑช์ ุมชน ควรสง่ เสรมิ ให้เกิดองค์ความรเู้ พื่อ นามาพฒั นาผลิตภณั ฑ์ชุมชน หมู่ 2, 4, 5, และ 8 มผี ลิตภณั ฑ์ชมุ ชนที่ยงั ไม่ไดม้ าตรฐาน OTOP ควรสง่ เสรมิ ใหย้ กระดบั มาตรฐานคุณภาพผลิตภัณฑ์ ท้ังมาตรฐาน มผช. และ OTOP
33 9. ดา้ นองคค์ วามรู้ ในแต่ละหมู่บ้านควรได้รับการส่งเสริมด้านองค์ความรู้ จากหน่วยงานภายนอกเพ่ือนามา พัฒนาผลิตภัณฑ์ ต่อยอดผลิตภัณฑ์ อีกทั้งควรมีการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ซึ่งกันและกัน เนื่องจากมี หลายหมบู่ า้ นทผ่ี ลติ สนิ คา้ ทเ่ี หมอื นกนั นอกจากนใ้ี นแตล่ ะหมูบ่ า้ นทีม่ ีองคค์ วามรู้ภมู ิปญั ญาดา้ นต่าง ๆ เชน่ งานชา่ งปูน ช่างไม้ (หมู่ ที่ 4) ช่างจักรสาน (หมู่ท่ี 3, 4, 8) ช่างฝีมือล้อเกวียนปีกไม้ เลากระทู้ (หมู่ที่ 10) หมอยาสมุนไพร (หมูท่ ่ี 1, 12) ควรส่งเสริมใหม้ ีการถา่ ยทอดองค์ความรูด้ ้านภมู ิปญั ญาระหว่างหมู่บ้าน เพอื่ เพ่ิมพูนองค์ ความรู้ในแกช่ าวบ้าน นาไปต่อยอดและพฒั นาเป็นอาชีพตอ่ ไป 3.4 ประเด็นการพฒั นาเชงิ พื้นที่ ตาบลทพั เสดจ็ อาเภอตาพระตา จังหวดั สระแก้ว การกาหนดประเด็นการพฒั นา วเิ คราะหจ์ ากศกั ยภาพชุมชน ปัญหาและความตอ้ งการของ ชุมชนตาบลทพั เสดจ็ ทงั้ 12 หมบู่ ้าน สามารถสรุปศกั ยภาพชุมชนดงั ภาพที่ 3 (หน้า 30) สามารถสรุป ประเด็นการพฒั นาได้ 2 ประเด็นดงั น้ี 1. การสร้างกลมุ่ อาชพี “เลย้ี งไหมอีรี่” จากการสารวจของทีมผู้รับผิดชอบพ้ืนท่ี พบว่า กลุ่มชาวบ้านที่เลี้ยงไหมอีรี่ มีจานวนลด นอ้ ยลงจากเดิม โดยพบวา่ ปจั จุบนั มีการรวมกล่มุ อยเู่ พียง จานวน 3 หมู่บ้าน ดงั นี้ หมทู่ ี่ 2 บา้ นแสง์ หมู่ท่ี 5 บ้านโคกทหาร และหมู่ท่ี 9 บ้านร่มไทร ซึ่งในแต่ละหมู่บ้านจะเหลือเพียงหมู่บ้านละ 1 ครอบครวั ทย่ี งั ทาการเล้ยี งไหมอีร่ีอยู่ และยงั ขาดแคลนอปุ กรณ์และโรงเรือนในการเล้ยี งไหมอีร่ี จากข้อมูลที่ได้จากชุมชนและกลุ่มผู้เล้ียง เราพบว่าการเล้ียงไหมอีรี่ ในพื้นท่ีตาบลทัพเสดจ็ มปี ัญหาหลกั ๆ ทีค่ วรทาการแก้ไขอยู่ 3 ประการ คอื 1. ผู้เลย้ี งไหม ยงั ขาดความรคู้ วามเข้าใจและการจัดการในการเลีย้ งไหมอรี ี่ แบบครบวงจร 2. ขาดแคลนอาหารเลี้ยงไหม 3. มีการผ้รู ับซือ้ รังไหมอรี ี่เพยี งเจ้าเดยี วที่เข้ามารบั ซอ้ื ในพ้นื ที่ และมีความล่าช้าในเรอื่ งการ จา่ ยเงนิ ซึ่งทมี ผรู้ บั ผิดชอบพืน้ ท่ี ได้วางแนวทางการแกไ้ ขปัญหา คอื 1.ใหค้ วามรเู้ ร่ืองพนื้ ฐานของวงจร ชีวติ ไหมอีร่ี การจดั การเล้ียงไหมอรี แี่ บบครบวงจร รวมถงึ การเพาะตัวอ่อนของไหมให้มีขนาดใหญ่และ ไดค้ ณุ ภาพทดี่ ี รวมถึงการหาแหล่งอาหารสาหรับใชเ้ ล้ียงไหม 2.ใชน้ วัตกรรมอาหารเล้ียงไหมสาเร็จรูป ผลิตจากวัตถุดิบในท้องถ่ิน ท่ีมีราคาถูกและมีคุณภาพ 3.พัฒนาทาให้ไหมมีคุณภาพให้มีคุณภาพสูง เพอื่ ทจี่ ะสามารถต่อรองราคากับผูซ้ ้ือได้ และ 4.ขยายตลาดผลิตภัณฑ์ท่ีได้จากไหมอรี ี่ โดยการแปรรูป เป็นผลิตภัณฑ์อิ่น เช่น เคร่ือง สาอางค์จากโปรตีนหนอนไหมอีรี่ scary food อบแห้งโปรตีนสูง เครื่องดืม่ อะมโิ น
34 2. การพัฒนาสินคา้ ชุมชน เน่ืองจากผลการวิเคราะห์ศักยภาพด้านทุนทางเศรษฐกิจ เราพบว่าในหลายหมู่บ้านมีการ รวมกลุ่มผลิตไม้กวาดเปน็ ทุนเดมิ และสร้างรายไดใ้ หก้ บั ชมุ ชนอยูบ่ า้ งแล้ว แตย่ ังขาดความโดดเดน่ และ ความเปน็ เอกลกั ษณ์ของผลิตภัณฑ์ ทาใหม้ ีการมมี ูลค่าต่า โดยหมู่บ้านท่ีทาการผลติ ไมก้ วาดหลัก ๆ มี จานวน 5 หมบู่ ้าน ดงั น้ี หมู่ 1 บา้ นโคกเพก็ หมู่ 2 บา้ นแสง์ หมู่ 4 บ้านโคกแจง หมู่ 5 บา้ นโคกทหาร หมู่ 8 บา้ นน้อยพฒั นา ดังน้ันทางทีมงานที่รับผิดชอบพ้ืนท่ี จะมีความเห็นในการพัฒนาไม้กวาดให้มีเอกลักษณ์ เฉพาะของตาบลทพั เสด็จ โดยมแี นวทาง 3 ประการ ดงั นี้ 1. การปรับเปล่ียนรูปแบบผลิตภัณฑ์จากไม้กวาดให้มีความหลากหลาย เช่น ปรับเปลี่ยน เป็นของท่ีระลึก เครื่องประดับ หรือการเพิ่มศักยภาพในการประยุกต์ใช้งาน อาทิเช่น สามารถปรับ ระดับความยาวของดา้ มจบั ได้ ห้มุ ดา้ มจับด้วยผา้ พน้ื เมอื ง เปน็ ตน้ 2. ใช้นวัตกรรมสารเคลอื บกันฝุน่ หรือกันนา้ มาใช้ในการผลติ ไม้กวาด เพ่อื เพ่ิมมลู ค่าสนิ ค้า 3. ใช้นวัตกรรมสีย้อมธรรมชาติ มาประยุกต์ใช้ในการผลิตไม้กวาดท่ีเป็นเอกลักษณ์และมี ความน่าสนใจ
35 สว่ นที่ 4 รูปแบบการพัฒนาชมุ ชนนวตั กรรม จากข้อมูลสรุปประเด็นการพัฒนาท้ัง 2 ประเด็น บางประเด็นไม่สามารถดาเนินการได้ เน่ืองจากข้อมูลท่ีได้รับจากเกษตรกรทราบว่าเกษตรกรไม่ได้เป็นเจ้าของผลิตภัณฑ์ไม้กวาดดอกหญา้ เป็นลักษณะที่รับงานมาจากผู้ประกอบการ เพ่ือประกอบชิ้นส่วนของไม้กวาดดอกหญ้าและส่งให้ ผู้ประกอบการอีกทอดหน่ึง เพื่อนาไปจาหน่าย ซ่ึงมหาวิทยาลัยไม่สามารถไปเปล่ียนรูปแบบหรือ พัฒนาผลิตภัณฑ์ได้ ประเด็นนี้ทางมหาวทิ ยาลัยไม่สามารถดาเนนิ การได้ แต่อาจสามารถนาเสนอตอ่ ให้ผู้ประกอบการพิจารณาได้เท่านั้น ในส่วนท่ีมหาวิทยาลัยดาเนินต่อได้ จัดทาในรูปแบบการพัฒนา ชมุ ชนนวัตกรรมทมี่ ที ง้ั หมด 8 ประเดน็ ดงั น้ี 1.สรา้ งผู้นาการเปลยี่ นแปลง 2.พฒั นาจิตอาสา เพม่ิ การมีสว่ นร่วมพฒั นา 3.ครวั เรือนพอเพยี ง 4.สืบสานวัฒนธรรมชุมชน 5.สุขภาพดี สวัสดกิ ารทัว่ ถึง 6.เกษตรปลอดภัย 7.วสิ าหกิจชมุ ชนเขม้ แขง็ 8.ส่ิงแวดล้อมดี ชมุ ชนสวยงาม การพัฒนาชุมชนตาบลทัพเสด็จสามารถดาเนินการตามรูปแบบการพฒั นาชุมชนนวัตกรรม โดยมุ่งเน้นการสร้างนวตั กรรมชุมชนวิสาหกิจชุมชนเข้มแข็ง นาการพัฒนาและขยายผลพัฒนาต่อใน ประเดน็ อ่นื ๆ ดังภาพที่ 4 และ ภาพที่ 5 ดังน้ี ภาพท4่ี รูปแบบการพฒั นาชุมชนนวัตกรรมตาบลทัพเสด็จ
36 ภาพท5ี่ รปู แบบกิจกรรมการพัฒนาชุมชนนวัตกรรมตาบลทัพเสด็จ จากภาพที่ 4 สรุปได้วา่ การดาเนินงานโครงการยกระดับคุณภาพชีวิตชมุ ชนและทอ้ งถนิ่ เพ่ือ เป็นชุมมชนวิสาหกิจเข้มแข็ง โดยมหาวิทยาลัยสามารถดาเนินการได้ทั้งหมด 8 ประเด็นตาม รายละเอียดในภาพท5่ี เพื่อมงุ่ เนน้ การสร้างผูน้ าการเปลยี่ นแปลงที่เรียกวา่ “นวตั กรชมุ ชน” สรา้ งการ เปล่ียนแปลงผ่านกิจกรรมสร้างองค์ความรู้เร่ืองการเล้ียงไหมอีรี่ เพ่ือถ่ายทอดองค์ความรู้และ ประสบการณ์จากผู้เชี่ยวชาญให้แก่ผู้สนใจ เพอื่ สง่ เสริมผู้ทสี่ นใจมีสว่ นร่วมเกิดเป็นกลมุ่ อาชีพในชุมชน และส่งเสริมให้ครัวเรือนที่เข้าร่วมกลุ่มมีรายได้เพ่ิมขึ้นเพื่อเป็นครัวเรือนพอเพียง ในการนารูปแบบ เกษตรปลอดภยั มาใช้ร่วมด้วย และพัฒนาไปสู่การสรา้ งนวัตกรรมชุมชนวิสาหกจิ ชุมชนเข้มแขง็ ตาบล ทัพเสด็จใน 3 มิติ ดงั น้ี (ภาพที่ 5) 1. มิติการพัฒนาเศรษฐกิจ ได้แก่ การส่งเสริมให้ครัวเรือนท่ีเข้าร่วมกลุ่มมีรายได้เพิ่มข้ึน ผา่ นกิจกรรมการอบรมการเล้ยี งไหมอีรแ่ี บบครบวงจรให้กบั แกนนา เพอื่ ใหไ้ ด้ความรใู้ นการเล้ยี งไหมที่ ถูกต้อง เหมาะสมกับชุมชน และได้ผลผลิตจากไหมท่ีมีปริมาณและคุณภาพสูง เป็นที่ต้องการของ ตลาด และสง่ เสรมิ แนวทางการตลาด เพอ่ื ใหเ้ กิดการขยายฐานของตลาดใหส้ ามารถรองรบั ผลผลิตของ ชมุ ชนได้ และเพอ่ื เกิดกล่มุ อาชีพในชมุ ชนทเี่ ข้มแข็งหรือเปน็ เครือข่ายกลมุ่ อาชีพได้ 2. มิติการพัฒนาสังคม ได้แก่ กิจกรรมส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชน เพ่ือให้ เกิดความสามัคคีและการรวมกลุ่มของคนในชุมชน เช่น การเข้าร่วมกิจกรรมของกลุ่ม และการมีส่วน ร่วมในการนาความรู้ที่ได้รับจากการฝึกอบรมเร่ืองการเลี้ยงไหมอีรี่ไปเผยแพร่ให้กับผู้อื่นได้ เกิดการ
37 รวมกลุ่มเพ่ือจัดต้ัง “กลุ่มอาชีพเล้ียงไหมอีร่ี” และเกิดการบูรณาการการพัฒนาท้องถิ่นร่วมกับ หนว่ ยงานภาครฐั และส่งเสรมิ สถาบนั ครอบครัวในชมุ ชน 3. มิติการพัฒนาสิ่งแวดล้อม เนื่องจากใบมันสาปะหลัง ถือเป็นวัสดุในท้องถิ่นที่มีจานวน มาก และสามารถนามาเป็นอาหารไหมอีรี่ แต่ด้วยความไม่ทราบถึงการใช้ประโยชน์จากใบมันสังปะ หลังส่วนมากจึงถูดตัดท้ิงไปโดยดปล่าประโยชน์ รวมถึงการใช้สารเคมีโดยไม่จาเป็นในการปลูกมัน สาปะหลังของเกษตรกร ตามแนวคิดที่ว่าเพ่ือเป็นการป้องกันไว้ก่อน ซ่ึงเป็นอันตรายต่อสุขภาพและ สิ่งแวดล้อม หากมีการแนะนาการใช้งานสารเคมีที่ถูกต้องและนับระยะความเป็นพิษของสารเคมีได้ จะสามารถลดการใชส้ ารเคมแี ละสามารถนาใบมันสาปะหลงั มาเปน็ อาหารเล้ยี งไหมอีรี่ไดอ้ ีกดว้ ย ดังน้ันจึงควรมีการพัฒนาศักยภาพการเลี้ยงไหมอีร่ีผ่านกิจกรรมส่งเสริมการปลูกมันสาประ หลังปลอดสารพษิ สาหรับเลีย้ งไหมอรี ่ี เน้นกระบวนการมีส่วนรว่ มเพอ่ื งดหรือลดการใช้สารเคมี ทเ่ี ป็น พิษต่อตัวไหม ผู้บริโภค และส่ิงแวดล้อม และเกิดการหมุนเวียนเศษวัสดุธรรมชาติให้เกิดประโยชน์ สงู สุด (zero waste) โดยเนน้ หมทู่ ีเ่ ขา้ ร่วมโครงการเป็นอนั ดับแรก
Search
Read the Text Version
- 1 - 43
Pages: