Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore OP2_Full-text-_รายงานผลการดำเนินโครงการยกระดับ ต.คลองน้ำใส (1)

OP2_Full-text-_รายงานผลการดำเนินโครงการยกระดับ ต.คลองน้ำใส (1)

Published by learnoffice, 2021-01-07 03:39:35

Description: OP2_Full-text-_รายงานผลการดำเนินโครงการยกระดับ ต.คลองน้ำใส (1)

Search

Read the Text Version

รายงานโครงการยกระดับคณุ ภาพชีวติ ชุมชนและทองถน่ิ (โครงการระยะท่ี 1) ตาํ บลคลองนํา้ ใส อําเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแกว อาจารย ดร.ผมหอม เชดิ โกทา และคณะ วิทยาลัยนวตั กรรมการจดั การ มหาวิทยาลัยราชภฏั วไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ ประจาํ ปง บประมาณ 2563

ข รายงานโครงการยกระดับคณุ ภาพชีวติ ชุมชนและทองถ่นิ (โครงการระยะที่ 1) ตําบลคลองนา้ํ ใส อําเภออรญั ประเทศ จังหวดั สระแกว อาจารยด ร.ผมหอม เชดิ โกทา ผศ.ดร.สุวารีย ศรีปูณะ อาจารยดร.นภาพร สิงหน วล อาจารย น.อ.ภัชรชาติ ทูรวัฒน อาจารยอรวรรณ สทิ ธิวิจารณ อาจารยชนญั ชิตา อรุณแข อาจารยเฉลมิ พงษ จนั ทรสขุ า วทิ ยาลัยนวัตกรรมการจัดการ มหาวิทยาลยั ราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ ประจาํ ปงบประมาณ 2563

ค กิตตกิ รรมประกาศ รายงานโครงการยกระดับคณุ ภาพชีวติ ชุมชนและทองถ่นิ ส่ิงแวดลอ ม และวฒั นธรรม ในกิจกรรม สรางความรวมมือกับหนวยงานราชการท่ีเก่ียวของ ศึกษาชุมชนและจัดทําฐานขอมูล ตําบล และจัดทําแผนปฏิบัตกิ ารเพิ่มรายไดยกระดบั คุณภาพชีวิตของคนในชุมชน ตําบลคลองน้ําใส อําเภออรญั ประเทศ จงั หวัดสระแกว (โครงการระยะที่ 1) คณะผดู าํ เนนิ โครงการขอกราบขอบพระคุณ ผูวาราชการจังหวัด พัฒนาชุมชนจังหวัด และหนวยงานราชการระดับจังหวัดสระแกว นายอําเภออรัญประเทศ สํานักงานพัฒนาชุมชนอําเภออรัญประเทศ สํานักงานเกษตรอําเภอ และ หนวยงานราชการระดับอําเภออรัญประเทศ องคการบริหารสวนตําบลคลองน้ําใส คณะผูบริหาร มหาวิทยาลยั ผบู รหิ าร คณาจารย นายกองคการบริหารสว นตาํ บลคลองน้าํ ใส กํานนั ตาํ บลคลองนํ้าใส ผูใหญบานท้ัง 12 หมูท่ีใหคําแนะนํา และสนับสนุนการดําเนินโครงการ และขอขอบคุณประชาชน ตาํ บลคลองนาํ้ ใสที่ใหความรวมมือในการทาํ กิจกรรม ทาํ ใหโครงการสามารถจดั ทําแผนปฏิบตั กิ ารเพิ่ม รายไดย กระดับคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน ตําบลคลองนํา้ ใส อําเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแกว (โครงการระยะท่ี 1)ไดส าํ เรจ็ ลุลว งไปดวยดี อาจารยด ร.ผมหอม เชิดโกทา และคณะ วิทยาลยั นวัตกรรมการจัดการ ปพ ทุ ธศักราช 2563

สารบัญ หนา กิตติกรรมประกาศ ค สารบัญ ง สารบญั ตาราง จ สารบญั ภาพ ฉ สว นที่ 1 บทนาํ 1 สว นท่ี 2 ผลการศึกษาชุมชนเบื้องตนในระดับตําบล 6 สว นที่ 3 ผลการวิเคราะหศกั ยภาพ ปญหา/ความตองการ และประเด็นการพัฒนาเชิงพ้ืนที่ 29 3.1 ผลการวเิ คราะหศ ักยภาพในการพัฒนาตาํ บล 24 3.2 แผนท่ีแสดงศักยภาพดา นตา งๆ ของแตละหมูบานในตาํ บล 27 3.3ปญหาและความตอ งการในพืน้ ทีต่ ําบล 28 3.4ประเดน็ การพฒั นาเชงิ พนื้ ทต่ี าํ บล 29 สว นที่ 4 รปู แบบการพัฒนาชุมชนนวัตกรรม 38

สารบัญตาราง หนา ตารางที่ 11 1 เขตการปกครอง 12 2 รายงานสถิติจํานวนประชากรของตาํ บลคลองน้าํ ใส 12 3 จาํ นวนประชากรแยกรายอายุตาํ บลคลองนาํ้ ใส 14 4 โรงเรยี นสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน 5 บัญชีสายทางโครงขายทางหลวงทองถน่ิ 16 6 องคก ร/กลุมอาชีพในตําบลคลองนํ้าใส 19 7 อุตสาหกรรมและหัตถกรรม 8 การแพทยแ ผนไทย 21 9 ดา นศลิ ปกรรม 22 10 ดา นภาษาและวรรณกรรม 22 11 ดา นปรชั ญา 22 22

จ สารบัญภาพ หนา ภาพท่ี 4 1 การลงพืน้ ทศี่ กึ ษาชมุ ชน 9 2 แสดงแผนที่ ท่ีต้งั และอาณาเขตตาํ บลคลองน้ําใส 27 3 แผนที่แสดงศกั ยภาพดานตา งๆ ของแตล ะหมูบ า นในตาํ บล 38 4 รปู แบบการพัฒนาชมุ ชนนวัตกรรมตาํ บลคลองนาํ้ ใส อําเภออรัญประเทศ 5 แผนท่ีจดุ ตําบลคลองน้าํ ใส อ.อรญั ประเทศ 39 6 ชมุ ชนนวตั กรรมครัวเรือนพอเพยี ง 39

สวนที่ 1 บทนํา 1.1 หลกั การและเหตุผล ตามท่ีภาครัฐไดเช่ือมโยงเปาหมายการพัฒนาท่ีย่ังยืนของสหประชาชาติเขากับ แผนยุทธศาสตรชาติ 20 ป ของประเทศไทย และยุทธศาสตรเกษตรและสหกรณ 20 ป ระหวาง ป 2560 ถึง ป 2579 โดยนอมนําเอาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงท่ีเนนการพัฒนาแบบยั่งยืน โดยคํานึงถึงส่ิงแวดลอมที่อยู และใชหลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดชบรมนาถบพิตรมาเปนแนวทางในการดําเนนิ นโยบาย เพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิต และยกระดับ รายไดข องประชาชน แกไขปญหาเชิงโครงสรางการผลติ ภาคเกษตรเสริมสรางความมัน่ คงทางอาหาร พัฒนาโภชนาการและความปลอดภัยดานอาหาร เพื่อนําไปสูความม่ันคง มั่งคั่ง และย่ังยืน ของประชาชนและประเทศชาติ ซ่ึงสมเด็จพระเจาอยูหัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร รัชกาลที่ 10 ทรงมีพระปณิธานแนวแนท่ีจะสานตอโครงการในพระราชดําริของพระราชบิดา เพอื่ ชวยเหลอื ประชาชนใหมีคณุ ภาพชวี ิตที่ดีข้ึน มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ เปนมหาวิทยาลัย ท่ีพระราชาประสงคใหเปนมหาวิทยาลัยเพ่ือการพัฒนาทองถ่ิน ตามพระราชบญั ญตั ิมหาวิทยาลัยราช ภัฎ พ.ศ. 2547 มาตรา 7 ที่ระบุใหมหาวิทยาลัยเปนสถาบันอุดมศกึ ษา เพื่อการพัฒนาทองถิ่นเสริม พลังปญญาของแผนดิน ซึ่งสอดคลองกับแผนยุทธศาสตรเพื่อยกคุณภาพมาตรฐานมหาวิทยาลัยราช ภัฎสคู ุณภาพเปนเลศิ โดยมุงเนนการพัฒนาคุณภาพบัณฑิตสนู ักปฏิบัติอยา งมอื อาชพี การยกคุณภาพ มาตรฐานชีวิตของชุมชน ทองถ่ิน และพ้ืนที่ใหมีความเขมแข็งและยั่งยืน พรอมท้ังสอดคลอง กับยุทธศาสตรมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ ในประเด็นยุทธศาสตรที่ 3 การพัฒนางานพันธกิจสัมพันธ และถายทอด เผยแพรโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดําริ โดยมีกลยุทธในการสรางเครือขายชุมชนนักปฏิบัติจากภายในและภายนอกเพื่อรวมกันศึกษาแกไข ปญหาของชุมชนทองถิ่นและเสริมพลังใหชมุ ชนทองถ่ินสามารถดํารงอยูไดอยางยงั่ ยืน ใหค วามสําคัญ ในการพฒั นาชุมชน และทอ งถนิ่ ดังน้ัน วิทยาลัยนวัตกรรมการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมถ จึงไดจัดทําโครงการยกระดับคุณภาพชีวิตชุมชนและทองถิ่น ในพ้ืนท่ี ตําบลคลองน้ําใส อําเภออรัญประเทศ จังหวดั สระแกว โดยมเี ปาหมายเพื่อใหคนในชมุ ชนสามารถบริ หารจัดการชีวิตตนเองไดอยางสมดุลและมีความเหมาะสม สามารถดํารงชีวิตตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพยี ง รว มกับการสงเสริมภูมิปญญาทองถิ่น เพ่ิมคุณคาและมลู คา เสริมเศรษฐกิจฐาน

2 รากในชุมชนใหมีความ เขมแข็ง มั่นคง นําไปสูการพ่ึงพาตนเองและชวยเหลือเก้ือกูลกันในชุมชนได อยางยั่งยนื สงผลใหชุมชนหมบู า นมีคณุ ภาพชวี ติ และรายไดท่ีเพ่ิมขึ้น 1.2 วัตถุประสงคของการสาํ รวจลงพ้ืนทชี่ ุมชนในระดบั ตําบล และกลมุ เปาหมาย 1) เพื่อสรางความรวมมือกับเครือขายประชารัฐ อาทิ สวนปกครองอําเภออรัญ ประเทศพฒั นาการอาํ เภอ เกษตรอาํ เภอ องคการบรหิ ารสว นตําบลคลองน้ําใส กาํ นัน ผใู หญบ า น และ หนวยงานเอกชนในพ้ืนท่ีที่มีสวนเกี่ยวของกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตชุมชนตําบลคลองนํ้าใส อําเภอ อรญั ประเทศ จงั หวัดสระแกว 2) สํารวจบริบทชุมชน ครัวเรือนเปาหมาย และจัดทําฐานขอมูลตําบลคลองน้ํา ใส อาํ เภออรัญประเทศ จังหวัดสระแกว 3) เพื่อจัดทําแผนปฏิบัติการเพิ่มรายได ยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน ตําบล คลองน้ําใส อาํ เภออรญั ประเทศ จงั หวัดสระแกว 1.3 ขอบเขตการสํารวจลงพื้นท่ชี ุมชนในระดับตําบล และกลุมเปาหมาย กลุมเปาหมาย ประชาชนในพ้ืนท่ีชุมชนหมูท่ี 1-12 ตําบลคลองนํ้าใส อําเภออรัญ ประเทศ จังหวดั สระแกว ผเู ขารวมโครงการ ประชาชนตาํ บลคลองน้ําใส ระยะเวลาดําเนนิ โครงการ เดอื นพฤศจิกายน 2562 ถงึ เดอื นมกราคม 2563 1.4 วธิ กี ารดําเนินการสาํ รวจความตองการของชุมชนในระดับตําบล และกลมุ เปาหมาย การดําเนินโครงการคณะผูดําเนนิ การมงุ เนน การสรา งกรอบปญ หาและความตอ งการ ของชุมชนระดับตําบล เพ่ือกําหนดแผนปฏิบัติการแบบมีสวนรวมของชุมชนในการวางแนวทางลด ปญหาความยากจนของประชาชนและยกระดับขีดความสามารถของเศรษฐกิจรากฐาน การจัดการ ส่ิงแวดลอม และวัฒนธรรม ตําบลคลองนํ้าใส อําเภออรญั ประเทส จังหวัดสระแกว วิธีการการดําเนิน แผนงานเนนไปท่ีการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีสวนรวม (Participatory Action Research) ซึ่งเปน การบูรณาการการวิจัยแบบมีสวนรวม (Participatory Research) และการวิจัยเชิงคุณภาพ (Quantitative Research) เพ่ือใหไดมาซึ่งแผนพัฒนาชุมชนท่ีจะสามารถลดความเหลื่อมล้ําในการ ยกระดับรายไดของประชาชนนวัตกรรมและกระบวนการทางความคิดสรางสรรคที่จะเพ่ิมมูลคา ทรัพยากรที่ไมกอประโยชนในชุมชนใหเกิดประโยชนอันสงผลใหประชาชนมีรายไดท่ีเพิ่มสูงขึ้น

3 กระบวนการลดปญหาความยากจนทเ่ี หมาะกบั การเขา ถึงของประชาชนทุกวัยไดอยางทว่ั ถึงและยั่งยืน และเผยแพรอ งคความรสู ปู ระชาชนกลมุ อ่ืนๆ ไดโดยมขี ั้นตอนดังตอ ไปนี้ 1. สรางความรวมมือกับหนวยงานราชการท่ีเก่ียวของ ดําเนินการกําหนดเวลาใน การลงพ้ืนท่ีเพ่ือศึกษาขอมูลและยกระดับพัฒนาคุณภาพชีวิตชุมชนและทองถิ่น โดยการประชุม รวมกับนายอําเภออรญั ประเทศ พฒั นาการอาํ เภอ เกษตรอําเภอ เพื่อสรา งความเขาใจกับเจาของพื้นท่ี เปนการชี้แจงวัตถุประสงคในการดําเนินโครงการ ในการขอความรวมมือจากหนวยงานภาครัฐและ ปรึกษาหาทิศทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนตาํ บลคลองน้ําใส ไดแก นายอําเภอ สวนงาน ปกครองอําเภอ พัฒนาการอาํ เภอ เกษตรอําเภอ ณ ท่ีวาการอําเภอคลองน้ําใส จังหวัดสระแกว เขา พบกํานัน และเขาพบนายกองคการบริหารสวนตําบลคลองน้ําใส เพ่ือขอปรึกษาหารือเก่ียวกับทิศ ทางการดําเนินโครงการ และขอขอมูลพ้ืนฐานของตําบลเบ้ืองตน และมีการประชุมผูนําหมูบานใน ตาํ บลคลองนํา้ ใส ดังภาพที่ 1.1

4 2. ศึกษาชุมชนและจัดทําฐานขอมูลตําบล ดําเนินการประมวลผลรวบรวมขอมูล จากเอกสารฐานขอมูลท่ีเก่ียวของกับชุมชนของตําบลคลองน้ําใส โดยใชขอมูลจากฐานขอมูลตําบล คลองน้ําใส จัดประชุมผูนําชมุ ชนท้ังตําบลคลองนํ้าใส ไดแก ผูใหญบานและผูนําชุมชนรวมหมูละ 2 คน เพ่อื วางกรอบในการพัฒนารวมกันรวมทง้ั คัดเลือกกลุมเปาหมายในการพัฒนาศึกษาพื้นที่ โดยการ สัมภาษณผูใหญบานท้ัง 12 หมูในตําบลคลองน้ําใส เพ่ือเก็บรวบรวมขอมูลภาคสนามจากพื้นท่ีของ ตําบลรวมกับเครือขายประชารัฐ 2 คร้ัง ในการเก็บขอมูล OP3 รวมท้งั ศึกษาบริบทชมุ ชนในภาพรวม ศึกษา ประเมินศักยภาพ ปญหา จัดทําฐานขอมูลตําบล (OP2 และ OP3) และประชุมเชิงปฏิบัติการ แบบมสี ว นรว มเพื่อหาปญหาและความตองการของชุมชน (PAR) ดังภาพท่ี 1.2 ภาพการประชุมผใู หญบ านตําบลคลองน้ําใส ผใู หญหมูที่ 1 ชุมชนหมูท่ี 1 ตัวแทนผูใหญหมทู ี่ 2 ผชู ว ยผใู หญ หมูท ี่ 4 หมทู ี่ 5 หมูท่ี 6

5 หมูท ี่ 7 หมทู ี่ 8 ผใู หญหมูที่ 9 ชมุ ชนหมทู ่ี 9 ผูใ หญหมทู ่ี 10 ผใู หญหมูที่ 11 ผูใหญหมูท่ี 12 ชมุ ชนหมทู ่ี 12 ภาพที่ 1 การลงพืน้ ที่ศกึ ษาชุมชน การจดั ทําแผนปฏิบัติการเพ่ิมรายไดยกระดับคณุ ภาพชีวิตของคนในชุมชนเคร่ือง มือท่ีใชการสํารวจความตองการของชุมชนในระดับตําบลและกลุมเปาหมายการดําเนินโครงการ เก็บขอมูลพื้นฐานชุมชนจากหนวยงานราชการระดับจังหวัด อําเภอ และตําบล ซ่ึงเปนขอมูลทุติยภูมิ นําขอมูลที่ไดวางแผนลงพื้นที่เพื่อเก็บขอมูลปฐมภูมิ โดยใชแบบสัมภาษณเจาะลึกแบบมีโครงสราง (OP3-2)แบบสอบถาม (OP3-1) การสนทนากลมุ การสังเกต แบบสํารวจขอ มลู แผนผงั ชุมชน โอง ชวี ิต เสนประวัติศาสตร ปฏิทินวัฒนธรรม ผังทรัพยากร แผนภูมิฤดูการผลิตทางการเกษตร และแผนผงั เครอื ญาติ เปนตน

6 สวนที่ 2 ผลการศกึ ษาชุมชนเบือ้ งตนในระดับตําบล 2.1 ขอ มูลทั่วไปของชุมชนในระดับตําบล 2.1.1 ประวตั ิศาสตรค วามเปน มาของตาํ บลคลองนา้ํ ใส เดมิ ทเี ดียวหมบู านนต้ี งั้ อยูริมฝงคลองน้าํ ใส ทางทศิ ตะวนั ออกอพยพมาจากเมืองเวียง จนั ทรหลวงพระบางประชาชนเปนคนไทยนอย อพยพทาํ มาหากินยอนจากทางเดนิ ทับหลวงมาทางใต ตั้งแตพระยามหากษัตริยศึกเปนแมทัพยกกองทัพไปตีเมืองเวียงจันทรหลวงพระบางแตก ทรงอันเชิญ พระแกว (พระแกวมรกต) พระบางขึ้นหลังชางเขาสูบางกอก (กรุงเทพมหานคร) ประชาชนกกนี้ได อพยพมาพรอ มกันอีกหลายกลุม มีกลมุ ไทยใหญ ไทยนอ ย ไทยยอย อพยพมาพรอมพระแกวพระบาง หลกี ทางทัพหลวงมาทาํ มาหากิน ต้ังถ่ินฐานบานเรอื นอยูหลายแหง ๆ ละ 10,20,30,40 ป ลนถอยมา เร่อื ยๆ จนถงึ ฝงตะวันออกคลองนํ้าใสไทยเดิม เรียกวาหวยใส เพราะวาน้ําในคลองน้ีไหลมาจากภูเขา ทองน้ําจึงใสไหลเย็นสามารถมองเห็นตัวปูปลา มีเพื่อนบานที่อพยพมาพรอมกันหลายหมูบาน เชน บานกุดโดน กุดสะเทียน เหลาคา นานอย ยางเด่ียว อยูกันอยางสุขสําราญอยางพ่ีอยางนองปกครอง กันดวยความสามัคคธี รรมเปนเวลาชานานหลายป จนถึงสมัยเมอื งเวียงจันทรหลวงพระบาง โพธิสตั ว พระตะบอง นครจําปาสัก เสียมราฐ ศรีโสภณ มงคลบุรี เขมร ลาว ยังเปนเมืองข้ึนของเรา ฝรั่งยก กองทัพยึดเมืองจันทบุรี และปดปากอาวไทยไวเปนประกัน ไดสง ม.ปาวี มาเจรจาไกลเ กลี่ยเจาเมือง ลาวและเขมรใหอยูใตอารักขา เม่ือป พ.ศ. 2449 ฝรั่งเศสไมยอมถอนกําลังจากเมืองจันทบุรีปด ปากอาวไทยไว บงั คับใหพ ระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา เจาอยูหัว ยอมใหลาวและเขมรอยูใตอารักขา และบังคบั ใหพระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลาเจา อยูหัวทรงตอมรับภายใน 48 ช่ัวโมง พระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงเห็นวาฝรั่งเศสเปนชาติมหาอํานาจมีกําลังมากกวา จะคัดคา นก็จะเขา ทํานอง ตีนชางเหยียบปากนก เสียนอยเสียยาก เสียมากเสียงาย กลานักมักบนิ่ ดงั คาํ พังเพยที่วา ไม ออนบอหอนหัก ดังตัวอยาง ประเทศพมา อินเดีย มีประชากรนับรอยลานยังตกเปนเมืองข้ึนของ อังกฤษ พระองคจึงยอมยกใหลาว เขมร พนมเปญ เวียงจันทร หลวงพระบาง โพธิสัตว พระตะบอง นครจําปาสัก เสียมราฐ ศรีโสภณ มงคลบุรี ใหแกฝร่ังเศสเพ่ือแลกเอาสวนใหญและเอกราชเอาไว ฝร่ังเศสจึงจัดแบงอาณาเขตเอาตามใจชอบ ตรงไหนมีภูเขาก็เอายอดภูเขาท่ีสูงท่ีสุดเปนหลักเขต ตรงไหนมีลําคลองก็ถือเอากลางนํ้าเปนเขตแดน ตรงไหนไมมีภูเขาและแมน้ําลําคลองก็ใชหลักศิลา จารึกทําดวยปูนซิเมนตคอนกรีตสี่เหลี่ยมกวาง 1 เมตร ยาว 1 เมตร 50 เซนติเมตร ปกหางกัน ประมาณ 1 กิโลเมตร ถ่ีกวานั้นบางเปนระยะๆ ลงมาทางทิศใตเปนลําดับ ทางตะวันออกจารึกวา ประเทศกัมพชู า ดานทิศตะวนั ตกจารึกวาประเทศสยาม ตรงลงมาทางทศิ ใตลงมาถึงคลองลึก ซง่ึ อยูใ น เขตเขมรโนนท่ีชาวเขมรเรียกวา โอชเลา ตรงไปใสเกาะกง ฝรั่งเศสไมพอใจจึงยอนรอยถอยหลังไป

7 เพราะเสียมราฐ พระตะบอง ศรโี สภณ มงคลบุรี ก็ยังเปนของเรา ฝรั่งเศสไมพ อใจใชอํานาจมาถือเอา คลองเลก็ ๆ ทีไ่ หลลงคลองพรมโหสถ เรียกวา คลองลึก แลวถือเอาคลองพรมโหสถไปจนสุดคลองถึง แหลมหนองเอ่ียนท่ีคลองน้ําใสไหลลงไปบรรจบ แลวถือเอาคลองน้ําใสไปถึงขึ้นภูเขาทองจังหวัด จันทบุรเี ปน คลองเขตแดนตามลําดับ บา นกุดโดน กุดสะเทียน เหลาคา นานอย ยางเด่ียว ต้งั อยูริมฝง คลองน้ําใสทางทิศตะวันออกตองตกเปนของเขา การสํารวจสํามะโนครัวประชากรคร้ังแรก ฝรั่งพูด ภาษาไทยไมชัดไทยยอยเปนไทยญอ จึงเรียกตัวเองวาไทยญอมาตลอด ไทยยอยไทยญอ อันมีเชื้อสาย มาจากไทยนอยไมเคยเปนเมืองขึ้นและข้ีขาทาสใคร มีความรักสมัครสมานสามัคคีเปนอันหนึ่งอัน เดียวกัน และรักความเปนไทย แตไหนแตไรมามีอุปนิสัยสืบเนื่องมาจากบรรพบุรุษหัวหนาผูนําพา อพยพ แตทานไดถึงแกกรรมเสียชีวิตแลวแตอยูโพธิสัตว มีชื่อวา หลวงคลังมหาดไทยถึก แลวจึงได อพยพขามฝงคลองน้ําใสมาต้ังเปนหมูบาน อาทิเชน บานใหมปากฮอง บานจุกหลุก (แสนสุข) บาน หวยใสใน (คลองน้าํ ใส) บา นหนองผักกาดฮอง (ผักกาดฮอง) มารวมกนั อกี กลุมหนง่ึ ซ่ึงเรียกตัวเองวา ไท โซ อพยพขามฝง คลองนา้ํ ใสตั้งเปนหมูบานทบั ใฮ ทา เกด ขณะนัน้ เปนหลายหมบู านจึงไดแตง ตั้งใหเปน ตําบลขน้ึ เปนตาํ บลทา เกดสมยั รัชกาลที่ 5 คนบา นทา เกดไดรบั แตงต้ังเปนขุนเจา เมือง เรียกวา ขุนพินิจ โวหาร ขุนพิจารณแจงเจตน ขุนไตรเทศดาวเรืองขุนเจาเมืองรักไพร ขุนเจาเมืองรักไพรเปนคนบาน หวยใสในตระกูลเกตุสายเมืองอยูทุกวันน้ี ตอมาขุนพินิจโวหาร ขุนพิจารณแจงเจตน ขุนไตรเทศ ดาวเรือง ไดถึงแกกรรมลงทางการจึงไดแตงตัง้ ใหขุนเจาเมืองรักไพรเปนเจาเมืองแทน ตอ มาไมนานก็ ถงึ แกกรรมแลว ไดแตงตงั้ ใหนายท้ึงเปนกํานันตาํ บลทา เกด ตอมานายทง้ึ ไดถงึ แกกรรมจึงไดแตงต้ังนาย วรรณาเปนกํานันอยูบานหวยใสใน ตอมาไดเปล่ียนตําบลทาเกดเปนตําบลคลองน้ําใสจนถึงปจจุบัน คนรนุ เกายังคงเหลืออยแู ตน ายสิบจําปา หรือนายสิบสาลี ไดเ ปลี่ยนชอื่ หมบู านหว ยใสในเปนบา นคลอง น้ําใสจนตราบเทาทุกวันนี้ เปนคนตนตระกูลพลอยมาลี ตอมาเมื่อป พ.ศ. 2518 ประเทศกัมพูชาได เกดิ แตกแยกเปน หลายฝายไดมีทหารกลุมหนึ่งซึ่งมียศเปนนายพล ชื่อนายพลอนิ ตํา ไดม าตงั้ กองกําลัง พลอยูตรงขามบา นใหมปากฮอ ง ไดใ หทหารชวยกันทาํ นาเพราะพื้นท่ีแหง นี้เปนที่ทาํ นาของพี่นองบาน ใหมและบานแสนสุขมากอนเปน พ้ืนที่อุดมสมบูรณเ ปนที่ลุมเหมาะแกการทํานาเปนอยางดี ในชวงน้ัน ยังไมมีเหตุการณรุนแรง ในชวงตอมาไดมีเขมรอีกกลุมหน่ึง เรียกตนเองวาเขมรแดงไดมาขับไลเขมร กลุมของนายพลอินตําจนแตกกระเจิงไป เมื่อป พ.ศ. 2519 เขมรแดงไดเร่ิมออกทําการกอกวนตาม แนวชายแดนไดทําลายทํานบเหมืองฝายตามแนวเขตแดน ตั้งแตบานหนองปรือจนถึงบานใหมปาก ฮอ งรวม 8 , 9 แหง แลวเร่ิมตรวจตราตามแนวชายแดนอยา งเครงคดั ไดจับคนไทยทีเ่ ขาไปทาํ มาหากิน ฝงโนนหลายคน บางคนก็ถูกฆาตัดหัวไป บางคนก็หายสาบสญู ไปเหตุการณไดทวีความรุนแรงเพ่ิมข้ึน ทุกวันเขามาปลนสะดมชาวบานตามแนวชายแดน กลางคืนลักลอบเขามาปลนทรัพยสินและฆา เจา ของแมแตเด็กเล็กผูเฒาผชู ราและผูหญิงมีครรภก็ไมเวน หมูบา นตามแนวชายแดนไดจัดฝกอบรม อาสาพัฒนาตนเอง และไทยอาสาปองกันชาติขึ้นจัดตั้งเปนศูนยอํานวยการจัดเวรยามเฝาระวังอยาง

8 เขม งวดจดั เวร ๆ ละ 1 วัน เรม่ิ แตวนั อาทติ ยถงึ วนั เสารวนั ละไมน อยกวา 15 คน เปนประจํา ไดร ับการ สนับสนนุ อาวุธปน ลูกซองจากทางอําเภอ และปส.บ. ปลย.ป. จากทางหนวยทหาร เหตุการณไดทวี ความรุนแรงยงิ่ ข้ึนเขมรแดงไดเขามาเผาบาน โรงเรียน สถานตี าํ รวจทาํ ลายวัดวาอาราม สถานอี นามัย ในชว งตอมาเม่ือป พ.ศ. 2520 เขมรแดงไดใชปนใหญยิงถลมหมูบานตามแนวชายแดนหนักขึ้นทุกวัน ทง้ั กลางวนั และกลางคนื จะมีเคร่อื งบนิ ไทยและเครื่องบนิ เขมรขึ้นบินตรวจการณอยูทกุ คนื บางครง้ั ก็มี การตอสกู ันทางภาคพื้นดนิ และทางภาคอากาศ โดยใชเคร่ืองถลมกันตามแนวชายแดนจนเปน เหตุทํา ใหไ ทยเราตองสูญเสียเครื่องบนิ ไป 1 ลํา เปน เครอ่ื งบินอยางขับไลทิ้งระเบดิ ตกที่ฝงเขมร เปน เคร่อื งบิน โอ วี 10 และท่ีวัดเขานอย ยังถูกทิ้งระเบิดขนาด 500 ปอนด อีก 2 ลูก ทางวัดเขานอยไดรับความ เสียหายโดยเฉพาะศาลาการเปรียญตองซอมใหมท้ังหลังและกุฏิอีก 1 หลัง ไดรับความเสียหายสวน ประชาชนที่อพยพมาอาศยั อยูทวี่ ัดเขานอย คือบานผักกาดฮอง และบานสลองคอง พรอมทั้งนักเรียน บานผักกาดฮองไมไดรบั อันตรายแตอยางใด หมูบานคลองนํ้าใสจึงเปน เหตุบานแตกสาแหลกขาดได อพยพออกไปปลูกกระตอบอาศัยอยูตามไรนาปาสวน ทางราชการเห็นวาไมปลอดภัยตอชีวิตและ ทรัพยสินจึงไดจัดท่ีอยูอาศัยใหครอบครัวละ 2 งาน ที่โคกดานทุกวันน้ีซ่ึงเปนท่ีสงวนไวเปนทุงหญา เลีย้ งสัตวของ หมูบาน วัด โรงเรยี น สถานอี นามัย กไ็ ดยา ยออกมาเปน ลาํ ดับมา อยูกันนานหลายปเ ปน กลุมใหญข้ึนจึงขอแยกหมูบานเปนหมูท ี่ 15 ตอมาไดขอแยกตําบลคลองนํ้าใส ออกเปน 3 ตาํ บล คือ ตาํ บลคลองนํา้ ใส ตาํ บลผานศกึ ไดเรียงลําคบั หมบู านใหมของตําบลคลองนาํ้ ใส หมูท่ี 15 เปน หมทู ี่ 1 ตอมาไดขอแยกหมูบานอีกเพ่ือสะดวกในการปกครอง เปนหมูท่ี 9 บานทุงรวงทอง และตอมาได สํารวจวาประชากรของหมูท่ี 1 มจี ํานวนมาก ก็ไดแ ยกหมูบานจากหมูท่ี 1 ออกอีก คือ หมูท่ี 11 บา นศรีวไิ ล ปจจุบันมี 12 หมูบ าน จนทุกวันน้ี โดยรายนามผนู าํ หรอื ผูท ไี่ ดร บั แตงต้ังเปน ผูใหญบ านคลองนํ้าใสดงั มีรายช่ือตอไปน้ี 1. นายสบิ จําปาหรอื นายสิบสาลี 2. นายทอก พลอยมาลี 3. นายเคน พลอยสารี 4. นายสิงห เพมิ่ จรัส 5. นายบญุ มา จันทะเคลอ่ื น 6. นายนอ ยสทุ ธโสม 7. นายแดง ถนอมจติ ต 8. นายเชอื้ จงเจริญ 9. นายบญุ เกษสี 10. นายสวุ ัฒน แกมนิล 11. นายวิรตั น แกมจินดา 12. นายสงิ ห จันทะเคลอ่ื น 13. นายสที า บัวคําศรี 14. นายพรมมา แกว โกมล 15. นายบญุ ลาส ศรีจนั ทร 16. นายธรรมนูญ รัตนศิล โดยรายนามผูน ําหรอื ผูที่ไดรบั แตง ต้ังเปน กาํ นนั ตําบลคลองนาํ้ ใส 1. นายพฒุ ิ แกมนิล 2. นายเหวยี น แดงออน 3. นายเหลือ เพ่มิ จรสั 4. นายพรมมา แกวโกมล 5. นายพรมมา บัวคาํ ศรี 6. นายอรุณ เชื้อกลิน่ 7. นายบุญเกดิ สะพนั คนปจจบุ ัน

9 2. ดานกายภาพ 2.1 ทต่ี ้งั ของตําบล องคก ารบรหิ ารสวนตําบลคลองนํ้าใส ตดิ ชายแดนไทย – กัมพูชา ต้ังอยูทาง ทศิ ตะวนั ออกเฉียงใตข องอําเภออรัญประเทศ ระยะหางจากอําเภออรัญประเทศประมาณ ๑๔ กิโลเมตร ทิศเหนือติดกบั องคก ารบริหารสวนตําบลฟากหว ยและองคการบริหารสว นตําบลทา ขาม - ทิศใตตดิ กับประเทศสาธารณรัฐกัมพูชา - ทศิ ตะวันออกตดิ กับองคการบริหารสวนตําบลทาขามและประเทศ สาธารณรัฐกัมพชู า - ทิศตะวนั ตกตดิ กับองคการบรหิ ารสวนตําบลผานศึกและประเทศสาธารณรฐั กัมพชู า ภาพที่ 2 แสดงแผนท่ี ทีต่ ั้งและอาณาเขตตําบลคลองน้ําใส

-10- 2.2 ลกั ษณะภูมปิ ระเทศ สภาพพ้ืนท่ีเปนพ้ืนท่ีลาดเอียงท่ีราบเชิงเขาพ้ืนที่สาธารณะ,พื้นท่ีปาโดยรอบเขานอยสีชมพู และมีลาํ คลองตามธรรมชาติกั้นพรมแดนไทย – กมั พูชามีความยาวประมาณ ๘ กิโลเมตร ความกวางไมมากนัก สภาพพนื้ ที่สว นใหญเปน ดนิ เหนียวและดินปนทรายมแี หลงนํา้ ดีซึง่ เหมาะแกการทําการเกษตรครบวงจร และทํา ไรทําสวนผลไมเนื่องจากเปนตาํ บลท่ีอยูติดกับประเทศกัมพูชาจึงมีการติดตอคาขายระหวา งประเทศและมีการ แลกเปล่ียนสินคากันอยูเสมอ มีแหลงทองเที่ยวโบราณสถานเหมาะแกการเปนแหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศ ระยะทางหางจากอําเภออรัญประเทศประมาณ ๑๔ กิโลเมตรเปนถนนลาดยางไปมาสะดวก ทุกๆปจ ะมีงาน ประเพณแี หหอปราสาทผึ้งของชาวไทยญอ ประชาชนสวนใหญเปน ชาวไทยญอ ซ่ึงขยนั และประหยดั หมูบานทั้ง ๑๒ หมบู านมีพนื้ ทไ่ี มห า งกนั มากนัก มพี ้ืนทท่ี ง้ั หมด 66.95 ตารางกโิ ลเมตร 41,837 ไร 2.3 ลักษณะภูมิอากาศ - ฤดูรอนเรม่ิ ตั้งแตเดือนมีนาคมถงึ เดอื นพฤษภาคมจะรอนจัดในเดอื นเมษายน - ฤดูฝนเรม่ิ ตั้งแตเดือนพฤษภาคมถงึ เดอื นตุลาคม ฝนจะตกชกุ ในเดือนสงิ หาคม - ฤดหู นาวเริม่ ตง้ั แตเดือนพฤศจิกายนถึงเดอื นกุมภาพันธจะหนาวจัดในเดอื น ธันวาคมและเดอื นมกราคม 2.4 ลักษณะของดิน ลักษณะของดินเปนดินเหนียวปนทรายมีแหลงน้ําที่มีอยูตามธรรมชาติไมสามารถเกบ็ กักนํ้าไว ใชไดตลอดป พื้นที่สว นใหญจึงใชน ํ้าฝนเปนหลกั ในการทาํ การเกษตร 2.5 ลักษณะของแหลงน้ํา ประชาชนในตําบลอาศัยแหลงนํ้าจากคลองกั้นพรมแดนตามธรรมชาติ และพื้นท่ีตําบลอยูสูง กวาประเทศเพ่ือนบานแตมีปญหาไมมฝี ายระหวางประเทศท่ีถาวรเก็บกักน้ําไวใชในหนาแลง มักมีปญหาการ แยง นาํ้ กบั ประเทศเพื่อนบา นแหลงน้ํามไี มเ พียงพอ แหลงนํา้ ธรรมชาติ - ลาํ นํ้า และ ลําหวย จํานวน ๗ แหง แหลง นาํ้ ทีส่ รางขึ้น - ฝาย จํานวน ๒ แหง - บอ น้ําต้นื จํานวน ๓๕๗ แหง - บอโยก จํานวน ๖๒ แหง - บอบาดาล จาํ นวน ๖๗ แหง - สระ จาํ นวน ๑๗ แหง - คลองชลประทาน จาํ นวน ๒ แหง 2.6 ลักษณะของไมและปาไม ตําบลคลองนํ้าใสมีปาไมท่ียังอุดมสมบูรณ โดยเฉพาะบริเวณเขานอยสีชมพูซึ่งเปนแหลง ทอ งเทีย่ วสาํ คญั ของตาํ บลคลองน้ําใสและจงั หวัดสระแกวอีกดว ย

-11- 3. ดา นการเมอื ง/การปกครอง 3.1 เขตการปกครอง องคการบริหารสวนตําบลคลองนาํ้ ใส ประกอบดวยหมูบา นจํานวน ๑๒ หมบู าน มีพื้นทีอ่ ยูใน องคก ารบริหารสว นตําบลเตม็ ทั้ง ๑๒ หมบู า น ดงั น้ี หมูท ี่ ผูป กครอง ตาํ แหนง จํานวนครัวเรอื น หมูท ่ี 1 บานคลองนา้ํ ใส นายอาทิตย พยาวัง ผูใหญบ า น 127 หมทู ่ี 2 บานเขานอยนํ้าซบั นางโชตภิ คั ตรสั ศรี ผใู หญบา น 102 หมูที่ 3 บานสลองคอง นายเฉลียว กิจสมบรู ณ ผใู หญบ า น 154 หมทู ่ี 4 บา นกดุ หิน นายสรุ ชาติ ชายสาํ โรง ผใู หญบา น 289 หมูท่ี 5 บา นผักกาดฮอง นายสวุ ชิ า เกดิ น้ําใส ผูใ หญบ าน 103 หมทู ี่ 6 บา น อพป.คลองนาํ้ ใส นายธรรมนญู รัตนศลิ ผใู หญบ า น 130 หมทู ่ี 7 บา นแสนสขุ นายบุญเกิด สะพัน กาํ นนั ตําบลคลองนา้ํ ใส 195 หมูที่ 8 บานใหมปากฮอง นายอรญั ชัย แกมจนิ ดา ผใู หญบ า น 51 หมทู ่ี 9 บา นทุงรวงทอง นายจํารูญ รุนสีงาม ผูใหญบ า น 133 หมทู ี่ 10 บานเขานอ ย นายประสิทธิ์ สระเจริญ ผูใ หญบาน 154 หมทู ่ี 11 บา นศรีวิไล นายโกวิท เชื้อปด ตา ผใู หญบ าน 195 หมทู ่ี 12 บานเนินสมบรู ณ นายธงรบ บานเย็น ผูใหญบาน 134 รวม 1,767 ตารางที่ 1 เขตการปกครอง 3.2 การเลอื กตั้ง องคการบริหารสวนตําบลคลองน้ําใส มที ง้ั หมด 12 หมบู า น แบง เปน 12 เขตเลือกตั้ง โดย มกี ารเลอื กตง้ั ผูบ รหิ าร และสมาชิกสภาองคก ารบริหารสวนตําบล ในป พ.ศ. ๒๕๕6 รายละเอยี ดดงั น้ี จาํ นวนผูมสี ิทธิเลอื กตั้ง ผูมีสิทธิเลือกตั้งนายกองคการบริหารสวนตําบล จํานวน 3,964 คน มีผูมาใชสิทธิเลือกต้ัง จํานวน 3,091 คน คดิ เปน รอ ยละ 77.98 ผูมีสิทธิเลือกตั้งสมาชิกสภาองคการบริหารสวนตําบล จํานวน 3,964 คน มีผูมาใชสิทธิ เลอื กตง้ั จํานวน 3,091 คน คดิ เปนรอยละ 77.98 (ขอมลู เมอื่ วนั ที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕6) การเลือกตั้งผูบริหารและสมาชิกสภาองคการบริหารสวนตําบล ในป พ.ศ. ๒๕๕6 พบปญหา คือการแขงขันทางการเมืองคอนขางสูง มจี ุดท่ีนาสังเกตคอื มกี ารยายเขายายออกชวงทจี่ ะมีการเลือกตั้ง ไมวา จะเปนการเลือกผูใหญบาน สมาชิกสภา นายกองคการบริหารสวนตําบล โดยเฉพาะ การคัดเลือกผูใหญบาน การแกไขปญหาขององคการบริหารสวนตําบล คือ ขอความรวมมือ ผูนํา เจาหนาท่ีท่ีมีหนาที่รับผิดชอบให ระมัดระวัง สอดสองพฤติกรรมและใหรายงานอําเภอทราบ การรณรงค ประชาสัมพันธ ใหขอมูลท่ีถูกตอง เกี่ยวกับขอกฎหมายของการเลือกต้ังท่ีกระทําไดและทําไมไดใหประชาชนไดรับทราบ ปญหาตางๆ ท่ีเกิดขึ้น

-12- องคการบริหารสวนตําบลก็ไดพยายามแกไข โดยเร่ืองจากการประชุมประชาคมทองถ่ินทุกหมูบานในเขต องคก ารบริหารสว นตําบลในการจดั ทําแผนพัฒนาทองถิ่น 4. ประชากร 4.1 ขอ มูลเกี่ยวกบั จํานวนประชากร หมูที่ ชอื่ หมบู าน ชาย (คน) หญงิ (คน) รวม (คน) ๑ บา นคลองนํ้าใส 189 204 393 ๒ บานเขานอ ยนาํ้ ซับ 161 152 313 ๓ บานสลองคอง 216 206 422 ๔ บานกดุ หนิ 501 517 1,018 ๕ บานผกั กาดฮอง 178 185 363 ๖ บา น อพป.คลองนํา้ ใส 188 210 398 ๗ บานแสนสขุ 309 363 672 ๘ บา นใหมปากฮอง 76 79 155 ๙ บานทงุ รวงทอง 197 202 399 ๑๐ บา นเขานอ ย 299 298 597 ๑๑ บานศรีวิไล 301 315 616 ๑๒ บา นเนินสมบูรณ 158 173 331 2,773 2,904 5,677 รวม ท่มี า : สาํ นักทะเบยี นราษฎร กรมการปกครอง ณ เดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕62

-13 จาํ นว หมทู ่ี ชอ่ื หมบู าน พ.ศ.2558 พ.ศ.2559 ชาย หญิง รวม ชาย หญิง รวม ๑ บา นคลองน้ําใส ๒ บานเขานอยน้ําซบั 187 199 386 187 203 390 ๓ บานสลองคอง 157 134 291 156 142 298 ๔ บานกุดหนิ 207 211 418 205 209 414 ๕ บา นผกั กาดฮอง 489 489 978 496 501 997 171 172 343 175 176 351 ๖ บา น อพป.คลองน้ําใส 177 199 376 186 212 398 300 340 640 309 361 670 ๗ บา นแสนสุข 68 75 143 74 77 151 ๘ บา นใหมปากฮอง 195 195 390 198 197 395 ๙ บา นทุงรวงทอง 294 290 584 298 301 599 ๑๐ บา นเขานอย 296 293 589 304 304 608 ๑๑ บานศรวี ิไล 146 163 309 151 162 313 ๑๒ บา นเนินสมบูรณ 2,687 2,760 5,447 2,739 2,845 5,584 รวม

3- วนประชากรในเขตตําบลคลองน้าํ ใส พ.ศ.2561 รวม พ.ศ.2562 (เปรียบเทยี บ 5 ป) หญิง ชาย หญิง รวม พ.ศ.2560 384 189 204 393 203 314 161 152 313 ชาย หญิง รวม ชาย 152 420 216 206 422 208 1,008 501 517 1,018 182 199 381 186 511 362 178 185 363 163 147 310 162 183 391 205 206 411 212 206 673 188 210 398 365 151 309 363 672 494 499 993 497 75 400 76 79 155 180 177 353 179 204 602 197 202 399 184 210 394 185 300 625 306 360 666 308 319 324 299 298 597 76 77 153 76 168 5,659 301 315 616 193 200 393 196 2,894 158 173 331 299 301 600 302 307 305 612 306 2,773 2,904 5,677 151 163 314 156 2,740 2,844 5,584 2,765

5. สภาพทางสังคม 5.1 การศึกษา ประชากรในเขตองคการบริหารสวนตําบลคลองน้ําใส ถือไดวามีความรูระดับ ประถมศกึ ษาอา นออกเขยี นได และมีสถานศึกษาในพ้ืนทด่ี งั นี้ ศูนยพ ฒั นาเดก็ เล็กองคก ารบริหารสวนตําบลคลองนํ้าใส - ครู จาํ นวน ๒ คน คอื นางประไพ เกตุสขุ , นางรุจี บุญคง - ผูชว ยครูผูดูแลเด็ก จํานวน 1 คน คือ นางนันทยิ า บญุ คง - เด็กเลก็ จาํ นวน 53 คน ชาย 29 คน หญิง 24 คน (ขอ มลู ณ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2562) โรงเรียนสงั กดั สํานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน (สพฐ.) จาํ นวน 4 แหง ดังน้ี จาํ นวนนกั เรียน ชอื่ สถานศกึ ษา อนุบาล ประถมศกึ ษา มธั ยมศกึ ษา รวม 79 อ.1 อ.2 อ.3 ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3 71 127 ๑. โรงเรียนบา นกุด 6 6 9 6 9 13 16 6 8 - - - 245 หิน 522 ๒. โรงเรียนบา น - 12 10 9 5 8 8 10 9 - - - จัดสรรสามคั คี ๓. โรงเรยี นบาน 27 4 9 13 25 22 9 13 5 - - - แสนสขุ 4. โรงเรยี น อพป. - 16 18 16 20 24 25 21 13 35 36 21 คลองนํา้ ใส รวมท้ังสน้ิ 33 38 46 44 59 67 58 50 35 35 36 21 หมายเหตุ : ขอ มลู จากสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน ณ เดอื นพฤษภาคม พ.ศ.๒๕๖๒ สภาเด็กและเยาวชนตําบลคลองนํา้ ใส องคการบริหารสวนตําบลคลองน้ําใส ไดจดั ตั้งสภาเด็กและเยาวชนขึน้ จํานวน ๑ แหง เพอ่ื เปน องคก รเครือขายเช่ือมโยงกลุม เด็กและเยาวชนในองคการบรหิ ารสวนตําบลคลองนํ้าใสท่ี มีการดําเนินงานในดานตางๆ เขาดวยกันอยางเปนระบบ เพ่ือแสวงหาแนวทางในการสงเสริมและ พัฒนาเด็กและเยาวชนภายในองคการบริหารสวนตําบลคลองน้ําใส ซึ่งในปจจุบันนี้สภาเด็กและ เยาวชนเปนองคกรนิติบุคคล ภายใตพระราชบัญญัติสงเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแหงชาติ พุทธศักราช 2550 และทแ่ี กไขเพิ่มเติม (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2560 โดยสภาเด็กและเยาวชนมีสํานักงาน ตั้งอยูที่ องคการบริหารสวนตําบลคลองนํ้าใส อําเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแกว โดยได

-15- ดําเนนิ การแตง ตั้งคณะกรรมการบริหารสภาเด็กและเยาวชน เพ่ือสงเสริม สนับสนนุ และประสานงาน การดาํ เนนิ การของสภาเด็กและเยาวชน 5.2 สาธารณสุข มโี รงพยาบาลสง เสรมิ สขุ ภาพชุมชนตําบลคลองนาํ้ ใส จาํ นวน 1 แหง 5.3 อาชญากรรม พื้นทีต่ าํ บลคลองนํ้าใส จะไมคอยมีปญหาในเร่ืองของอาชญากรรม เพราะชาวตาํ บล คลองนํ้าใสเปนเครือญาติกัน ถอยทีถอยอาศัยกัน ชวยเหลือเก้ือกูลกัน เปนอันหนึ่งอันเดียวกัน สวน ใหญจ ะเปน คนในพืน้ ทที่ ่พี กั อาศยั อยู ปญหาการกอ อาชญากรรมจงึ ไมเกิดขึน้ 5.4 ยาเสพติด ปญหายาเสพติดในพ้ืนท่ีมีบางเนื่องจากพ้ืนท่ีของตําบลคลองนํ้าใสเปนพื้นที่ติด ชายแดน ซึ่งงายตอการลําเลียงยาเสพติดจากประเทศเพ่ือนบาน แตมีการปองกันและปราบปราม อยางเขม งวด โดยองคการบริหารสวนตําบลคลองนํา้ ใส รวมกับ ตาํ รวจ ทหาร ทหารพราน ผูนําทองท่ี ผูนาํ ทองถิ่น ประชาชน และหนวยงานภาคตี างๆ ท่ีชวยกันสอดสองดูแลอยูเปนประจํา และไดมีการ ฝก อบรมใหค วามรูใหก ับผนู าํ ชมุ ชน กลุมเสี่ยง และเยาวชนท่ีเสี่ยงอาจจะเขาไปยุงเก่ยี วกับยาเสพติด มี การจัดการแขงขนั กีฬาตานยาเสพตดิ การรณรงคตอตานยาเสพติด ซึง่ องคการบริหารสวนตาํ บลคลอง นํ้าใสไดจัดกิจกรรมในทกุ ๆ ป เพื่อปลูกฝงใหเยาวชนใชเวลาวางในการเลนกีฬาไมเขาไปยุงเก่ียวกับยา เสพติด 5.5 การสังคมสงเคราะห องคก ารบรหิ ารสว นตําบลคลองนาํ้ ใส ไดด าํ เนินการดานสงั คมสงเคราะห ดังน้ี (1) ดาํ เนนิ การจา ยเบ้ยี ยงั ชพี ผสู ูงอายุ ผพู ิการ และผูปวยเอดส (2) รบั ลงทะเบยี นและประสานงานกบั พัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนุษยจังหวัด สระแกว โครงการเงนิ อุดหนุนเพอ่ื การเล้ยี งดูเด็กแรกเกดิ (3) ประสานการทาํ บัตรผพู กิ าร (4) ประสานกับหนวยงานนิคมสรางตนเองคลองน้ําใส และพัฒนาสังคมและความ ม่ันคงของมนุษยจงั หวัดสระแกว เพื่อชวยเหลอื ผดู อ ยโอกาส ผพู ิการ ผยู ากไร ยากจน ใหการชว ยเหลือ เบ้ืองตน (5) ใหค วามชวยเหลือครอบครัวทปี่ ระสบปญ หาภยั พบิ ตั ติ างๆ

-16- สนับสนุน (6) ซอมแซมบานใหผูย ากไร ไมมที ี่อยูอาศยั (7) ประสานการใหความชวยเหลอื ของจังหวัด อาํ เภอ หนวยงานตา งๆ ที่ใหการ (8) จัดต้งั โรงเรียนผสู งู อายุ มีการดาํ เนินการของชมรมผสู งู อายตุ ําบลคลองน้ําใส 6. ระบบบริการพ้ืนฐาน 6.1 การคมนาคมขนสง องคการบรหิ ารสวนตําบลคลองนํ้าใส ไมม ีรถประจาํ ทางว่ิงผา น ประชาชนสวนใหญ ใชรถสวนตัวเปนพาหนะในการเดินทางถนนในตําบลสวนใหญเปนถนนลูกรังมีถนนคอนกรีตใชใน หมูบา น และมถี นนสายทางโครงขายทางหลวงทองถิ่น รายละเอียดดังนี้ ตารางท่ี 5 บัญชีสายทางโครงขา ยทางหลวงทองถิ่น ลําดับ รหัสสายทาง ช่ือสายทาง ระยะทาง ประเภทผวิ จราจรและความกวาง ปท่ี เขตทางกวาง กอ สราง (เมตร ท่ี ตลอดสาย ลาดยาง คอนกรีต ลกู รงั (เมตร) (เมตร) (เมตร) 2536 10.00-12.00 ทาง (กม.) - - 5.00 6.0 1 สก.ถ21001 ถนน บ.ทงุ รวงทอง-บ.จาร 3.250 5..-6.0 8.0-10.0 จู 5.0-6.0 2 สก.ถ.21002 ถนน บ.คลองนํ้าใส-กุดหิน 5.920 6.00 4.00 8.00 2536 6.0-8.0 - 4.00 - 2536 6.0-8.0 3 สก.ถ.21003 ถนนรอบเขานอยสชี มพู 0.700 - 4.00 5.00 2536 5.0 4 สก.ถ.21004 ถนนหนาศูนยเรียนรู หมู 3 3.250 8.00 4.00 - 2536 5.0 5.0-6.0 5 สก.ถ.21005 ถนนบา นเขานอย 2.170 หมู 10 เช่ือม หมู 4 6 สก.ถ.21006 ถนนกดุ หินปาก้งั หมู 4 2.770 - 4.00 4.00 2534 - - 4.00 2534 7 สก.ถ.21007 ถนนสายเขาปูน หมู 4 1.950 - - 4.00 2534 8 สก.ถ.21008 ถนนสายนาจารออม หมู 4 2.420 - - 4.00 2534 - - 4.00 2534 9 สก.ถ.21009 ถนนสายกุดยายทา หมู 4 1.650 10 สก.ถ.210010 ถนนคเู ลท หมู 10 เชือ่ ม 2.290 หมู 4 รวม 26.37

-17- 6.2 การไฟฟา มีไฟฟาใชอยางท่ัวถึงทุกหมูบาน และเกือบครบทุกหลังคาเรือน ปญหาคือไฟฟา สาธารณะยงั ไมส ามารถดําเนินการครอบคลุมพื้นทไ่ี ดทงั้ หมด เนื่องจากมีขอ จาํ กัดในเรือ่ งงบประมาณ 6.3 การประปา จาํ นวนหมูบานในตาํ บลคลองนาํ้ ใสที่มีนํ้าประปาใชม ีอยทู ้ังหมด ๑๒ หมบู า น คือ - หมูที่ ๑ มรี ะบบประปาหมูบาน(อบต.คลองนํ้าใสดแู ล) จํานวน ๑ แหง - หมูท่ี ๒ มีระบบประปาหมบู าน(อบต.คลองนํ้าใสดูแล) จาํ นวน ๑ แหง - หมูท่ี ๓ มีระบบประปาหมูบาน(คณะกรรมการหมบู านดูแล) จาํ นวน ๑ แหง - หมูท ่ี ๔ มีระบบประปาหมูบาน(คณะกรรมการหมบู านดแู ล) จาํ นวน ๑ แหง - หมทู ่ี ๕ มีระบบประปาหมบู าน(คณะกรรมการหมบู านดูแล) จาํ นวน ๑ แหง - หมทู ่ี ๖ มีระบบประปาหมบู าน(อบต.คลองน้าํ ใสดูแล) จาํ นวน ๑ แหง - หมทู ี่ ๗ มรี ะบบประปาหมูบา น(คณะกรรมการหมูบ านดแู ล) จาํ นวน ๑ แหง - หมูที่ ๘ มีระบบประปาหมูบ าน(คณะกรรมการหมบู านดแู ล) จาํ นวน ๑ แหง - หมูที่ ๙ มรี ะบบประปาหมบู าน(คณะกรรมการหมบู านดแู ล) จํานวน ๑ แหง - หมทู ี่ ๑๐ มรี ะบบประปาหมูบาน(อบต.คลองนาํ้ ใสดูแล) จํานวน ๑ แหง - หมูท ่ี ๑๑ มีระบบประปาหมูบาน(อบต.คลองน้าํ ใสดูแล) จาํ นวน ๑ แหง - หมูท ่ี ๑๒ มีระบบประปาหมูบาน(อบต.คลองน้ําใสดูแล) จาํ นวน ๑ แหง 6.4 โทรศพั ท ปจจุบันในพ้ืนที่องคการบริหารสวนตําบลคลองน้ําใส ไมมีโทรศัพทสาธารณะ เนื่องจากประชาชนไดนยิ มใชโทรศัพทสวนบุคคลแทน ซ่งึ สามารถตดิ ตอส่อื สารไดรวดเร็ว และสามารถ ใชร ะบบอินเตอรเน็ตได เชน โทรศพั ทมือถือ สาํ หรบั สถานท่ีราชการ ยงั คงใชร ะบบโทรศัพทพื้นฐาน ในการติดตอสอื่ สาร 6.5 ไปรษณียหรือการส่ือสารหรือการขนสง และวสั ดุ ครุภัณฑ มที ีท่ าํ การไปรษณีย (ช่ัวคราว) จํานวน 1 แหง เปดใหบ ริการต้ังแตเ วลา 08.00 – 16.30 น. ในวันจันทร – วนั เสาร (หยุดวนั อาทิตย และวันหยุดนักขัตฤกษ) มีหอกระจายขาวประจําหมูบานมคี รบทั้ง 12 หมบู าน มีบริการใหใชอินเตอรเน็ตฟรี ท่ีสํานกั งานองคการบรหิ ารสวนตําบลคลองน้ํา ใส และอาคารเอนกประสงคป ระจําหมบู าน ทกุ หมูบา น

-18- องคการบริหารสวนตําบลคลองน้ําใส มีวัสดุ ครุภัณฑในการปฏิบัติหนาท่ี แตก ็มีบางรายการท่ียงั ขาดแคลนเน่ืองจากมีงบประมาณไมเพียงพอ วสั ดุ ครุภัณฑต างๆ นัน้ มี ไวส ําหรับการปฏิบัติหนาทีข่ องเจาหนาทอี่ งคการบริหารสวนตําบลคลองน้ําใส ในการดําเนิน ภารกิจบริการสาธารณะเพ่ือประโยชนของประชาชนเทาน้ัน แตหากประชาชนหรือ หนว ยงานอ่ืนมีความตอ งการทจี่ ะใช สามารถยื่นคํารอ งขอยืมใชได 7. ระบบเศรษฐกิจ 7.1 การเกษตร ประชากรในตําบลคลองนาํ้ ใส สวนใหญประกอบอาชีพเกษตรกรรม ผลผลติ ทางการเกษตร ทีส่ ําคญั ไดแ ก ทาํ นา ถอื เปนผลผลิตท่ีสาํ คญั และมีชอื่ เสยี ง ทาํ ไร พื้นที่ทําไรทีป่ ลูกมาเปนอนั ดับหนง่ึ คือ ขาวโพด,ออย,มันสําปะหลัง,มะละกอ ทําสวน ประเภททีป่ ลกู คือ มะพราว, มะมวง, กลวย, ขนุน, สมโอ, มะขามหวาน, ลาํ ใย 7.2 การประมง ตาํ บลคลองนา้ํ ใสไมมกี ารทําประมง เปน การจับปลาตามธรรมชาติในบริโภคใน ครัวเรือนตามฤดกู าลเทานน้ั 7.3 การปศสุ ัตว การประกอบการในลกั ษณะการเลีย้ งในครัวเรือนเปนอาชพี เสรมิ เชน การเลี้ยงไก เปด , โค, กระบือ สุกร 7.4 การบรกิ าร จํานวน 1 แหง - โรงแรมหรือรสี อรท จํานวน 3 แหง - หอพักหรืออพารท เมนท 7.5 การทองเท่ียว - มีแหลง ทองเท่ยี วจํานวน 1 แหง คอื ปราสาทเขานอยสีชมพู 7.6 อตุ สาหกรรม จํานวน 1 แหง - โรงงานอุตสาหกรรม ประเภทตัดเย็บเสอ้ื ผา จํานวน 1 แหง - โรงงานในครัวเรือน ประเภททาํ ไมเสยี บลกู ช้นิ

-19- 7.7 การพาณิชยและกลุมอาชีพ จํานวน 3 แหง การพาณชิ ย จาํ นวน 5 แหง - สถานีบรกิ ารนํ้ามนั - ปม นา้ํ มันหยอดเหรยี ญ ตารางที่ 6 องคก ร/กลุมอาชีพในตําบลคลองนํ้าใส ลําดบั ท่ี กลมุ อาชีพ ที่ต้งั (หมูที่) หมูที่ 1 บานคลองนา้ํ ใส 1 กลมุ ผูปลูกมนั สําปะหลัง (นางสาวสมศรี นิมติ สุข) หมูท่ี 1 บานคลองนาํ้ ใส หมูท่ี 2 บานเขานอยน้ําซบั 2 กลมุ ผเู ลีย้ งหมู หมูท่ี 2 บานเขานอยน้าํ ซับ 3 กลุม ผูปลกู มนั สําปะหลงั หมูท่ี 3 บานสลองคอง หมทู ี่ 4 บานกดุ หนิ (นายสมบุญ หมื่นมะเริง) หมทู ี่ 4 บานกุดหิน หมทู ี่ 5 บานผกั กาดฮอง 4 กลมุ เลี้ยงโคพันธพ้นื เมือง หมทู ่ี 6 บานเขานอย หมูท่ี 6 บาน อพป.คลองนํ้าใส 5 กลมุ สตรแี มบ า นเพ่ือการผลติ หมูท่ี 7 บานแสนสขุ หมูที่ 8 บา นใหมปากฮอง 6 กลมุ ปลูกพริก หมทู ี่ 8 บานใหมป ากฮอง หมูที่ 9 บานทุง รวงทอง 7 กลุมเลี้ยงสกุ ร หมทู ่ี 9 บานทุง รวงทอง หมูท่ี 10 บานเขานอ ย 8 กลมุ ออมทรัพยเพอื่ การผลติ หมูที่ 11 บา นศรีวิไล หมทู ี่ 12 บานเนนิ สมบูรณ 9 กลมุ ผเู ล้ียงหมู (กลมุ ท่ี 2) 10 กลุมทาํ การเกษตร 11 กลมุ เกษตรเพ่ือการผลิต 12 กลุมซื้อปุยเพื่อการเกษตร 13 กลุมเลีย้ งสกุ ร 14 กลุมผเู ลยี้ งหมู (กลมุ ที่ 1) 15 กลมุ ซอ้ื ปุยเพ่ือการผลิต 16 กลมุ ผูเล้ียงโค 17 กลุมซือ้ ปุยเพ่ือการผลิต 18 กลุมเกษตรเพ่ือการผลิต

-20- 7.8 แรงงาน แรงงานสวนใหญจะมีอายุอยูในชวง 18 – 60 ป อยูในกําลังแรงงาน แตคาแรงใน พื้นท่ีต่ํากวาระดับจังหวัด โดยเฉพาะแรงงานดานการเกษตร ประชากรอายุระหวาง ๒๕ – ๕๐ ป บางสวน ไปรับจางทํางานนอกพ้ืนท่ี ปญหาที่พบคือ ประชากรตองไปทํางานนอกพ้ืนที่ในเมืองท่ีมี โรงงานอุตสาหกรรม บริษัท หางรานใหญๆ เพราะในพื้นท่ีไมมีโรงงานอุตสาหกรรมท่ีมีการจาง แรงงานเยอะ เพราะพ้ืนท่ีสวนมากเปนท่ีอยูอาศัย ปญหานี้ยังไมสามารถแกไ ขได สว นแรงงานในภาค การเกษตรสวนใหญจะใชแรงงานจากประเทศเพื่อนบานซง่ึ สามารถเดนิ ทางเขาออกสะดวกและมีราคา ถกู กวาแรงงานจากในพื้นท่ี เพ่อื ชว ยลดตน ทุนในการเกษตรได 8. ศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม 8.1 การนับถือศาสนา ตาํ บลคลองนํา้ ใสนับถือศาสนาพุทธ ซึง่ มวี ัด และสํานักสงฆ จาํ นวน 9 แหง ดังน้ี (1) วัดเขานอย (สีชมพู) หมูที่ 1 บานคลองน้าํ ใส (2) วดั กดุ หนิ หมูที่ ๔ บานกุดหนิ (3) วัดเกดิ น้ําใส หมูท่ี ๕ บานผกั กาดฮอง (4) วดั ปาอรัญวาสี หมูท่ี 6 บา นคลองน้ําใส (5) วัดแสนสุข หมูท่ี ๗ บา นแสนสขุ (6) วัดบา นใหมป ากฮอง หมูที่ ๘ บานใหมปากฮอง (7) วดั หลวงพอ หลักคาํ หมูที่ 9 บา นทุงรวงทอง (8) วัดสทุ ธาวาส หมูท่ี ๙ บานทุงรวงทอง (9) สวนธรรมโพธิญาณ (บา นเขานอ ย) หมูท่ี 10 บานเขานอย 8.2 ประเพณีและงานประจําป งานประเพณีสําคัญของตําบลคลองนํา้ ใส ไดแ ก (1) งานประเพณสี งกรานต รดนาํ้ ขอพรผูสูงอายุ (2) งานประเพณีทําบุญข้นึ เขา (3) งานประเพณีหลอเทียนเขาพรรษา (4) งานประเพณีแหหอปราสาทผึ้ง (5) งานประเพณลี อยกระทง (6) งานบุญเขา พรรษา งานบุญออกพรรษา (7) ประเพณสี ารทเดอื นสบิ (8) ประเพณีบุญขาวประดับดิน

-21- 8.3 ภมู ิปญญาทองถิน่ ภาษาถนิ่ ภมู ิปญ ญาทองถิน่ ตําบลคลองนํ้าใสมภี มู ิปญญาทอ งถิ่นท่ีคนในชมุ ชนรวมกนั อนุรักษไวเพ่ือใหช นรุน หลังไดสบื ทอดจากรุนสรู นุ ตารางท่ี 7 อุตสาหกรรมและหตั ถกรรม ลําดับที่ ช่ือภูมปิ ญญา ผสู ืบทอดภูมปิ ญญา ที่อยู 1 รอยพวงมาลยั ดอกรัก นางสาวบดุ ดี นิมิตรสขุ 22 หมู1 2 ปนดนิ เหนียว นางสาวบุดดี นมิ ิตรสุข 22 หมู 1 3 สานปลาตะเพียนดวยใบมะพราว นางนอย กอนแสง 94 หมู 7 4 สานนกดว ยใบมะพราว นางนอย กอนแสง 94 หมู 7 5 ทาํ วาว นางสาวสมศรี นมิ ติ สขุ 91 หมู 9 6 เดนิ กะลามะพรา ว นางสาวสมศรี นมิ ติ สุข 91 หมู 9 7 มา กานกลวย นางสาวสมศรี นิมิตสขุ 91 หมู 9 8 ลูกขา ง นางสาวสมศรี นิมติ สขุ 91 หมู 9 9 การทาํ ดอกผง้ึ นางสาววารินทร เกษชม 81 หมู 9 10 กระปุกออมสนิ จากไมไผ นางสาววารนิ ทร เกษชม 81 หมู 9 11 บายศรี นางสาววารินทร เกษชม 81 หมู 9 12 กระทงใบตอง นางสาววารนิ ทร เกษชม 81 หมู 9 13 พวงมะโหตร นางสมจิตร เกษสอน 152 หมู 11 14 ลกู มะโหตร นางสมจิตร เกษสอน 152 หมู 11 15 ทําหอปราสาทผ้งึ นายบญุ เรือง แกวโกมล 33 หมู 1 16 สานของใสปลา นายพศิ าล นวลเผื่อน 81 หมู 12 17 สานสวิงตักปลาดวยไมไผ นายพิศาล นวลเผอ่ื น 81 หมู 12 18 บายศรี นางอุดม เกตสุ อน 32/1 หมู 3 19 เฟอรนิเจอรจากไมไผ นายอําภัย บญุ มาพงษ 117 หมู 4 20 ไมก วาดดอกหญา นายสวงิ โชติอุดม 63 หมู 3 21 การทอผา นางวาสนา ออกเอก 23 หมู 6 22 ทาํ เคร่อื งหมายขาราชการ นางนวนจันทร ศรผี า 137 หมู 1

-22- ตารางที่ 8 การแพทยแ ผนไทย ลาํ ดับที่ ชื่อภูมิปญญา ผูสืบทอดภูมปิ ญ ญา ทอ่ี ยู นางพะยอม มา 146 หมู 4 1 นวดแผนไทย นางสุดารตั น งามงด 31 หมู 4 นางอําไพ ผลเตม็ 127 หมู 4 2 นวดแผนไทย 3 นวดแผนไทย ตารางที่ 9 ดานศิลปกรรม ลําดับท่ี ชือ่ ภูมิปญญา ผูส บื ทอดภูมปิ ญ ญา ทีอ่ ยู นายจาํ ลอง กาํ ไร 31 หมู 1 1 ศิลปะการแสดงหมดแคน นางโสภาวรรณ พลอยมาลี 90 หมู 7 2 ศิลปะการแสดงหมดแคน ตาราง 10 ดานภาษาและวรรณกรรม ลาํ ดับที่ ชอื่ ภมู ปิ ญญา ผสู บื ทอดภูมิปญญา ทีอ่ ยู 1 ภาษากมั พูชา นายบญุ มา แยมศรี 177 หมู 1 นางจิตรชวน เช้ือดี 90 หมู 3 2 ภาษาถิน่ (ภาษาโซ) นายเชน บุญมาพงษ 26 หมู 4 3 ภาษาถิน่ (ภาษาญอ) ตารางท่ี 11 ดานปรัชญา ลําดับท่ี ช่อื ภมู ิปญญา ผสู ืบทอดภูมปิ ญ ญา ที่อยู นายสวุ ชิ า เกิดนํา้ ใส 63 หมู 5 1 พิธีกรทางศาสนา นายสนั ติ เกษจํารุณ 199 หมู 3 นายวนิ ัย เกษจํารุณ 17 หมู 2 2 พิธีกรทางศาสนา นายบดุ ดี เกตสุ ายเมือง 5 หมู 1 นายพรมมี บวั กีบ 95 หมู 1 3 พิธีกรทางศาสนา นายผอง เกตุสอน 152 หมู 11 นายพิชติ เกษแจง 111 หมู 4 4 พธิ ีกรทางศาสนา นายพรชัย บัวคาํ ศรี 89 หมู 10 5 พิธีกรทางศาสนา 6 พิธีกรทางศาสนา 7 พธิ ีกรทางศาสนา 8 พิธีกรทางศาสนา ภาษาถิ่น สวนมากรอยละ 90 ประชาชนสวนใหญเปนชาวไทยญอ ใชภาษาญอใน การส่ือสาร และมกี ารส่อื สารดว ยภาษาอสี าน ภาษาไทยบา ง

-23- 8.4 สินคา พ้ืนเมอื งและของท่ีระลกึ - รา นจําหนา ยของท่ีระลึก ดา นหนา วัดเขานอยสีชมพู - รานจาํ หนา ยผลติ ภัณฑจากเสนพลาสติก และผลติ ภณั ฑจ ากซองกาแฟ ตงั้ อยูห มทู ี่ 1 บานคลองนาํ้ ใส 9. ทรพั ยากรธรรมชาติ 9.1 นํ้า นํ้าทีใ่ ชในการอุปโภค-บริโภค เปนนํ้าท่ีไดจากนํ้าฝน แหลงนํ้าธรรมชาติและแหลงนาํ้ ที่สรา งข้นึ เอง ไดแ ก ลาํ น้ํา คลอง ลาํ หว ย สระนํา้ บอบาดาล 9.2 ปาไม ปาไมของตําบลคลองนํ้าใสยังมีความอุดมสมบูรณ ซ่ึงในพ้ืนท่ีเปนการทําการเกษตร ทําใหสภาพปาไมย งั มีความอดุ มสมบูรณอ ยูมาก 9.3 ภเู ขา ตําบลคลองน้ําใสมีเขานอยสชี มพู ซ่ึงเปน แหลง โบราณสถานทส่ี ําคัญของตาํ บลคลอง น้ําใส เปนสถานทที่ องเทยี่ วสําคญั ของจงั หวดั สระแกว 9.4 คณุ ภาพของทรัพยากรธรรมชาติ ในพืน้ ที่ขององคการบริหารสวนตาํ บลคลองนํา้ ใสสวนมากเปนพืน้ ทสี่ ําหรับเพาะปลูก เปนทนี่ า ไร สวน ท่ีอยูอาศัย รา นคา สถานประกอบการ ตามลําดบั และมีพืน้ ที่เพียงเล็กนอยท่ีเปน พื้นที่สาธารณะ ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ ก็ไดแ ก ดิน นาํ้ ตนไม อากาศท่ีไมมีมลพิษ ปญหาคือ เนื่องจากวา พนื้ ที่บางสว นเปนดนิ เคม็ นาํ้ ใตด นิ ก็เค็ม หรือไมก เ็ ปน นํา้ กรอย ไมสามารถที่จะนาํ นํ้า จากใตด ินมาใชในการอปุ โภค - บรโิ ภคได ตอ งอาศยั น้ําดิบจากแหลงอน่ื และน้าํ ฝน น้าํ ในการเกษตร กต็ อ งรอฤดูฝน มีแหลงนํ้าใชใ นการเกษตรไมเพียงพอ ปญหาคอื ยงั ไมสามารถหาแหลง นํ้าสาํ หรับ การเกษตรไดเพิ่มข้ึน เพราะพืน้ ท่ีสวนมากเปนของประชาชน เอกชน โครงการปลูกตนไมใ นวัน สําคัญตางๆ ในพน้ื ท่ีของสาธารณะรวมทัง้ ปรบั ปรุงสภาพภมู ิทศั นใหรมร่ืนสวยงาม เปนท่พี ักผอน หยอนใจของประชาชน ฯลฯ

-24- ศกั ยภาพในการพัฒนา ตําบลคลองนํา้ ใส 1. ดานทรัพยากรมนุษยมี หมูท่ี 1 ปราชญภูมิปญญาทําหอปราสาทผ้ึง ท่ีสามารถนําไปสูการพัฒนาดานการ จดั ทาํ ฐานขอมูลดานภมู ปิ ญ ญาทองถิ่น มกี ารสบื ทอดโดยนายบญุ เรอื ง แกวโกมล หมูที่ 2 ปราชญดานภูมิปญญาการทําบายศรี ที่สามารถนําไปสูการพัฒนาดานการ จัดทําฐานขอ มูลดา นภมู ปิ ญ ญาทองถน่ิ เน่ืองจากมกี ารสืบทอดโดยนางอดุ ม เกตุสอน หมูที่ 3 ปราชญดานภูมิปญญาการทําบายศรี ที่สามารถนําไปสูการพัฒนาดานการ จัดทาํ ฐานขอ มลู ดานภมู ิปญญาทองถิ่นมีการสืบทอดโดยนางอุดม เกตุสอน หมูที่ 4 ปราชญดา นจักรสานและเฟอรนิเจอรจากไมไผ ท่ีสามารถนาํ ไปสูการพัฒนา ดานการจัดทาํ ฐานขอ มลู ดานภูมปิ ญ ญาทองถิ่น เนอ่ื งจากมกี ารสบื ทอดโดยนายอําภยั บุญมาพงษ หมูท่ี 6 ปราชญดานการทอผา มีการสืบทอดโดยนางวาสนา ออกเอก สามารถ นําไปสูพัฒนาดาน การรวบรวมองคความรู ดานการทอผาแบบโบราณ เพ่ือจัดทําฐานขอมูลดานภูมิ ปญญาทองถ่ิน หมูที่ 7 ปราชญภูมิปญญาดานการทําดอกผ้ึง สามารถนําไปสูพัฒนาดาน การ รวบรวมองคความรู เพ่ือจัดทําฐานขอมูลดานภูมิปญญาทองถิ่น มีการสืบทอดโดยนางสาววารินทร เกษชม เพ่ือจดั ทาํ ฐานขอมูลดา นภูมิปญญาทอ งถนิ่ หมูท่ี 11 ปราชญดานพวงมะโหตร การทําลูกมะโหตร สามารถนําไปสูพัฒนาดาน การรวบรวมองคค วามรู เพ่อื จดั ทาํ ฐานขอมลู ดานภูมิปญ ญาทองถ่ิน มกี ารสืบทอดโดยนางสมจิตร เกษ สอน หมูท่ี 12 ปราชญภูมิปญญาดานการสานของใสปลาและสานสวิงตักปลาดวยไมไผ สามารถนําไปสูพัฒนาดาน การรวบรวมองคความรู เพื่อจัดทําฐานขอมลู ดานภูมิปญญาทองถ่ิน มีการ สบื ทอดโดยนายพิศาล นวลเผ่ือน 2. ดานภาคีเครือขายในพ้ืนท่ีมี หมทู ี่ 1 เครือขายดานการสงเสรมิ อาชีพรวมกับพัฒนาชุมชน มหาวิทยาลับราชภัฏว ไลยอลงกรณ กองกําลังบรู พา องคก ารบริหารสวนตําบล รพ.สต. อพป.คลองนํา้ ใส ดา นองคค วามรู ดานการสง เสริมอาชพี ของคนในชมุ ชน หมูที่ 3 เครอื ขา ยดานการสงเสรมิ อาชีพรวมกับองคการบริหารสว นตาํ บล พฒั นา ชมุ ชน รพ.สต.มีการพัฒนา ดานองคความรดู า นการสง เสริมอาชีพของคนในชุมชน หมทู ่ี 4 เครอื ขายดานการสง เสรมิ อาชีพรวมกับองคก ารบริหารสว นตําบล พัฒนา ชุมชน สาธารณสขุ สามารถนําไปพฒั นา ดา นการสงเสรมิ อาชพี ของคนในชุมชน

-25- หมูที่ 5 เครือขา ยดา นการสง เสรมิ อาชพี รวมกับองคก ารบรหิ ารสว นตําบล พัฒนา ชมุ ชน ชุดพัฒนาสัมพันธมวลชน ดานการสง เสรมิ อาชพี ของคนในชุมชน หมทู ี่ 6 เครือขา ยดา นการสง เสริมอาชพี รวมกับองคก ารบริหารสว นตาํ บล พฒั นา ชุมชน ทหาร ดา นการสง เสริมอาชีพของคนในชุมชน หมทู ่ี 7 เครือขายดานการดวยการเสริมสรางรายไดแ กชุมชน โดยมลู นธิ ิศุภนิมติ องคการบริการสวนตาํ บล ดา นการสง เสริมอาชีพของคนในชมุ ชน หมทู ่ี 8 เครือขา ยดานการดวยการเสริมสรางรายไดแกชุมชน สงเสรมิ การศึกษาของ เด็กยากจนโดยมลู นิธศิ ภุ นมิ ิต องคการบรกิ ารสวนตําบล ดา นการสง เสริมอาชีพของคนในชุมชน หมูท่ี 9 เครือขายดา นการสงเสริมอาชพี รวมกับองคก ารบริหารสวนตาํ บล พัฒนา ชุมชน เกษตรอาํ เภอ รพ.สต. ชุดพฒั นามวลชนสมั พนั ธ ดานการสง เสริมอาชีพของคนในชมุ ชน หมทู ่ี 10 เครือขา ยดานการสง เสริมอาชพี รวมกับพฒั นาชุมชน องคการบริหารสว น ตําบล ทหาร ดา นการสง เสรมิ อาชีพของคนในชมุ ชน 3. ทนุ ทางสงั คมและทุนทางวัฒนธรรม หมทู ี่ 1 ประเพณแี หป ราสาทผง้ึ ที่วดั เขานอยสีชมพู คนในชุมชนมสี ว นรว มใน กิจกรรม การพัฒนาดา นการทอ งเท่ยี วแบบประเพณีและวัฒนธรรมเชิงโบราณคดี หมทู ่ี 6 กลุมทอผาการพัฒนาดา นการเรยี นรูถา ยทอดภูมปิ ญญาใหก บั คนรนุ หลังใน ชุมชน 4. ทนุ ทางเศรษฐกจิ และการคาขาย หมทู ่ี 1 ตลาดชุมชนทุกวันอาทิตย สามารถนาํ ไปสูการพฒั นาดาน การจดั การนํา สนิ คา ออกจาํ หนายขนมโบราณพ้ืนบา น หมทู ่ี 5 กลมุ เลี้ยงไกพืน้ บาน สามารถนําไปสูการพฒั นาดา นการสรางอาชพี และ สงเสรมิ อาชพี การผลิตอาหารไกจากวตั ถุดิบในพืน้ ที่ เน่อื งจากชุมชนมีตนทนุ คา อาหารไกในการเลีย้ ง สงู รวมไปถึงกลุมทาํ ขนมจนี ขาย สามารถนําไปสูการพฒั นาดา น การสงเสรมิ การตลาด แนวทาง พัฒนาคือ แปรรปู เปนขนมจีนแหง เพื่อสามารถเก็บไวไดน านและนําไปวางขายตามตลาดทั่วไปได หมูที่ 6 กลุมเลย้ี งกบ สามารถนําไปสกู ารพฒั นาดา นการเพาะพนั ธลูกกบ เน่ืองจากลูก กบขาดตลาดบางฤดูกาล จึงตองการเพาะพันธุเอง ซ่ึงชุมชนมีประสบการณในการเลี้ยงแลว จึงตอ งการตอ ยอด และตอ ยอดดว ยการผลิตอาหารกบจากวัตถุดบิ ในพื้นที่ดว ย ชุมชนมตี น ทุนในการเลี้ยงสูง ผูนาํ เขมแขง็ สามารถนาํ ไปสูการพัฒนาได

-26- หมทู ี่ 7 กลุมเลี้ยงไกพื้นบาน สามารถนาํ ไปสูการพัฒนาดา น ดานการสรา งอาชีพให เกดิ เปนกลมุ อาชีพ และสง เสริมอาชพี การผลติ อาหารไกจากวตั ถุดบิ ในพนื้ ท่ี เนอ่ื งจากชุมชนมตี นทุน คา อาหารไกในการเลย้ี งสงู (ชุมชนเลี้ยงเปน จาํ นวนมากเปน อาชพี จงึ เลี้ยงแบบปลอยตามธรรมชาติ แบบดัง่ เดมิ ไมได) หมูท ่ี 11 กลุมทําดอกไมจัน กลมุ นม้ี ผี ลิตภัณฑหลายอยา งที่ใชป ระกอบกนั เชน ธปู เปนสวนหนึง่ ในการทําดอกไมจ นั ซง่ึ ตอ งใชเปน จาํ นวนมาก กลุมนส้ี ามารถนําไปสูการพฒั นาดา นการ ผลิตธูป เพื่อลดตนทนุ ดว ยการทาํ ธูปจากวัตถุดบิ ในพ้ืนท่ีท่มี ไี ด หมูที่ 12 กลุมทําดอกไมจ นั กลมุ นี้มีผลติ ภัณฑหลายอยา งท่ีใชป ระกอบกนั เชน ธปู เปนสวนหนึ่งในการทาํ ดอกไมจ นั ซง่ึ ตองใชเ ปนจาํ นวนมาก กลุมนสี้ ามารถนําไปสกู ารพัฒนาดา นการ ผลิตธปู เพื่อลดตน ทุนดวยการทําธปู จากวตั ถุดบิ ในพน้ื ที่ที่มีได (เปนการรวมกลุมกนั ทาํ ระหวา งหมูท่ี 12และหมูท ี่ 11) 5. ทุนทางทรัพยากรธรรมชาติมี หมทู ่ี 1 เขานอยสีชมพู ทส่ี ามารถนําไปสกู ารพัฒนาดานการทองเท่ียวชมุ ชนระบบ การจัดการสถานที่ทองเท่ยี ว เปน แหลงทอ งเท่ียวของจังหวัดสระแกว 6. การจดั การส่งิ แวดลอมมี หมูที่ 2 การจดั การขยะในชมุ ชนของตนเอง สามารถจัดการขยะไดด ว ยตนเอง 7. ดานองคค วามรูมี หมูท่ี 1 องคความรูภูมิปญญาดานประวัติศาสตรไทญอ ชุมชนมีการสืบทอดใหกับ คนในชมุ ช หมูที่ 4 องคความรูดานจักรสานและเฟอรนิเจอรจากไมไผ มีการถา ยทอดภูมิปญญา ใหม กี ารสืบทอดตอ รวมไปถึงองคความรูภมู ิปญญาดา นภาษาถ่นิ (ภาษาญอ ) มีการถา ยทอดภมู ิปญญา ใหม ีการสบื ทอดตอ หมทู ่ี 6 องคค วามรภู ูมปิ ญ ญาดา นการทอผาพื้นถ่ิน มีการถายทอดภมู ิปญญาใหมีการ สืบทอดตอ หมูท่ี 1 และหมูท่ี 7 องคค วามรูภูมปิ ญญาดา นศลิ ปะหมอแคน มีการถายทอดภมู ิ ปญ ญาใหม ีการสืบทอด 9. ดา นผลิตภณั ฑชมุ ชนม หมทู ี่ 1 ตะกราสานจากเสน พลาสตกิ ขายใหกบั นกั ทอ งเทย่ี ว

-27- ภาพที่ 3 แผนทแี่ สดงศกั ยภาพดานตา งๆ ของแตล ะหมูบา นในตาํ บล

-28- ปญ หาและความตอ งการในพื้นท่ี ตาํ บลคลองน้ําใส ปญหาดานทรัพยากรมนุษย หมูที่ 1 ปราชญผูเชี่ยวชาญดานการสานไมกวาด ดานกลมุ อาชพี ทาํ ไมก วาด ชุมชนไม เขารวมกิจกรรมดังน้นั ในปจจบุ ันจึงมีคนเขารวม ประมาณ 1-2 คน (ทําเพื่อใชใ นครัวเรอื นเพราะไมมี ตลาดสง ) หมทู ี่ 2 ปราชญผูเชีย่ วชาญทําไมก วาดคนในชุมขนไมใหความรวมมือและไมเขารวม กจิ กรรมเมื่อรวมกลุมแลวไมเกดิ ความยัง่ ยืน กลมุ ลม เหลว ผนู าํ ไมเขม แข็ง หมูท่ี 6 ดานกลุมทําน้ําพริก คนในชุมชนไมใหความรวมมือ มีโรงงานน้ําพริกแต หวั หนา กลุมไมเ ขมแขง็ เม่ือรวมกลุม แลวจึงไมย ง่ั ยืน กลมุ ลม เหลว ปญ หาดานทุนทางสังคมและทุนทางวฒั นธรรม หมทู ่ี 1 มกี ลุมแมบานเย็บผาวนแตในปจจุบันไมมกี ารดําเนินกิจกรรมกลมุ เนื่องจาก ขาดจักรเย็บผา ตองการใหมีการสงเสริมสนับสนุนดานจักรเย็บผาและเศษผาเพ่ือใหมีการดําเนิน กจิ กรรม หมูท่ี 3 มีกลุมสตรีแมบานเพื่อการผลิต ในปจจุบันไมมีการดําเนินกิจกรรมกลุม ตอ งการใหม ีการสงเสริมสนบั สนนุ ดา นการผลิตภัณฑ เพอ่ื ใหม กี ารดําเนินกิจกรรม หมูท่ี 4 มกี ลุมปลูกพรกิ ในปจจบุ ันไมม ีการดําเนินกิจกรรมกลุม เนื่องจากภัยแลงไมมี นา้ํ มีเฉพาะฤดฝู น ตอ งการใหมีการแกปญหานํ้าแลง ปญหาดานทุนทางเศรษฐกิจและการคา ขาย หมทู ่ี 1 กลมุ นํา้ พริก ปญหาเร่ืองการตลาดผลิตแลว ไมม ีตลาดขายและคนในชมุ ชน ตอ งออกไปทาํ งานนอกชุมชนกลมุ จงึ สลาย ตองการใหมีการสง เสริมสนบั สนนุ หาแหลงตลาดขาย ผลิตภัณฑ หมทู ่ี 9 กลุมเย็บผาพรมเช็ดเทา มีปญหาดานการตลาดเนื่องจากตลาดที่เคยรับซ้ือ ยกเลิกการส่ังผลิตภัณฑและปญหาดานวัตถุดิบเศษผาขาดตลาด ตองการใหหนวยงานราชการเขามา ใหการสงเสรมิ ดานหาวตั ถุดบิ เศษผาและตลาดในการจาํ หนา ยพรมเชด็ เทา ปญ หาดานทุนทางทรัพยากรธรรมชาติมี ปญหาดานนํ้าอุปโภค ตําบลคลองน้ําใสมีคลองไหลผานทุกหมู มีอางเก็บน้ําแตไมสามารถนํานํ้ามาอุปโภค ไดเพราะในฤดแู ลงนํ้าจะแหงนํ้าจะมีใชในฤดูฝน ทกุ หมูบานผูนํากลาววา จะมีนํ้าใชท าํ การเกษตรในฤดู ฝน ซ่งึ เปนปญ หาระดบั ประเทศระหวาง 2 ประเทศจงึ ไมสามารถก้ันนํา้ ไวใชได

-29- ประเดน็ การพฒั นาในเชิงพื้นที ตําบลคลองนาํ้ ใส 1. การสรา งกลุมอาชีพและสงเสริมอาชีพ ณ. 1.1 บานผักกาดฮอง หมูที่ 5 กลุมเลี้ยงไกพ้ืนบาน มีแนวทางการพัฒนาใหเปน กลุมอาชพี ทเี่ ขมแข็งสามารถจดทะเบียนเปนกลุมอาชีพได และเพื่อลดตนทุนคาอาหารไกในการเลี้ยง ไกพ ื้นบาน ซง่ึ มีตนทุนคาอาหารไกราคาสูง ชมุ ชนตองการใหมีการสงเสรมิ การผลติ อาหารไกดว ยชุมชน เองจากวัตถดุ ิบในชุมชน แนวทางพัฒนาผลิตนอนแมลงวันที่เปนโปรตีนสําหรับไก ซ่ึงชุมชนอยากให หนวยงานราชการพัฒนาตอยอดให (ชุมชนน้ีผูนําชุมชนเขมแข็งสามารถพัฒนาตอยอดได กลมุ เปาหมาย จํานวน 5 ครวั เรือน 1.2 บานอพป.คลองน้ําใส หมูท่ี 6 กลุมเลี้ยงกบและไกพื้นบาน มีแนวทางการ พัฒนาใหเปนกลุมอาชีพท่ีเขมแข็งสามารถจดทะเบียนเปน กลุมอาชีพได และชุมชนตองการเพาะพันธุลูก กบเองและตองการทําอาหารกบ,อาหารไกพื้นบา นจากวตั ถุดบิ ในชมุ ชน กลมุ เปาหมาย จํานวน 6 ครัวเรือน 1.3 บานแสนสุขหมูท่ี 7 กลุมเล้ียงไกพืน้ บาน มีแนวทางการพัฒนาใหเปนกลุม อาชีพท่ีเขมแข็งสามารถจดทะเบียนเปนกลุมอาชีพได และเพ่ือลดตนทุนคาอาหารไกในการเล้ียงไก พื้นบาน ซงึ่ มีตนทุนคา อาหารไกราคาสูง ชุมชนตองการใหมีการสงเสริมการผลิตอาหารไกดวยชุมชน เองจากวัตถดุ ิบในชุมชน แนวทางพัฒนาผลิตนอนแมลงวันที่เปนโปรตีนสําหรับไก ซ่ึงชุมชนอยากให หนวยงานราชการพัฒนาตอยอดให (ชุมชนน้ีผูนําชุมชนเขมแข็งสามารถพัฒนาตอยอดได กลุม เปาหมาย จํานวน 3 ครวั เรอื น 1.4 บานเนนิ สมบูรณ หมูท่ี 12 มีหมู 11 รว มทําดวยกันกลุมน้มี ผี ลิตภัณฑหลาย อยางท่ีใชประกอบกัน เชน ธูปเปนสวนหนึ่งในการทําดอกไมจัน ซ่ึงตองใชเปนจํานวนมาก แนว ทางการพฒั นาคือ การผลติ ธปู เพ่ือลดตนทุนดว ยการทาํ ธูปจากวัตถุดบิ ในพื้นท่ีที่มีไดกลมุ ทาํ ดอกไมจัน มีความตองการทําธูปจากวัตถุดิบในชุมชนเพ่ือลดตนทุนในการทําดอกไมจันเพราะธูปตองใชเปน จาํ นวนมาก กลมุ เปาหมายจํานวน 5 ครัวเรอื น

-30- สวนที่ 3 ผลการวิเคราะหศกั ยภาพ ปญหา ความตองการ และประเด็นการพัฒนาเชิงพ้นื ที่ การวิเคราะหชุมชนดําเนินการโดยอาศัยขอมูลทุติยภูมิที่รวบรวมจากฐานขอมูล แผนพัฒนายุทธศาสตรจังหวัดสระแกว แผนพัฒนาอําเภออรัญประเทศ แผนพัฒนาทองถิ่นองคการ บรหิ ารสวนตําบลคลองนํ้าใส สํานักงานพฒั นาชุมชนอาํ เภออรญั ประเทศ สํานักงานเกษตรอําเภออรัญ ประเทศ และการสืบคนจากส่ือออนไลนตางๆ และดําเนินการเก็บขอมูลปฐมภูมิ โดยการจัดเวที ประชมุ ผูนําชมุ ชน การสัมภาษณผใู หญบา นรายคนและกลุมเปาหมายในพ้ืนที่ตําบลคลองนํ้าใส และผู มีสว นไดเ สยี นาํ ขอมูลท่ีไดประมวลผล สงั เคราะหผ ล แบงเปน ดา นดังน้ี 3.1 ศกั ยภาพในการพัฒนาตําบลคลองนํ้าใส อาํ เภออรญั ประเทศ จังหวัดสระแกว หมูท่ี 1 1. ดา นทรพั ยากรมนุษย ปราชญภมู ปิ ญญาทําหอปราสาทผ้ึง ทสี่ ามารถ นาํ ไปสกู ารพฒั นาดา นการจดั ทาํ ฐานขอ มูลดานภูมปิ ญญาทองถิ่น มกี ารสืบทอดโดยนายบุญเรือง แกว โกมล 2. ดานภาคีเครือขายในพื้นที่ เครอื ขายดานการสงเสริมอาชีพรวมกับพัฒนาชุมชน มหาวิทยาลับราชภัฏวไลยอลงกรณ กองกําลังบูรพา องคการบริหารสวนตําบล รพ.สต. อพป.คลอง นํ้าใส ดานองคความรูดานการสง เสรมิ อาชพี ของคนในชุมชน 3. ทุนทางสังคมและทุนทางวัฒนธรรม งานประเพณีแหปราสาทผึ้งท่ีวัดเขานอยสี ชมพู คนในชุมชนมีสว นรวมในกิจกรรม การพฒั นาดานการทองเท่ียวแบบประเพณีและวัฒนธรรมเชิง โบราณคดี 4. ทุนทางเศรษฐกิจและการคาขาย ตลาดชุมชนถนนคนเดินทุกวันอาทิตย ตง้ั แต 06.00 – 9.00 น. สามารถนาํ ไปสูการพฒั นาดา น การจดั การนาํ สนิ คา ออกจาํ หนา ย ขนมโบราณ พ้นื บาน 5. ทุนทางทรัพยากรธรรมชาติ มีเขานอยสีชมพู ท่ีสามารถนําไปสูการพัฒนาดาน การทอ งเทยี่ วชมุ ชนระบบการจดั การสถานทีท่ องเท่ียว เปน แหลง ทองเที่ยวของจังหวัดสระแกว 6. ดา นจัดการส่ิงแวดลอม สระน้ําพระราม 9 อันเน่ืองมาจากพระราชดําริ สามารถ นําไปสกู ารพัฒนาเปนแหลงทองเท่ยี วเชงิ การศกึ ษาโครงการแกม ลงิ อนั เนอ่ื งมาจากพระราชดําริ 7. ดานองคความรู องคความรูภูมิปญญาดา นประวัติศาสตรไทญอ ชุมชนมกี ารสืบ ทอดใหก ับคนในชุมช 8. ดา นผลติ ภัณฑช ุมชน ตะกราสานจากเสน พลาสติก ขายใหกบั นักทองเทีย่ ว

-31- หมูท่ี 2 1. ดา นทรัพยากรมนุษยมี ปราชญดา นภูมิปญญาการทําบายศรี ที่สามารถนําไปสู การพฒั นาดา นการจดั ทําฐานขอ มลู ดา นภูมปิ ญ ญาทองถ่ิน เน่อื งจากมีการสบื ทอดโดยนางอดุ ม เกตุ สอน 2. ดานจัดการส่งิ แวดลอม การจัดการขยะในชุมชนของตนเอง สามารถจดั การขยะ ไดด วยตนเอง หมทู ่ี 3 1. ดา นทรัพยากรมนุษยมี ปราชญดานภมู ิปญญาการทําบายศรี ทสี่ ามารถนําไปสู การพัฒนาดานการจัดทําฐานขอ มูลดานภมู ิปญญาทองถิ่นมีการสืบทอดโดยนางอดุ ม เกตสุ อน 2. ดานภาคีเครือขายในพ้ืนที่ เครือขายดานการสงเสริมอาชีพรวมกับองคการ บริหารสวนตําบล พัฒนาชุมชน รพ.สต.มีการพัฒนา ดานองคความรูดานการสงเสริมอาชพี ของคนใน ชมุ ชน หมูท ่ี 4 1. ดานทรัพยากรมนุษย ปราชญด า นจักรสานและเฟอรน ิเจอรจากไมไ ผ ทีส่ ามารถ นําไปสกู ารพฒั นาดา นการจดั ทําฐานขอมลู ดา นภูมปิ ญญาทองถิ่น เนื่องจากมกี ารสืบทอดโดยนายอํา ภยั บญุ มาพงษ 2. ดานภาคีเครือขายในพ้ืนท่ี เครือขายดานการสงเสริมอาชีพรวมกับองคการ บริหารสวนตําบล พัฒนาชุมชน สาธารณสุข สามารถนําไปพัฒนา ดานการสงเสริมอาชีพของคนใน ชุมชน 3. ดานองคความรู องคความรูดานจักรสานและเฟอรนิเจอรจากไมไผ มีการ ถายทอดภูมิปญญาใหมีการสืบทอดตอ รวมถึงองคความรูภูมิปญญาดานภาษาถิ่น (ภาษาญอ) มีการ ถายทอดภมู ปิ ญ ญาใหมกี ารสบื ทอดตอ หมูท่ี 5 1. ดานภาคีเครือขายในพื้นที่ เครือขายดานการสงเสริมอาชีพรวมกับองคการ บรหิ ารสว นตาํ บล พฒั นาชุมชน ชดุ พัฒนาสมั พันธมวลชน ดา นการสงเสริมอาชีพของคนในชุมชน 4. ทุนทางเศรษฐกิจและการคาขาย กลุมเล้ียงไกพ้ืนบาน สามารถนําไปสูการ พัฒนาดานการสรางอาชีพและสง เสริมอาชพี การผลิตอาหารไกจากวัตถุดิบในพ้ืนท่ี เน่ืองจากชมุ ชนมี ตนทุนคาอาหารไกในการเล้ียงสูง รวมถึงกลุมทําขนมจีนขาย สามารถนําไปสูการพัฒนาดาน การ สงเสริมการตลาด แนวทางพัฒนาคือ แปรรูปเปนขนมจีนแหงเพื่อสามารถเก็บไวไดนานและนําไป วางขายตามตลาดทั่วไปได

-32- หมูท่ี 6 1. ดานทรัพยากรมนุษยมี ปราชญด า นการทอผา มกี ารสืบทอดโดยนางวาสนา ออกเอก สามารถนําไปสูพฒั นาดา น การรวบรวมองคค วามรู ดานการทอผา แบบโบราณ เพ่ือจดั ทํา ฐานขอมูลดา นภมู ิปญ ญาทองถนิ่ 2. ดานภาคีเครือขายในพ้ืนที่ เครือขายดานการสงเสริมอาชีพรวมกับองคการ บรหิ ารสว นตําบล พฒั นาชุมชน ทหาร ดานการสง เสรมิ อาชีพของคนในชมุ ชน 3. ทุนทางสังคมและทุนทางวัฒนธรรม กลุมทอผาการพัฒนาดานการเรียนรู ถา ยทอดภูมปิ ญญาใหกบั คนรุนหลังในชุมชน 4. ทุนทางเศรษฐกิจและการคาขาย กลุมเล้ียงกบ สามารถนําไปสูการพัฒนาดาน การเพาะพันธลูกกบ เน่ืองจากลูกกบขาดตลาดบางฤดูกาล จึงตองการเพาะพันธุเอง ซ่ึงชุมชนมี ประสบการณในการเล้ียงแลวจงึ ตองการตอยอด และตอยอดดว ยการผลิตอาหารกบจากวตั ถุดิบในพื้นที่ ดว ย ชุมชนมีตน ทุนในการเลยี้ งสูง ผนู าํ เขมแข็งสามารถนําไปสกู ารพัฒนาได 5. ดานองคความรู องคความรูภูมิปญญาดานการทอผาพื้นถ่ิน มีการถายทอดภูมิ ปญ ญาใหม ีการสืบทอดตอ หมทู ่ี 7 1. ดา นทรัพยากรมนุษยมี ปราชญภูมิปญ ญาดานการทําดอกผ้งึ สามารถนาํ ไปสู พัฒนาดา น การรวบรวมองคค วามรู เพ่ือจัดทําฐานขอมูลดา นภมู ปิ ญญาทอ งถิ่น มกี ารสืบทอดโดย นางสาววารินทร เกษชม เพื่อจัดทําฐานขอ มลู ดานภูมปิ ญ ญาทองถิ่น 2. ดา นภาคีเครอื ขายในพ้ืนที่ เครอื ขา ยดา นการดว ยการเสรมิ สรา งรายไดแ กชมุ ชน โดยมูลนิธศิ ุภนมิ ิต องคการบรกิ ารสวนตาํ บล ดา นการสงเสรมิ อาชีพของคนในชมุ ชน 3. ทุนทางเศรษฐกิจและการคา ขาย กลุมเล้ยี งไกพ ื้นบาน สามารถนําไปสกู ารพัฒนาดา น ดา นการสรา งอาชพี ใหเกดิ เปน กลมุ อาชีพ และสง เสรมิ อาชีพการผลติ อาหารไกจากวัตถุดิบในพืน้ ที่ เนื่องจากชมุ ชนมีตน ทุนคา อาหาร ไกในการเลย้ี งสงู (ชมุ ชนเล้ียงเปน จํานวนมากเปน อาชีพจึงเล้ียงแบบปลอยตามธรรมชาติแบบด่งั เดิม ไมได) 4. ดา นองคความรู องคค วามรูภูมิปญ ญาดานศิลปะหมอแคน มีการถายทอดภูมิ ปญ ญาใหม ีการสบื ทอด หมทู ่ี 8

-33- 1. ดานภาคีเครือขายในพ้ืนที่ เครือขายดานการดวยการเสริมสรา งรายไดแ กชุมชน สงเสริมการศกึ ษาของเด็กยากจนโดยมูลนิธิศภุ นิมติ องคการบริการสวนตําบล ดานการสงเสริมอาชีพ ของคนในชมุ ชน หมทู ี่ 9 1. ดานภาคีเครือขายในพ้ืนท่ี เครือขายดานการสงเสริมอาชีพรวมกับองคการ บริหารสวนตําบล พัฒนาชุมชน เกษตรอําเภอ รพ.สต. ชุดพัฒนามวลชนสัมพันธ ดานการสงเสริม อาชีพของคนในชมุ ชน หมูท่ี 10 1. ดานภาคเี ครือขา ยในพ้ืนท่ี เครือขายดานการสงเสริมอาชีพรวมกับพัฒนาชมุ ชน องคการบรหิ ารสวนตําบล ทหาร ดา นการสง เสริมอาชีพของคนในชมุ ชน หมทู ี่ 11 1. ดานทรัพยากรมนุษย ปราชญด านพวงมะโหตร การทําลกู มะโหตร สามารถ นําไปสูพฒั นาดา น การรวบรวมองคความรู เพือ่ จัดทําฐานขอมลู ดานภูมปิ ญญาทองถนิ่ มีการสืบทอด โดยนางสมจิตร เกษสอน 2. ทุนทางเศรษฐกิจและการคา ขาย กลุม ทําดอกไมจนั กลมุ นมี้ ีผลติ ภณั ฑหลายอยา งทใ่ี ช ประกอบกัน เชน ธูปเปนสวนหนึ่งในการทาํ ดอกไมจ นั ซ่ึงตองใชเปนจาํ นวนมาก กลมุ นส้ี ามารถ นําไปสูการพัฒนาดา นการผลิตธปู เพ่ือลดตนทนุ ดวยการทําธปู จากวัตถุดบิ ในพืน้ ทที่ ม่ี ไี ด หมทู ่ี 12 1. ดา นทรัพยากรมนุษย ปราชญภ ูมปิ ญ ญาดานการสานของใสปลาและสานสวิงตกั ปลาดวยไมไผ สามารถนําไปสูพฒั นาดา น การรวบรวมองคความรู เพ่ือจัดทาํ ฐานขอมลู ดา นภูมิปญญา ทองถิ่น มีการสบื ทอดโดยนายพศิ าล นวลเผอ่ื น 4. ทุนทางเศรษฐกจิ และการคาขาย กลมุ ทําดอกไมจัน กลมุ นี้มีผลิตภัณฑหลายอยางทีใ่ ช ประกอบกนั เชน ธปู เปน สวนหนงึ่ ในการทําดอกไมจนั ซึ่งตองใชเปนจาํ นวนมาก กลุมนีส้ ามารถ นําไปสกู ารพฒั นาดา นการผลติ ธปู เพื่อลดตน ทนุ ดว ยการทําธปู จากวัตถดุ ิบในพื้นทีท่ ีม่ ไี ด (เปน การ รวมกลุมกันทาํ ระหวา งหมูที่ 12และหมูท่ี 11)

-34- 3.2 ปญหาและความตองการในพื้นท่ี ตําบลคลองน้ําใส อําเภอ อรญั ประเทศ จงั หวดั สระแกว หมูที่ 1 1. ดา นทรัพยากรมนุษยมีปญหา ปราชญผ ูเชย่ี วชาญดานการสานไมกวาด ดาน กลมุ อาชีพทําไมกวาด ชมุ ชนไมเขารวมกิจกรรมดังนั้นในปจจุบนั จงึ มีคนเขารวม ประมาณ 1-2 คน (ทาํ เพื่อใชในครวั เรือนเพราะไมม ีตลาดสง ) 2. ดานทุนทางสงั คมและทุนทางวัฒนธรรมมปี ญหา มีกลุมแมบ านเยบ็ ผา วนแตใน ปจจบุ ันไมม ีการดาํ เนินกิจกรรมกลุมเนื่องจากขาดจักรเย็บผา ตองการใหมกี ารสง เสริมสนบั สนนุ ดาน จักรเย็บผา และเศษผา เพือ่ ใหมกี ารดาํ เนินกิจกรรม 3. ดานทุนทางเศรษฐกจิ และการคา ขายมีปญหา กลุมนํ้าพรกิ ปญหาเร่ือง การตลาดผลิตแลวไมมีตลาดขายและคนในชุมชนตองออกไปทํางานนอกชุมชนกลมุ จงึ สลาย ตองการ ใหมกี ารสงเสรมิ สนบั สนนุ หาแหลงตลาดขายผลติ ภัณฑ 4. ดานทุนทางทรัพยากรธรรมชาติมีปญหา มีคลองไหลผานทกุ หมู มีอางเกบ็ นํ้า แตไมส ามารถนํานํา้ มาอุปโภคไดเพราะในฤดแู ลงนํา้ จะแหงนา้ํ จะมีใชในฤดูฝน ทุกหมบู า นผูนาํ กลา ววา จะมีนาํ้ ใชท ําการเกษตรในฤดฝู น ซึ่งเปน ปญ หาระดับประเทศระหวา ง 2 ประเทศจึงไมสามารถก้นั นํ้าไว ใชไ ด หมทู ่ี 2 1. ดานทรัพยากรมนุษยมปี ญหา ราชญผูเชีย่ วชาญทาํ ไมกวาดคนในชมุ ขนไมให ความรวมมอื และไมเขารว มกิจกรรมเม่ือรวมกลุมแลวไมเกิดความยัง่ ยืน กลมุ ลมเหลว ผูนาํ ไมเ ขมแข็ง 2. ดานทุนทางทรัพยากรธรรมชาตมิ ีปญ หา มคี ลองไหลผานทุกหมู มีอางเก็บนาํ้ แตไ มส ามารถนาํ นํา้ มาอปุ โภคไดเพราะในฤดูแลง น้าํ จะแหงน้าํ จะมีใชในฤดฝู น ทกุ หมูบานผนู าํ กลาววา จะมนี ํา้ ใชทาํ การเกษตรในฤดฝู น ซึ่งเปน ปญ หาระดับประเทศระหวา ง 2 ประเทศจึงไมส ามารถก้ันนาํ้ ไว ใชได หมทู ี่ 3 1. ดานทุนทางสังคมและทุนทางวัฒนธรรมมีปญหา มกี ลุมสตรีแมบ านเพื่อการ ผลติ ในปจจุบนั ไมม ีการดําเนนิ กิจกรรมกลุม ตอ งการใหม กี ารสงเสริมสนบั สนุนดา นการผลติ ภัณฑ เพอ่ื ใหมกี ารดําเนินกิจกรรม

-35- 2. ดานทุนทางทรัพยากรธรรมชาติมีปญ หา มคี ลองไหลผานทกุ หมู มีอางเก็บนาํ้ แตไ มสามารถนํานา้ํ มาอปุ โภคไดเพราะในฤดแู ลง นํา้ จะแหงนํา้ จะมีใชในฤดฝู น ทุกหมูบา นผูนาํ กลาววา จะมนี ้ําใชท ําการเกษตรในฤดฝู น ซงึ่ เปนปญหาระดับประเทศระหวาง 2 ประเทศจึงไมสามารถกน้ั น้ําไว ใชได หมูท่ี 4 1. ดานทุนทางสงั คมและทุนทางวัฒนธรรมมีปญหา มีกลุม ปลูกพริก ในปจจบุ นั ไม มกี ารดาํ เนินกิจกรรมกลุม เน่ืองจากภัยแลง ไมมนี ํ้ามีเฉพาะฤดฝู น ตองการใหม ีการแกปญหาน้าํ แลง 2. ดานทุนทางทรพั ยากรธรรมชาติมีปญ หา มคี ลองไหลผานทุกหมู มีอางเกบ็ นาํ้ แตไมส ามารถนําน้ํามาอุปโภคไดเพราะในฤดแู ลงน้ําจะแหงน้ําจะมีใชในฤดูฝน ทกุ หมบู านผูนาํ กลาววา จะมีน้ําใชท าํ การเกษตรในฤดฝู น ซง่ึ เปนปญ หาระดบั ประเทศระหวา ง 2 ประเทศจงึ ไมสามารถกัน้ นา้ํ ไว ใชไ ด หมูท ่ี 5 - ไมม  - หมทู ่ี 6 1. ดา นทรัพยากรมนุษยมีปญหา ดานกลุมทํานํ้าพริก คนในชุมชนไมใหความ รว มมือ มีโรงงานนํา้ พริกแตหัวหนา กลมุ ไมเ ขมแข็งเมื่อรวมกลุมแลว จงึ ไมย ่ังยนื กลุมลมเหลว 2. ดา นทุนทางทรัพยากรธรรมชาติมีปญหา มคี ลองไหลผานทุกหมู มีอางเก็บนํา้ แตไมสามารถนาํ น้ํามาอุปโภคไดเพราะในฤดแู ลง นํา้ จะแหง นาํ้ จะมีใชในฤดูฝน ทุกหมบู า นผนู าํ กลาววา จะมนี า้ํ ใชทาํ การเกษตรในฤดฝู น ซึ่งเปน ปญ หาระดบั ประเทศระหวาง 2 ประเทศจึงไมสามารถกั้นน้ําไว ใชไ ด หมทู ี่ 7 1. ดา นทุนทางทรัพยากรธรรมชาติมีปญ หา มคี ลองไหลผานทกุ หมู มีอางเกบ็ น้าํ แตไ มส ามารถนาํ นาํ้ มาอปุ โภคไดเพราะในฤดแู ลง นาํ้ จะแหงน้ําจะมีใชในฤดฝู น ทกุ หมูบานผนู าํ กลา ววา จะมนี ํา้ ใชท าํ การเกษตรในฤดฝู น ซึ่งเปนปญหาระดบั ประเทศระหวา ง 2 ประเทศจงึ ไมสามารถกั้นนาํ้ ไว ใชไ ด หมูท่ี 8 1. ดานทุนทางทรัพยากรธรรมชาตมิ ีปญ หา มคี ลองไหลผานทกุ หมู มีอางเกบ็ น้ํา แตไ มสามารถนาํ นาํ้ มาอุปโภคไดเพราะในฤดแู ลงนา้ํ จะแหงน้ําจะมีใชในฤดูฝน ทกุ หมูบานผนู าํ กลาววา จะมีนํ้าใชท าํ การเกษตรในฤดฝู น ซง่ึ เปน ปญหาระดับประเทศระหวาง 2 ประเทศจงึ ไมสามารถกนั้ นาํ้ ไว ใชไ ด

-36- หมูที่ 9 1. ดานทุนทางเศรษฐกิจและการคา ขายมีปญ หา กลมุ เย็บผา พรมเชด็ เทา มีปญหา ดานการตลาดเนื่องจากตลาดท่เี คยรบั ซือ้ ยกเลิกการส่งั ผลติ ภณั ฑและปญหาดานวตั ถุดิบเศษผาขาด ตลาด ตองการใหห นวยงานราชการเขา มาใหการสงเสรมิ ดานหาวัตถุดบิ เศษผาและตลาดในการ จําหนา ยพรมเช็ดเทา หมทู ี่ 10 1. ดา นทุนทางทรัพยากรธรรมชาตมิ ีปญ หา มคี ลองไหลผานทุกหมู มีอา งเก็บน้ํา แตไ มสามารถนํานาํ้ มาอุปโภคไดเพราะในฤดแู ลงนํา้ จะแหงน้าํ จะมีใชในฤดฝู น ทุกหมูบา นผูน ํากลาววา จะมนี ํ้าใชทําการเกษตรในฤดูฝน ซ่งึ เปนปญหาระดบั ประเทศระหวา ง 2 ประเทศจึงไมสามารถกน้ั นา้ํ ไว ใชไ ด หมทู ี่ 11 1. ดา นทุนทางทรัพยากรธรรมชาตมิ ีปญ หา มคี ลองไหลผานทุกหมู มีอางเกบ็ น้ํา แตไมส ามารถนาํ น้าํ มาอปุ โภคไดเพราะในฤดแู ลงนาํ้ จะแหงนาํ้ จะมีใชในฤดฝู น ทกุ หมูบา นผนู าํ กลาววา จะมนี ้ําใชทําการเกษตรในฤดูฝน ซ่งึ เปนปญหาระดับประเทศระหวา ง 2 ประเทศจึงไมสามารถกนั้ นาํ้ ไว ใชไ ด หมทู ่ี 12 1. ดานทุนทางทรัพยากรธรรมชาติมีปญหา มคี ลองไหลผานทุกหมู มีอางเกบ็ นํา้ แตไมสามารถนําน้าํ มาอุปโภคไดเพราะในฤดูแลง นาํ้ จะแหง นํ้าจะมีใชในฤดฝู น ทกุ หมบู านผูนาํ กลาววา จะมีน้ําใชท าํ การเกษตรในฤดฝู น ซึง่ เปนปญหาระดับประเทศระหวา ง 2 ประเทศจึงไมส ามารถกั้นนาํ้ ไว ใชได

-37- 3.3 ประเด็นการพัฒนาเชิงพื้นที่ตําบลคลองนํ้าใส อําเภออรัญประเทศ จงั หวัดสระแกว การกําหนดประเด็นการพัฒนา วิเคราะหจากศักยภาพชุมชน ปญหาและความ ตองการของชุมชนตําบลคลองน้ําใส ทั้ง 12 หมูบาน สามารถสรุปศักยภาพชุมชน สามารถสรุป ประเดน็ การพัฒนาได ดังนี้ ครวั เรอื นพอเพียง บา นผกั กาดฮอง หมทู ี่ 5 กลมุ เลี้ยงไกพน้ื บา น มแี นวทางการพฒั นาใหเปน กลุมอาชีพ ที่เขมแข็งสามารถจดทะเบียนเปนกลุมอาชีพได และเพื่อลดตนทุนคาอาหารไกในการเลี้ยงไกพ้ืนบาน ซ่ึงมีตนทุนคาอาหารไกราคาสูง ชุมชนตองการใหมีการสงเสริมการผลิตอาหารไกดวยชุมชนเองจาก วัตถุดิบในชุมชน แนวทางพัฒนาผลิตนอนแมลงวันท่ีเปนโปรตีนสําหรับไก ซ่ึงชุมชนอยากให หนวยงานราชการพัฒนาตอยอดให (ชุมชนน้ีผูนําชุมชนเขมแข็งสามารถพัฒนาตอยอดได กลุมเปาหมาย จํานวน 5 ครวั เรือน บานอพป.คลองนาํ้ ใส หมูที่ 6 กลุมเลย้ี งกบและไกพ้ืนบาน มีแนวทางการพัฒนาใหเปน กลุมอาชีพที่เขมแข็งสามารถจดทะเบียนเปนกลุมอาชีพได และชุมชนตองการเพาะพันธุลูกกบเองและ ตองการทําอาหารกบ,อาหารไกพื้นบา นจากวัตถุดบิ ในชุมชน กลมุ เปาหมาย จํานวน 6 ครวั เรือน บานแสนสุขหมูที่ 7 กลุมเลี้ยงไกพ้ืนบาน มีแนวทางการพัฒนาใหเปนกลุมอาชีพท่ี เขม แขง็ สามารถจดทะเบียนเปนกลมุ อาชพี ได และเพือ่ ลดตนทนุ คา อาหารไกในการเลย้ี งไกพน้ื บา น ซง่ึ มีตนทุนคาอาหารไกราคาสูง ชุมชนตองการใหมีการสงเสริมการผลิตอาหารไกดวยชุมชนเองจาก วัตถุดิบในชุมชน แนวทางพัฒนาผลิตนอนแมลงวันที่เปนโปรตีนสําหรับไก ซ่ึงชุมชนอยากให หนวยงานราชการพัฒนาตอยอดให (ชุมชนน้ีผูนําชุมชนเขมแข็งสามารถพัฒนาตอยอดได กลมุ เปาหมาย จาํ นวน 3 ครวั เรือน บานเนินสมบูรณ หมูที่ 12 มีหมู 11 รว มทําดวยกันกลุมนี้มีผลิตภัณฑหลายอยางที่ ใชประกอบกัน เชน ธูปเปนสวนหนึ่งในการทําดอกไมจัน ซ่ึงตองใชเปนจํานวนมาก แนวทางการ พัฒนาคอื การผลิตธูปเพ่ือลดตน ทนุ ดวยการทําธปู จากวัตถุดิบในพน้ื ท่ีทีม่ ีไดกลุมทําดอกไมจัน มีความ ตองการทําธูปจากวัตถดุ ิบในชุมชนเพ่ือลดตนทุนในการทําดอกไมจันเพราะธูปตองใชเปนจํานวนมาก กลมุ เปาหมายจํานวน 5 ครัวเรอื น

-38- สวนที่ 4 รูปแบบการพฒั นาชมุ ชนนวตั กรรม จากขอมูลสรุปประเด็นการพัฒนาทั้ง 9 ประเดน็ บางประเดน็ สามารถดําเนินการได แบบเรงดวนบางประเด็นมหาวิทยาลัยไมสามารถดําเนินการได สามารถนําเสนอตอใหหนวยงาน ภาครัฐในภาคีเครือขายพิจารณาดาํ เนินตามกรอบหนวยงานเทาน้ัน ในสว นที่มหาวิทยาลัยดําเนินตอ ได จดั ทาํ ในรปู แบบการพัฒนาชุมชนนวัตกรรมท่ีมีทง้ั หมด 8 ประเด็น ดังน้ี 1.สรางผูนําการเปล่ยี นแปลง 2.พัฒนาจิตอาสา เพิ่มการมีสว นรวมพัฒนา 3.ครัวเรอื นพอเพียง 4.สบื สานวัฒนธรรมชมุ ชน 5.สุขภาพดี สวสั ดิการทั่วถึง 6.เกษตรปลอดภยั 7.วิสาหกิจชุมชนเขมแขง็ 8.สิง่ แวดลอมดี ชุมชนสวยงาม การพัฒนาชุมชนตําบลคลองนํา้ ใส สามารถดําเนินการตามรูปแบบการพัฒนาชุมชน นวตั กรรมโดยมงุ เนน การใชครัวเรือนพอเพยี งนาํ การพัฒนาและขยายผลพัฒนาตอในประเดน็ อนื่ ๆ ดงั ภาพท่ี 4, 5, 6, 7 และ ภาพที่ 8 ดังนี้ ภาพท่ี4 รปู แบบการพัฒนาชุมชนนวตั กรรมตําบลคลองนา้ํ ใส อําเภออรัญประเทศ

-39- ตําบลคลองนําใส อาํ เภออรัญประเทศ จงั หวดั สระแก้ว ภาพท่ี 5 แผนที่จดุ ตําบลคลองน้าํ ใส อ.อรญั ประเทศ ภาพท่ี 6 ชุมชนนวตั กรรมครัวเรอื นพอเพยี ง

-40- จากภาพท่ี 4 - 6 สรุปไดวา การดําเนินงานโครงการยกระดับคุณภาพชวี ิตชุมชนและ ทองถ่ิน ส่ิงแวดลอม และวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยสามารถดําเนินการไดท้ังหมด 6 ประเด็นตาม รายละเอียดในภาพ เพื่อมุงเนนการสรางผูนําในการพัฒนาที่เรียกวา “นวัตกรชุมชน” สรางการ เปล่ียนแปลงผานกิจกรรมสรางการเรียนรูจิตอาสาเพื่อถายทอดประสบการณจากผูสรางการ เปลีย่ นแปลงชมุ ชนจากรุนสูรุนเพ่ือสงเสรมิ คนรุนใหมมสี วนรวมพฒั นาชมุ ชน สง เสรมิ การพฒั นาชุมชน ครัวเรือนพอเพียง ตาํ บลคลองนาํ้ ใส ใน 3 มติ ิ ดังน้ี (ภาพที่ 6) 1. มิติการพัฒนาเศรษฐกิจไดแ ก กจิ กรรมสงเสริมการยกระดับขีดความสามารถของ กลุมอาชพี โดยเนนกระบวนการมีสวนรวม ไดแก กลุมเล้ียงไกพ ้ืนบานหมูท่ี 5 สงเสริมอาชีพการเล้ียง ไกพ้ืนบาน โดยการทําอาหารไกที่ผลิตจากวัสดุท่ีมีอยูในทองถ่ินเพื่อลดการซื้ออาหารไกจากภายนอก ชุมชน กลมุ เลี้ยงกบ หมูท่ี 6 ใหสามารถเพาะพันธลูกกบเพ่ือเลี้ยงเองและจําหนายโดยไมตองซื้อลูก จากนอกชุมชน และสงเสริมใหมีการผลิตอาหารกบจากวัตถุดิบในทองถิ่นเพ่ือลดการซ้ืออาหารกบ จากภายนอกชมุ ชน เพ่ือใหสามารถแขงขนั ในตลาดท่ีเนน ของดีราคาถูกไดอยา งมีประสทิ ธิภาพสูงสุด 2. มิติการพัฒนาสังคม ไดแก กิจกรรมสงเสริมสังคมครัวเรือนพอเพียงอยางมีสวน รวมโดยการทําบัญชีครัวเรือน และการเพ่ิมรายไดล ดรายจาย เกดิ กระบวนการรวมกลุม เกดิ เครือขาย การชวยเหลือการเลี้ยงไกพ้ืนบาน เกิดกลุมทางสังคม และเกิดความรวมมือจากหนวยงานราชการที่ เก่ยี วของ เพ่อื การเขา ถึงทางสายกลางตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง 3. มิตกิ ารพฒั นาสิ่งแวดลอ ม กิจกรรมสงเสริมการเลีย้ งไกพ้ืนบาน โดยไมใ ชสารเคมี หรือสารเรงโต นาํ ไปสูการเล้ียงไกพ้ืนบานแบบอินทรี โดยเนนกระบวนการมีสวนรวมเพ่ืองดการใช สารเคมีที่เปนพษิ ตอสง่ิ แวดลอม และรางกายมนุษย ชุมชนเกดิ ความสะอาดเนื่องจากการเพาะพันธลูก กบนั้นตองไมมีเชื้อโรค ชุมชนเกิดการใชทรัพยากรอยางรูค ณุ คา และชุมชนสามารถนําสิ่งท่เี หลือใชม า สรา งเปนมูลคา เชน ลําขาว ตน กลว ย และอน่ื ๆ เพือ่ นํามาแปรรูปเปน อาหารสตั ว ตลอดจนยังสามารถ ยกระดับราคาของผลิตภัณฑใหเพิ่มสูงขึ้นกวาราคาตลาดท่ัวไปเน่ืองจากเปนกบและไกอินทรี ใน ภาพรวมตาํ บลโดยเนน หมูท่ี 5, 6, และหมทู ี่ 7


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook