รายงานโครงการยกระดับคณุ ภาพชวี ติ ชมุ ชนและทอ้ งถ่นิ (โครงการระยะท่ี 1) ตำบลศาลาครุ อำเภอหนองเสือ จังหวัดปทุมธานี อาจารย์ ดร.สภุ ัชฌาน์ ศรีเอ่ียม และคณะ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถมั ภ์ ประจำปีงบประมาณ 2563
ข รายงานโครงการยกระดับคณุ ภาพชวี ิตชุมชนและท้องถน่ิ (โครงการระยะท่ี 1) ตำบลศาลาครุ อำเภอหนองเสอื จงั หวัดปทมุ ธานี อาจารย์ ดร.สภุ ัชฌาน์ ศรเี อย่ี ม อาจารย์ ดร.ธนชั พร บรรเทาใจ อาจารย์กุลชาติ พนั ธวุ รกุล อาจารยเ์ กยี รตศิ กั ดิ์ รักษาพล อาจารย์ภัทรเวช ธาราเวชรักษ์ คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถัมภ์ ประจำปีงบประมาณ 2563
ก กิตติกรรมประกาศ โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตชุมชนและท้องถิ่น สง่ิ แวดล้อมและวฒั นธรรมจังหวัดปทุมธานี (โครงการระยะที่ 1) เป็นการสร้างความร่วมมือกับโครงการบริหารส่วนจังหวัดศาลาครุ อำเภอหนอง เสือ จงั หวัดปทุมธานี เพอ่ื ศกึ ษาชุมชนและจดั ทำฐานข้อมลู ตำบลรวมถึงแผนปฏบิ ัตกิ ารเพม่ิ รายได้และ ยกระดบั คณุ ภาพชีวิตของคนในชมุ ชน คณะผู้จัดทำจึงได้กำหนดการศึกษาเชิงพื้นที่เพื่อเตรียมความ พร้อมในการยกระดับคุณภาพ ชีวิตของประชาชนในชุมชนศาลาครุ อำเภอหนองเสือ จังหวัดปทุมธานี และได้กำหนดทิศทางในการ ยกระดับในการพัฒนาอย่างมีประสิทธิภาพและเหมาะสม ซึ่งหวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานการศึกษา ฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ในทางวิชาการและสามารถใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติเพื่อก่อให้เกิด ประโยชน์แก่คนในชมุ ชน ตลอดจนผู้มีส่วนเกีย่ วข้องและขอบคุณทุกฝ่ายที่ทำใหก้ ารดำเนินงานสำเร็จ ลลุ ว่ งไปไดด้ ้วยดี อาจารย์ ดร.สภุ ชั ฌาน์ ศรเี อี่ยม และคณะ คณะครุศาสตร์ ปพี ุทธศกั ราช 2563
ข สารบัญ กิตตกิ รรมประกาศ ก 1 ส่วนท่ี 1 บทนำ 4 20 สว่ นท่ี 2 ผลการศกึ ษาชุมชนเบ้ืองตน้ ในระดับตำบล 20 26 สว่ นที่ 3 ผลการวิเคราะห์ศักยภาพ ปัญหา ความต้องการ และประเดน็ การพัฒนาเชิงพน้ื ท่ี 27 3.1 ผลการวเิ คราะหศ์ ักยภาพในการพัฒนาตำบลศาลาครุ อำเภอหนองเสือ 28 จังหวัดปทุมธานี 3.2 แผนท่ีแสดงศักยภาพดา้ นต่าง ๆ ของแตล่ ะหมบู่ า้ นในตำบลศาลาครุ อำเภอหนองเสอื 29 จังหวดั ปทมุ ธานี 3.3 ปัญหาและความตอ้ งการในพน้ื ทตี่ ำบลศาลาครุ อำเภอหนองเสอื จังหวดั ปทมุ ธานี 3.4 ประเด็นการพัฒนาเชิงพื้นที่ตำบลศาลาครุ อำเภอหนองเสอื จังหวัดปทมุ ธานี ส่วนที่ 4 รปู แบบการพัฒนาชุมชนนวัตกรรม
ค ส่วนที่ 1 บทนำ 1.1 หลักการและเหตุผล การพัฒนาคุณภาพชีวิต และยกระดับรายได้ของประชาชน แก้ไขปัญหาเชิงโครงสร้างการผลิต ภาคเกษตรเสริมสร้างความมั่นคงทางอาหาร พัฒนาโภชนาการและความปลอดภัยด้านอาหาร เพื่อ นำไปสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ของประชาชนและประเทศชาติ ซึ่งสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหา วชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร รัชกาลที่ 10 ทรงมีพระปณิธานแน่วแน่ที่จะสานต่อโครงการใน พระราชดำริของพระราชบิดา เพอื่ ชว่ ยเหลอื ประชาชนให้มีคุณภาพชวี ิตท่ดี ีข้นึ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นมหาวิทยาลัยที่พระราชาประสงค์ ให้เป็นมหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฎ พ.ศ. 2547 มาตรา 7ที่ระบุให้มหาวิทยาลัยเป็นสถาบันอุดมศึกษา เพื่อการพัฒนาท้องถิ่นเสริมพลังปัญญาของ แผ่นดิน ซึ่งสอดคล้องกบั แผนยุทธศาสตร์เพื่อยกคุณภาพมาตรฐานมหาวิทยาลัยราชภัฎสูค่ ุณภาพเปน็ เลิศ โดยมุ่งเน้นการพฒั นาคุณภาพบณั ฑิตสนู่ ักปฏิบตั อิ ย่างมืออาชพี การยกคณุ ภาพมาตรฐานชีวิตของ ชมุ ชน ทอ้ งถ่ิน และพนื้ ทใ่ี ห้มีความเข้มแขง็ และย่งั ยืน พร้อมท้ังสอดคล้องกบั ยทุ ธศาสตร์มหาวิทยาลัย ราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ในประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนางานพันธกิจ สัมพันธ์ และถ่ายทอด เผยแพร่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ โดยมีกลยุทธ์ในการสร้าง เครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติจากภายในและภายนอก เพื่อร่วมกันศึกษาแก้ไขปัญหาของชุมชนท้องถ่ิน และเสริมพลังให้ชุมชนท้องถิ่นสามารถดำรงอยู่ได้อย่างยัง่ ยืน ให้ความสำคญั ในการพัฒนาชุมชน และ ท้องถน่ิ ดังนั้น คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมถ์ จึงได้จัดทำ โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตชุมชนและท้องถิ่น ในพื้นท่ี ตำบลศาลาครุ อำเภอหนองเสือ จังหวัด ปทุมธานี โดยมีเป้าหมายเพื่อให้คนในชุมชนสามารถบริหารจัดการชีวิตตนเองได้อย่างสมดุลและมี ความเหมาะสม สามารถดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ร่วมกับการส่งเสริมภูมิ ปัญญาทอ้ งถน่ิ เพิ่มคณุ ค่าและมลู ค่า เสรมิ เศรษฐกจิ ฐานรากในชมุ ชนให้มีความ เข้มแข็ง ม่นั คง นำไปสู่ การพึ่งพาตนเองและช่วยเหลือเกื้อกูลกันในชุมชนไดอ้ ยา่ งยั่งยืน ส่งผลให้ชมุ ชนหมู่บ้านมีคณุ ภาพชีวิต และรายได้ที่เพิม่ ข้ึน
2 วัตถปุ ระสงค์ของการสำรวจลงพ้ืนทีช่ ุมชนในระดับตำบล และกลุ่มเปา้ หมาย 1) เพื่อสร้างความร่วมมือกับเครือข่ายประชารัฐ อาทิ ส่วนปกครองอำเภอหนองเสือ พัฒนาการ อำเภอ เกษตรอำเภอ องค์การบริหารส่วนตำบลศาลาครุ กำนัน ผู้นำชุมชน และหน่วยงานเอกชนใน พื้นที่ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตชุมชนตำบลศาลาครุ อำเภอหนองเสือ จังหวัด ปทุมธานี 2) เพื่อสำรวจบริบทชุมชน ครัวเรือนเป้าหมาย และจัดทำฐานขอ้ มูลตำบลศาลาครุ อำเภอหนอง เสอื จังหวดั ปทุมธานี 3) เพื่อจัดทำแผนปฏิบัติการเพิ่มรายได้ยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชุมชนศาลาครุ อำเภอ หนองเสอื จังหวดั ปทมุ ธานี 1.2 ขอบเขตการสำรวจลงพน้ื ท่ชี ุมชนในระดบั ตำบล และกลมุ่ เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมายประชาชนในพื้นที่ชุมชนหมู่ที่ 1-10 ตำบลศาลาครุ อำเภอหนองเสือ จังหวัด ปทมุ ธานี ผู้เขา้ รว่ มโครงการประชาชนตำบลศาลาครุ จำนวน ไมน่ อ้ ยกวา่ 400 ครัวเรอื น ระยะเวลาดำเนนิ โครงการเดอื นพฤศจิกายน 2562 ถงึ เดือนมกราคม 2563 1.3 วิธกี ารดำเนนิ การสำรวจความต้องการของชุมชนในระดับตำบล และกลุ่มเปา้ หมาย การดำเนินโครงการคณะผู้ดำเนินการมุ่งเน้นการสร้างกรอบปัญหาและความต้องการของชุมชน ระดับตำบล เพื่อกำหนดแผนปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมของชุมชนในการวางแนวทางลดปัญหาความ ยากจนของประชาชนและยกระดับขีดความสามารถของเศรษฐกิจรากฐาน การจัดการสิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม ตำบลศาลาครุ อำเภอหนองเสือ จังหวัดปทุมธานี วิธีการการดำเนินแผนงานเน้นไปที่ การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research) ซึ่งเป็นการบูรณาการการ วิจัยแบบมีส่วนร่วม (Participatory Research) และการวิจัยเชิงคุณภาพ (Quantitative Research) เพื่อให้ได้มาซึ่งแผนพัฒนาชุมชนที่จะสามารถลดความเหลื่อมล้ำในการยกระดับรายได้ของประชาชน นวัตกรรมและกระบวนการทางความคิดสร้างสรรค์ท่ีจะเพิ่มมลู ค่าทรัพยากรที่ไม่ก่อประโยชน์ในชุมชน ใหเ้ กิดประโยชน์อนั สง่ ผลให้ประชาชนมรี ายได้ท่ีเพิม่ สูงขึน้ กระบวนการลดปัญหาความยากจนที่เหมาะ กับการเข้าถึงของประชาชนทุกวัยได้อย่างทั่วถึงและยั่งยืนและเผยแพร่องค์ความรู้สู่ประชาชนกลุ่ม อนื่ ๆ ไดโ้ ดยมขี น้ั ตอนดงั ตอ่ ไปนี้
3 1) สร้างความร่วมมือกับหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง ดำเนินการจัดทำปฏิทินการลงพื้นที่ ศึกษาข้อมูลและยกระดับพัฒนาคุณภาพชีวิตชุมชนและท้องถิ่นเข้าพบและแสวงหาความร่วมมือจาก หน่วยงานภาครัฐและข้อปรึกษาหารือทิศทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนตำบล ศาลาครุ ได้แก่ นายก อบต. กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน องค์การบริหารส่วนตำบลศาลาครุ เพื่อขอ ปรึกษาหารือ เกย่ี วกบั ทศิ ทางการดำเนินโครงการ และขอฐานข้อมูลตำบลเบอื้ งตน้ 2) ศึกษาชุมชนและจัดทำฐานข้อมูลตำบล ดำเนินการประมวลผลรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร ฐานข้อมลู ท่เี ก่ยี วข้องของตำบลศาลาครุ โดยใชข้ ้อมลู จากบตั รสวัสดกิ ารแห่งรัฐและเกณฑ์ความจำเป็น ขั้นพื้นฐาน(จปฐ.) ที่ตกเกณฑ์ของพัฒนาการจังหวัดจัดประชุมผู้นำชุมชนทั้งตำบลศาลาครุ ได้แก่ ผู้ใหญ่บ้านและผู้นำชุมชนรวมหมู่ละ 3 คน เพื่อวางกรอบในการพัฒนาร่วมกันรวมทั้งคัดเลือก เป้าหมายในการพัฒนาศึกษาพื้นที่ เยี่ยมชมรวบรวมข้อมูลภาคสนามจากพื้นที่ของตำบลร่วมกับ เครือข่ายประชารัฐ 3 ครั้ง ในการเก็บข้อมูล OP3 รวมทั้งศึกษาบริบทชุมชนในภาพรวม ศึกษา ประเมินศักยภาพ ปัญหา ทุนของชุมชนจัดเวทีประชุมเสวนาคืนข้อมูลให้กับชุมชนจัดทำรายงานผล การศึกษาชุมชน และครัวเรือนเป้าหมาย จัดทำฐานข้อมูลตำบล (OP2 และ OP3)และประชุมเชิง ปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเพื่อ (PAR) กำหนดแผนการพัฒนาชุมชนร่วมกับคนในชุมชน และครัวเรือน เป้าหมายในตำบลศาลาครุ 3) จดั ทำแผนปฏบิ ัติการเพิ่มรายไดย้ กระดับคุณภาพชีวิตของคนในชมุ ชน 1.4 เครอื่ งมือทีใ่ ชก้ ารสำรวจความตอ้ งการของชุมชนในระดบั ตำบล และกลมุ่ เป้าหมาย การดำเนินโครงการ เก็บข้อมูลพื้นฐานชุมชนจากหน่วยงานราชการระดับจังหวัด อำเภอ และ ตำบล ซ่ึงเป็นข้อมูลทตุ ิยภมู ิ นำข้อมูลทไ่ี ด้วางแผนลงพื้นท่ีเพื่อเกบ็ ข้อมลู ปฐมภูมิ โดยใชแ้ บบสัมภาษณ์ เจาะลึกแบบมีโครงสร้าง (OP3-2)แบบสอบถาม (OP3-1) การสนทนากลุ่ม การสังเกต แบบสำรวจ ข้อมูล แผนผังชุมชน
4 สว่ นที่ 2 ผลการศึกษาชมุ ชนเบื้องต้นในระดบั ตำบล 2.1 ข้อมลู ท่วั ไปของชมุ ชนในระดับตำบล ตำบลศาลาครุเดิมพื้นที่เป็นป่าดงพงไพรมีเสือช้างที่ดุร้ายลงมาจากภูเขาจังหวัดสระบุรีบ้าง นครนายกบ้าง มาอาศัยกินน้ำในหนองน้ำเป็นที่หวาดกลัวของคนทั่วไป หนองน้ำแห่งนี้จึงได้ชื่อว่า\" หนองเสอื \" ตามชื่อสัตว์ดรุ ้าย ครง้ั ต้งั เปน็ อำเภอ จงึ ได้นามว่า \"อำเภอหนองเสือ\" วนั ที่ 30 สงิ หาคม 2499 จดั ตง้ั สขุ าภิบาลหนองเสือ ในทอ้ งท่ีบางสว่ นของตำบลบึงบา วนั ท่ี 7 พฤศจกิ ายน 2533 ตงั้ ตำบลนพรตั น์ แยกออกจากตำบลศาลาครุ วนั ท่ี 25 พฤษภาคม 2542 ยกฐานะจากสขุ าภบิ าลหนองเสือ เปน็ เทศบาลตำบลหนองเสอื อำเภอหนองเสือแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 7 ตำบล 69 หมู่บ้าน ดงั นี้ 1. บงึ บา (Bueng Ba) 8 หม่บู ้าน 2. บึงบอน (Bueng Bon) 9 หมบู่ ้าน 3. บงึ กาสาม (Bueng Ka Sam) 9 หมูบ่ า้ น 4. บึงชำอ้อ (Bueng Cham O) 12 หมูบ่ ้าน 5. หนองสามวัง (Nong Sam Wang) 13 หมูบ่ า้ น 6. ศาลาครุ (Sala Khru) 10 หมูบ่ า้ น 7. นพรัตน์ (Noppharat) 8 หมบู่ ้าน 2.2 สภาพนเิ วศวิทยาในระดบั ตำบล อำเภอหนองเสอื มีสภาพพื้นทีส่ ่วนใหญ่เปน็ ท้องทงุ่ มลี ำคลองไหลผ่านหลายสาย ตั้งอย่ทู างทิศ ตะวันออกเฉียงเหนือของจงั หวัดปทุมธานี มอี าณาเขตตดิ ต่อดังน้ี - ทิศเหนือ ติดต่อกับอำเภอวงั น้อย (จังหวัดพระนครศรีอยุธยา) อำเภอหนองแค และอำเภอ วิหารแดง (จังหวัดสระบุรี) มีคลองระพีพัฒน์ (คลองหกวาสายบน) คลองสิบสาม คลองสามสิบสาม คลองแม่นำ้ ใน และคลองสามสิบสองเป็นเส้นแบง่ เขต - ทิศตะวันออก ติดต่อกับอำเภอบ้านนาและอำเภอองครกั ษ์ (จังหวัดนครนายก) มีคลองสิบสี่ เปน็ เสน้ แบ่งเขต - ทิศใต้ ตดิ ตอ่ กับอำเภอธัญบรุ ี มีแนวลำรางสาธารณะเปน็ เส้นแบ่งเขต - ทิศตะวนั ตก ติดต่อกับอำเภอหนองเสือ มีคลองเจด็ เปน็ เสน้ แบง่ เขต
5 2.3 สภาพพื้นฐานด้านเกษตรกรรม การปลูกพืช การใช้แรงงาน ชนิด จำนวน เหตุผล ของสัตวท์ ่ีเลี้ยง ปญั หาดา้ นการเลีย้ งสตั ว์ การกระจายผลผลิต และการตลาด เนอื่ งจากอำเภอหนองเสือมสี ภาพพ้นื ท่ีส่วนใหญ่เป็นท้องทุ่งและมีลำคลองไหลผ่านหลายสาย จึงทำให้ประชาชนส่วนใหญ่ในเขตเทศบาลประกอบอาชีพเกษตรกรรม ได้แก่ สวนฝรั่งไร้เมล็ด แก้วมังกร กล้วยหอม กล้วยน้ำว้า พืชล้มลุก เช่น ถั่วฝักยาว ข้าวโพด มะระ แตงกวา ผักหวานปลอด สารพิษ ทำนา และเลี้ยงปลา เลี้ยงกบ บางส่วน มีการประกอบการค้าขาย แลกเปลี่ยนสินค้าและ บรกิ ารหลายประเภทเพอ่ื ตอบสนองความต้องการในดา้ นอปุ โภคของประชาชน การเลีย้ งปลาเพ่ือจำหน่ายในอำเภอหนองเสอื การเล้ียงกบในอำเภอหนองเสือ
6 โรงเพาะเหด็ ในอำเภอหนองเสือ ไร่กลว้ ยนำ้ วา้ ในอำเภอหนองเสือ ปัญหาด้านการเลย้ี งสตั ว์ท่ีพบจากการสำรวจในพน้ื ทจ่ี ริงคือ ปัญหาภัยแลง้ ซึ่งทำให้นำ้ ใน ลำคลองแห้งและไม่เพยี งพอต่อความต้องการใชใ้ นการประกอบอาชีพดา้ นเลยี้ งสัตว์นำ้ และสัตว์คร่งึ บก ครึ่งน้ำ
7 ลำคลองที่แห้งแล้งในอำเภอหนองเสอื การกระจายผลผลิต ในอำเภอหนองเสือเรื่องของการกระจายผลผลติ สว่ นมาก ผลติ ข้นึ เพ่ือจำหน่ายแคเ่ พยี งใน ชมุ ชน ยงั ไมม่ กี ารกระจายสนิ คา้ ไปในพนื้ ที่อน่ื มากนกั 2.4 ข้อมลู ดา้ นประชากรในระดับตำบล - มปี ระชากรท้ังสนิ้ 5,181 คน - แยกเปน็ ชาย 2,566 คน - แยกเป็นหญงิ 2,615 คน - จำนวนครัวเรือน 1,493 ครวั เรอื น (ขอ้ มูลเมื่อวันท่ี 5 มิถุนายน 2555) 2.5 ข้อมูลด้านสาธารณูปโภคในระดบั ตำบล ดา้ นคมนาคม 1) มีเส้นทางคมนามคมตดิ ต่อกบั อำเภอ 2 เส้นทาง คอื • ศาลาครุ-วัดเจรญิ บญุ -ท่วี า่ การอำเภอหนองเสือ-ปากคลอง 10 • ศาลาครุ-ถนนแอนหนง่ึ -ถนนหน้า อบต.หนองสามวงั -คลองสิบ-อำเภอ-ปากคลองสิบ 2) มเี สน้ ทางคมนาคมติดตอ่ กับจงั หวัดปทมุ ธานี 2 เส้นทาง คอื • ศาลาครุ-ปากคลองสบิ สี่-ถนนรังสิต-องครักษ์-ปทุมธานี • ศาลาครุ-อำเภอหนองเสอื -หนองเสือ-พหลโยธนิ -ปทมุ ธานี
8 ดา้ นโทรคมนาคม • ทท่ี ำาการไปรษณีย์โทรเลข จำนวน - แหง่ • มโี ทรศพั ทใ์ ช้ หมู่ท่ี 2, 5, 6, 8 และ 9 • ไมม่ โี ทรศัพทใ์ ช้ หม่ทู ี่ 1, 3, 4, 7 และ 10 ด้านการไฟฟ้า ในเขตพืน้ ท่ีองค์การบริหารส่วนตำบลศาลาครุ มไี ฟฟ้าเขา้ ถึงทุกหลงั คาเรือน จำนวน 8 หมู่บา้ น คอื หมู่ท่ี 1, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9 สว่ นหมู่บา้ นท่ีเข้าถึงเป็นบางส่วนยังไม่เต็มพนื้ ท่มี ีจำนวน 2 หมูบ่ า้ น คือ • หม่ทู ่ี 2 หมู่บ้านลาดผกั ขวง จำนวน 1 หลังคาเรือน • หมูท่ ี่ 10 หมบู่ า้ นแสนจำหน่าย จำนวน 1 ครัวเรอื น 2.6 ขอ้ มลู ด้านสงั คมในระดบั ตำบล ดา้ นการศึกษา - โรงเรยี นประถมศึกษา จำนวน 3 แห่ง - โรงเรยี นมธั ยมศกึ ษา จำนวน 1 แห่ง ด้านศาสนา - มีวัด จำนวน 1 แหง่ ดา้ นสาธารณสขุ - มสี ถานีอนามยั ประจำตำบล จำนวน 1 แห่ง - อตั ราการมีและใช้ส้วมราดน้ำ รอ้ ยละ 100 - กองทนุ วัคซีนป้องกนั โรคพิษสนุ ัขบา้ ต้ังเป็นศูนย์ จำนวน 1 แห่ง - การออกข้อบัญญัติป้องกันโรคไขเ้ ลือดออกขององคก์ ารบรหิ ารส่วนตำบลมีการปอ้ งกนั ทั้งปี ดา้ นความปลอดภยั ในชีวติ และทรัพยส์ ิน - มีศูนย์ตำรวจชุมชนประจำาตำบล จำนวน 1 แหง่ - มีการจัดตั้งศนู ย์ อปพร. และฝกึ อบรม อปพร. ขององคก์ ารบรหิ ารส่วนตำบล - มกี ารติดตงั้ ป้ายบอกเส้นทางและเตือนตามเส้นทางถนนทั่วเขตองค์การบริหารสว่ นตำบล - มีการตดิ ตง้ั และดแู ลซอ่ มแซมดวงไฟทางสาธารณะเพิ่มข้นึ และใช้การได้ - มีการประสานตำรวจตรวจตราทุกหมบู่ ้านให้ความปลอดภยั
9 2.7 ข้อมลู ด้านการศกึ ษาในระดับตำบล มศี นู ยพ์ ฒั นาเด็กเลก็ 2 แหง่ ไดแ้ ก่ - ศูนยพ์ ฒั นาเด็กเล็กองค์การบริหารสว่ นตำบลศาลาครุ - ศูนย์พัฒนาเดก็ เลก็ โรงเรยี นแสนจำหน่ายวทิ ยา มโี รงเรยี นระดบั ประถมศึกษา 2 แหง่ ได้แก่ - โรงเรยี นแสนจำหนา่ ยวทิ ยา - โรงเรยี นวัดปทุมนายก มีโรงเรยี นระดับมธั ยมศกึ ษา 1 แหง่ ได้แก่ - โรงเรยี นอยปู่ ระชานุเคราะห์ มศี ูนยก์ ารเรียนรู้ 2 แห่ง ได้แก่ - ศนู ยก์ ารเรยี นรู้การพฒั นาที่ดิน - ศูนยว์ จิ ัยและพฒั นาประมงนำ้ จืดปทมุ ธานี 2.8 ข้อมูลด้านการสาธารณสุขในระดับตำบล มโี รงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพ (สถานอี นามยั ) 1 แห่ง ได้แก่ - โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตำบลศาลาครุ มีศูนย์กองทนุ วคั ซนี ป้องกันโรคพษิ สุนัขบ้า 1 แห่ง มีการออกข้อบัญญัตปิ ้องกนั โรคไขเ้ ลือดออกขององค์การบรหิ ารสว่ นตำบลมกี ารป้องกนั ท้งั ปี มีอัตราการมแี ละใชส้ ว้ มราดน้ำ รอ้ ยละ 100 2.9 ขอ้ มูลด้านศาสนา วัฒนธรรม ความเช่อื และการสนั ทนาการในระดับตำบล มีวดั 1 แหง่ ได้แก่ - วดั ปทุมนายก 2.10 ข้อมลู ด้านเศรษฐกจิ ในระดับตำบล ลักษณะทางเศรษฐกิจ อาชพี ของประชากร ทําการเกษตรเป็นอาชีพหลัก คอื ทำนา ทำสวนกล้วย ถัว่ ฝักยาว เหด็ ฟาง และพืชพันธ์ุนานา ชนดิ ซงึ่ เป็นพชื เศรษฐกจิ เพาะพนั ธ์ปลานำ้ จดื
10 เศรษฐกิจของตําบล ➢ ประกอบอาชีพทางการเกษตร เพาะพันธุ์ปลานำ้ จืดจาํ หน่าย รับจ้างเป็นแคดด้ีในสนาม กอลฟ์ และ อาชีพอน่ื ตามฤดกู าล ➢ มกี ารเดินทางไปทํางานในโรงงานนอกเขตองคก์ ารบริหารส่วนตําบล หนว่ ยธุรกิจในเขตองค์การบรหิ ารส่วนตําบล ➢ โรงสี จาํ นวน 1 แห่ง ➢ โรงงานทาํ เสาเขม็ พื้นสําเร็จรปู จาํ นวน 2 แห่ง ➢ โรงงานชาํ แหลไก่สด จํานวน 1 แหง่ ➢ โรงงานฟอกหนังสตั ว์ จาํ นวน 1 แหง่ 2.11 ข้อมลู ดา้ นการเมอื งและการปกครองทอ้ งถ่ินในระดับตำบล องคก์ ารบรหิ ารส่วนตาํ บลศาลาครุ เขตการปกครอง มีหมู่บา้ นจํานวน 10 หมูบ่ า้ น มีจํานวนหมบู่ า้ นในเขตองค์การบรหิ ารส่วนตําบล เต็มท้ังหมู่บา้ น 10 หมู่บ้าน ดังน้ี ➢ หมทู่ ี่ 1 หมบู่ ้านทา่ ลาภบาํ รงุ เจรญิ รัฐ ➢ หมูท่ ่ี 2 หมู่บา้ นลาดผกั ขวง ➢ หมู่ที่ 3 หมู่บา้ นสหพฒั นา ➢ หมทู่ ่ี 4 หมบู่ ้านวงั ทองสามคั คี ➢ หมทู่ ่ี 5 หมูบ่ ้านบึงปลารา้ ➢ หมู่ท่ี 6 หมู่บา้ นวังจระเข้ ➢ หมทู่ ี่ 7 หมบู่ า้ น 33 พฒั นา ➢ หมู่ท่ี 8 หมู่บ้านลาํ น้ำพฒั นา ➢ หมู่ที่ 9 หมู่บ้านลํานำ้ สามัคคี ➢ หมู่ที่ 10 หมู่บ้านแสนจาํ หน่าย ท้องทอ่ี นื่ ในเขตองคก์ ารบริหารส่วนตำบลไมม่ ี
11 2.12 ขอ้ มลู ด้านแผนงาน โครงการ และแนวทางการพฒั นาของในระดับตำบล ยทุ ธศาสตร์การพฒั นาขององค์การบริหารสว่ นตำบลศาลาครุ วสิ ัยทศั น์ (Vision) “ตำบลศาลาครุ เป็นตำบลที่น่าอยู่ มีการพัฒนาทางด้านการเกษตร การศึกษาสาธารณูปโภค เพื่อให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี อยู่อย่างปลอดภัย มีความสุขทั่วหน้า รักษาระเบียบวินัย และ ชว่ ยเหลอื เกอ้ื กลู กันรวมทั้งมสี ว่ นร่วมในการพัฒนาตำบลอย่างยั่งยืน ยดึ หลักแนวทางตามหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง” ยุทธศาสตร์ (Strategy) ยุทธศาสตรท์ ี่ 1 การพัฒนาการสาธารณูปโภค 1) พันธกิจ จัดให้มีและบำรุงรักษาระบบสาธารณูปโภค-สาธารณูปการ ปรับปรุงพัฒนา สิ่งแวดล้อมพัฒนาคุณภาพชีวิต ส่งเสริมบำรุงรักษาวัฒนธรรมและประเพณี สร้างความปลอดภัยใน ชีวติ และทรัพย์ของประชาชนพฒั นาการบรหิ ารจัดการโดยยดึ หลกั ธรรมาภบิ าล 2) เปา้ ประสงค์ เพ่อื ใหม้ ีสาธารณปู โภค สาธารณูปการทีม่ คี ณุ ภาพและได้มาตรฐาน เป้าประสงค์ ตัวช้วี ดั เป้าประสงค์ 1.เพื่อให้มีสาธารณูปโภค สาธารณูปการที่มี - จำนวนโครงการ/กิจกรรม เพื่อให้มีและ คุณภาพ บำรุงรักษาระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการ และได้มาตรฐาน ให้มคี ุณภาพและไดม้ าตรฐาน 3) กลยทุ ธ/์ แนวทางการพฒั นา และตวั ชีว้ ดั ระดบั กลยุทธ์ แนวทางการพฒั นา ตัวชว้ี ัดแนวทางการพัฒนา 1.พัฒนาระบบสาธารณูปโภคและโครงสร้าง - จำนวนโครงการ/กิจกรรมที่ให้มีและพัฒนา พน้ื ฐาน ระบบสาธารณปู โภคและโครงสรา้ งพื้นฐาน ยทุ ธศาสตร์ (Strategy) ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 2 การพัฒนาสง่ เสริมคณุ ภาพชีวิต 1) พันธกิจ ปรับปรุงพัฒนาส่งิ แวดล้อม พัฒนาคณุ ภาพชีวติ สง่ เสรมิ บำรงุ รกั ษาวัฒนธรรมและ ประเพณี สร้างความปลอดภยั ในชวี ิตและทรพั ย์ของประชาชน 2) เป้าประสงค์ เพอ่ื ใหป้ ระชาชนมคี ุณภาพชวี ติ ทด่ี ีมีความปลอดภัยในชีวติ และทรัพย์สิน เปา้ ประสงค์ ตัวชวี้ ัดเป้าประสงค์ 1.ประชาชนมคี ุณภาพชีวติ ที่ดขี นึ้ - จำนวนโครงการ/กิจกรรมที่เป็นการพัฒนา คณุ ภาพชวี ิตของประชาชน
12 3) กลยทุ ธ์/แนวทางการพฒั นา และตวั ชี้วดั ระดับกลยทุ ธ แนวทางการพฒั นา ตวั ช้ีวดั แนวทางการพัฒนา 1. การส่งเสริมความปลอดภัยในชีวิตและ - จำนวนกิจกรรมที่ส่งเสริมความปลอดภัยในชีวิต ทรัพย์สนิ และทรพั ยส์ นิ 2. การสงั คมสงเคราะห์ - จำนวนกิจกรรมที่ให้ความช่วยเหลือเด็ก ผู้ยากไร้ 3. การพฒั นาและแกไ้ ขปญั หาทางสงั คม ผสู้ ูงอายุ คนพิการ ผูด้ อ้ ยโอกาสและผปู้ ่วยเอดส์ 4. การส่งเสริมการดูแลรักษาสุขภาพอนามัย - จำนวนกิจกรรมที่พัฒนาและแก้ไขปัญหาทาง และการกีฬา สังคม 5. การส่งเสริมการศึกษา การเรียนรู้ ข้อมูล - จำนวนกิจกรรมที่ส่งเสริมการดูแลรักษาสุขภาพ ขา่ วสาร อนามยั และการกฬี า - จำนวนกิจกรรมที่ส่งเสริมการศึกษา การเรียนรู้ ขอ้ มลู ขา่ วสาร ยุทธศาสตร์ (Strategy) ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาการบำรงุ รกั ษาคณุ ภาพส่ิงแวดล้อทม 1) พนั ธกิจ ปรบั ปรุงพัฒนาสง่ิ แวดลอ้ ม 2) เปา้ ประสงค์ เพอื่ อนรุ ักษ์ทรพั ยากรธรรมชาติสิง่ แวดลอ้ มและสาธารณะสมบัติเป็นไปอย่างมี ประสทิ ธิภาพ ประชาชนมีสถานทพี่ ักผอ่ นปราศจากมลพษิ เป้าประสงค์ ตวั ชว้ี ดั เป้าประสงค์ 1.อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและ - จำนวนโครงการ/กจิ กรรมท่เี ป็นการพฒั นา สาธารณะสมบัติเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ คุณภาพชีวิตของประชาชน ประชาชนมสี ถานที่พักผ่อนปราศจากมลพิษ 3) กลยุทธ์/แนวทางการพฒั นา และตัวชีว้ ดั ระดับกลยทุ ธ แนวทางการพฒั นา ตัวช้ีวดั แนวทางการพัฒนา 1. การพฒั นาสิง่ แวดล้อม - จำนวนกิจกรรมที่ส่งเสริมการพัฒนา สิ่งแวดล้อม
13 ยุทธศาสตร์ (Strategy) ยุทธศาสตร์ที่ 4 การพัฒนาการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมประเพณี ภูมิ ปัญญาทอ้ งถิน่ 1) พนั ธกิจ สง่ เสรมิ พฒั นาการอนรุ กั ษ์ศิลปวัฒนธรรมประเพณี ภมู ปิ ัญญาท้องถน่ิ 2) เปา้ ประสงค์ เพอ่ื อนุรักษท์ รพั ยากรธรรมชาติสง่ิ แวดล้อมและสาธารณะสมบัติเป็นไปอย่างมี ประสิทธภิ าพ ประชาชนมีสถานท่พี กั ผอ่ นปราศจากมลพิษ เปา้ ประสงค์ ตวั ชีว้ ดั เป้าประสงค์ 1.อนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมประเพณี ภูมิปัญญา - จำนวนครั้งในการจัดกิจกรรมที่อนุรักษ์ ทอ้ งถน่ิ ศิลปวัฒนธรรมประเพณี ภูมิปญั ญาทอ้ งถิน่ 3) กลยุทธ์/แนวทางการพัฒนา และตัวชวี้ ดั ระดบั กลยทุ ธ แนวทางการพัฒนา ตวั ชว้ี ัดแนวทางการพัฒนา 1. การอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี ภูมิ - จัดกิจกรรมอนุรักษ์ศิลปวฒั นธรรม ประเพณี ปญั ญา ภมู ปิ ัญญาท้องถน่ิ ทอ้ งถน่ิ ยทุ ธศาสตร์ (Strategy) ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 5 การพัฒนาการส่งเสริมพัฒนาการเศรษฐกิจ 1) พันธกิจ ส่งเสริมการประกอบอาชีพของประชาชนพัฒนาทุนจากทรัพยากรธรรมชาติและ สง่ิ แวดล้อมให้เป็นทุนทางเศรษฐกิจ โดยยึดหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 2) เป้าประสงค์ เพ่ือให้ประชาชนมอี าชพี และรายได้ เปา้ ประสงค์ ตัวชี้วดั เปา้ ประสงค์ 1.ประชาชนมีอาชพี และรายได้ - จำนวนโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมสนับสนุน อาชพี และรายได้ใหก้ ับประชาชน 3) กลยุทธ์/แนวทางการพฒั นา และตวั ช้วี ดั ระดับกลยุทธ แนวทางการพฒั นา ตว้ั ชี้วัดแนวทางการพัฒนา 1. การสง่ เสรมิ อาชพี - จำนวนกิจกรรมที่ส่งเสริมรายได้ให้กับ 2. การพฒั นาด้านการเกษตร ประชาชน - จำนวนโครง/กิจกรรมกิจกรรมที่พัฒนา ศกั ยภาพเกษตรกร และพฒั นาดา้ นการเกษตร
14 ยุทธศาสตร์ (Strategy) ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 6 การพฒั นาดา้ นการบรหิ ารจดั การส่งเสรมิ พัฒนาการ 1) พนั ธกิจ เพิ่มประสิทธิภาพการบรหิ ารจัดการ และการให้บริการประชาชน 2) เป้าประสงค์ เพื่อให้การบริหารจัดการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพโดยยึดหลักธรรมาภิบาล และการมสี ว่ นรว่ มของประชาชนประชาชน เปา้ ประสงค์ ตวั ชว้ี ัดเปา้ ประสงค์ 1. ประชาชนได้รับการบริการสาธารณะที่ได้ - จำนวนโครงการ/กิจกรรมเพื่อพัฒนาการ มาตรฐาน และเข้ามามสี ่วนร่วมในการพฒั นา บริหารจัดการ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของ ประชาชน และสนับสนุนการดำเนินการตาม นโยบายของรัฐบาล 3) กลยุทธ/์ แนวทางการพฒั นา และตวั ชี้วดั ระดับกลยุทธ์ แนวทางการพฒั นา ตวั ช้วี ัดแนวทางการพัฒนา 1. การสง่ เสริมการมีสว่ นร่วมของประชาชน - จำนวนโครง/กิจกรรมที่ส่งเสริมการมีส่วนร่วม 2. การพัฒนาบุคลากรพัฒนาสถานที่ และ ของประชาชน อุปกรณใ์ นการปฏบิ ตั งิ าน - ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการพัฒนา 3. การสนบั สนุนการดำเนินการตามนโยบายของ ศักยภาพ รฐั บาลและยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาจังหวัด - จำนวนกิจกรรมทีด่ ำเนินการตามนโยบายของ รฐั บาลและยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาจงั หวดั ยทุ ธศาสตร์ (Strategy) ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 7 การพฒั นาการสง่ เสริมการทอ่ งเทยี่ ว 1) พนั ธกจิ ส่งเสริม และพัฒนาการทอ่ งเที่ยว 2) เป้าประสงค์ เพ่มิ ศกั ยภาพการท่องเท่ียว เป้าประสงค์ ตวั ช้วี ดั เปา้ ประสงค์ 1. เพิม่ ศักยภาพการท่องเทย่ี ว - จำนวนโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมการ ท่องเท่ียว 3) กลยทุ ธ์/แนวทางการพฒั นา และตัวชี้วดั ระดบั กลยุทธ แนวทางการพัฒนา ตวั ชว้ี ดั แนวทางการพัฒนา 1.การสง่ เสริมการท่องเที่ยว - จำนวนโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมการ ท่องเทยี่ ว
15 จดุ ยนื ทางยทุ ธศาสตร์ (Positioning) ขององคก์ ารบรหิ ารส่วนตำบลศาลาครุ องค์การบริหารส่วนตำบลศาลาครุ มีความมุ่งมั่นที่จะพัฒนาการบริการสาธารณะเพื่อให้ ประชาชนตำบลศาลาครุมีคณุ ภาพชวี ิตมกี ารศกึ ษา อาชีพ รายไดท้ ดี่ ีข้นึ ทัง้ ยังสามารถแกไ้ ขปญั หาและ สนองตอบตอ่ ความต้องการของประชาชนอย่างแทจ้ ริง จงึ กำหนดจดุ ยนื ทางยุทธศาสตร์ Positioning คือ มีระบบการบริหารจัดการและการบริการประชาชนที่ดี พัฒนาโครงสร้าง พื้นฐานและดุลยภาพสิ่งแวดล้อม ส่งเสริมการเรียนรู้ พัฒนาคุณภาพชีวิต และกระบวนการผลิตของ ประชาชนธำรงรักษาศลิ ปวฒั นธรรมประเพณแี ละสง่ เสรมิ การทอ่ งเท่ียว การวิเคราะห์เพ่ือพฒั นาท้องถิน่ 1. การวเิ คราะห์กรอบการจดั ทำยทุ ธศาสตร์ขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน ในการจดั ทำแผนพัฒนาท้องถน่ิ สี่ปีไดใ้ ช้การวิเคราะห์ SWOT Analysis/Demand/Global Demand และ Trend ปจั จัยและสถานการณ์เปล่ียนแปลงทีม่ ผี ลต่อการพฒั นา อยา่ งน้อยต้องประกอบด้วย การ วิเคราะหศ์ กั ยภาพด้านเศรษฐกจิ ด้านสงั คม ด้านทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อมซ่ึงมีรายละเอียด ดงั น้ี 1. การสรุปสถานการณ์พฒั นา จุดแขง็ (Strength) จุดออ่ น(Weakness) 1. มพี นื้ ที่กว้างขวาง49.65ตร.กม. ลักษณะพ้ืนที่ 1. ขาดการจัดการด้านการผลิตข้าวการเกษตร อุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การทำการเกษตร ร้อย ผสมผสานปศสุ ัตว์ ละ 80ของพ้ืนท่ี 2. ขาดการบริหารจัดการใช้ทรัพยากรในพื้นที่ที่ 2. มีการทำนาข้าวซึ่งเป็นพืชเศรษฐกิจเป็น มอี ยู่อยา่ งหลากหลายใหล้ งตัวต่อเนื่องและคุ้มค่า ส่วนมากและประกอบอาชีพเสริมเช่นปลูก 3. ขาดการสนับสนุนและส่งเสริมอาชีพการใช้ ถ่ัวฝกั ยาว, ปลกู ข้าวโพด, สวนกลว้ ย, หตั ถกรรม เทคโนโลยีการผลิตการให้ความรู้เพิ่มผลผลิต พืน้ บ้าน, เพาะเห็ดฟางเป็นต้น อย่างต่อเนือ่ ง 3.สภาพภูมิศาสตร์มีแหล่งน้ำล้อมรอบได้แก่ 4. ไม่มกี ารบรหิ ารการจัดการใชน้ ำ้ อยา่ งเพียงพอ คลอง 12, คลอง 13, คลอง 14, คลองแมน่ ำ้ ไนต์ และคมุ้ ค่าไม่มีคลองส่งน้ำเพื่อการเกษตรและน้ำ ซ่ึงมนี ้ำตลอดปี อุปโภคบริโภคอย่างเพียงพอและทั่วถึงทำให้ 4. มีชุมชนไม่หนาแน่นมีประชากร 5,149 คน ประสบปัญหาความเสียหายจากการทำ และสว่ นใหญเ่ ป็นประชากรในวยั ทำงานมคี ่าจ้าง การเกษตรขาดทุนการผลิตรายได้ไม่สม่ำเสมอ แรงงานไม่สูงมากแรงงานส่วนใหญ่มีฝีมือด้าน ทำให้มีการอพยพแรงงานไปทำงานต่างถิ่น เกษตรกรรม จำนวนมาก
16 จุดแข็ง(Strength) จดุ ออ่ น(Weakness) 5. มีสถานศึกษา3แห่งเป็นแหล่งเรียนรู้ท่ี 5.ไม่มีแผนการจัดทำผังเมืองและการใช้พื้นที่ เหมาะสมใกล้บ้านและมีวัด 1 วัดเป็นศูนย์รวม สาธารณะให้เหมาะสมและสร้างภูมิทัศน์ท่ี จิตใจเป็นผู้นำด้านศาสนาและวัฒนธรรม สวยงาม ประเพณีดีงามท้องถิ่นมีประเพณีอันดีงามในทุก 6.ไม่มแี หล่งทอ่ งเท่ียวจุดเด่นจุดขายของท้องถิน่ เดือน 7. การทำงานเป็นทีมการเสียสละและอุทิศตน 6. มีหน่วยงานราชการในพื้นที่ได้แก่โรงเรียน เพอื่ องคก์ รของพนักงานเจา้ หน้าที่ยังอยู่ในระดับ ประถม2 แห่ง, โรงเรียนมัธยมขยายโอกาส1แห่ง ต่ำ , โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ1แห่ง, องค์การ 8. การแอบแฝงผลประโยชน์จากองค์กรของผู้มี บริหารส่วนตำบล 1 แห่ง, ศูนย์ถ่ายทอด สว่ น เทคโนโลยีเกษตรตำบล1แห่ง, ป้อมยามตำรวจ เก่ยี วขอ้ ง ชุมชน1แห่ง, ศูนย์วิจัยประมงน้ำจืดปทุมธานี 1 9. ขาดย่านธุรกิจการค้าผู้ประกอบการโรงงาน แหง่ ใหบ้ ริการประชาชนในพ้นื ท่ี อุตสาหกรรมหรือแหล่งกระตุ้นเศรษฐกิจอย่าง 7. มีพื้นที่สาธารณะประโยชน์มากสามารถ อื่นในพนื้ ที่ พฒั นาเป็นศนู ยร์ าชการและอนื่ ๆ ได้ 10. การประสานความร่วมมือของส่วนราชการ ภาคเอกชนประชาชนยังอยใู่ นระดบั ปานกลางยัง ไม่มีการประสานความร่วมมือกันอย่างเต็มท่ี ในทางปฏิบตั ิ 11. การปลุกจิตสำนกึ ในการหวงแหนและรักษา วัฒนธรรมประเพณียังมีน้อยทำให้ปัญหาสังคม กล่มุ วยั ร่นุ โรคติดต่อและบรโิ ภคนยิ มติดตามมา 12. ขาดการวางแผนสนับสนุนโครงการท้ัง ปัจจุบันและอนาคตอย่างต่อเนื่องจึงเกิดปัญหา ความไม่มั่นใจในรายได้และผลที่ได้รับจาก โครงการเกิดการไม่รวมกลุ่มและหันไปทำอย่าง อ่ืนทำให้โครงการล้มไมม่ ีประสทิ ธภิ าพ 13. การบริหารทรัพยากรการบริหารได้แก่คน , เงิน , วัสดุ , วิธีการยังไม่ครอบคลุม มี ประสทิ ธภิ าพเพยี งพอ
17 โอกาส (Opportunity) อปุ สรรค (Threat) 1. พัฒนาเป็นแหล่งทดลองขยายพันธุ์ข้าวพืช 1. การพัฒนาต้องใช้งบประมาณมากขาด พันธุ์ทางการเกษตรพนั ธุ์สัตว์ งบประมาณสนับสนุนอย่างเพยี งพอ 2. พัฒนาและเผยแพร่เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิง 2. ในปัจจุบันความไม่แน่นอนของสภาพดินฟ้า นิเวศเชงิ เกษตรเชงิ อนุรักษไ์ ดใ้ นอนาคต อากาศทำให้ประกรในพ้ืนที่มีการอพยพแรงงาน 3. พัฒนาการบริหารการจัดการใช้น้ำเพ่ือ 3. การเสียสละและความร่วมมือในการพัฒนา การเกษตรได้อยา่ งเพยี งพอและทัว่ ถงึ ท้องถิน่ ของประชาชน 4.พัฒนางานฝีมือแรงงานค่าจ้างแรงงานให้เกิด 4. การยึดติดประโยชน์แอบแฝงของผู้มีส่วนได้ การจา้ งงานและมีรายได้เพม่ิ ขึน้ เ สี ย ไ ม ่ ค ำ น ึ ง ถ ึ ง ป ร ะ โ ย ช น ์ ส า ธ า ร ณ ะ แ ล ะ 5.พัฒนาเส้นทางการคมนาคมการขนส่งให้ ประชาชนเปน็ หลัก สะดวกมเี สน้ ทางเขา้ -ออกไดห้ ลายทาง 5. ขาดการวางแผนและบริหารงบประมาณที่ 6.สนับสนุนและเผยแพร่วัฒนธรรมประเพณีให้ เหมาะสมอยา่ งลงตวั ร้จู ักแพรห่ ลายมากยงิ่ ขน้ึ 6.ก า ร ม ี ร า ย ไ ด ้ ไ ม ่ ส ม ่ ำ เ ส ม อ แ ล ะ ข า ด ร า ย ไ ด้ 7.พัฒนาให้มีโรงพยาบาลศูนย์ราชการและเป็น หมุนเวียนของประชาชนทำให้ขาดการมีส่วน ชุมชนเมืองทสี่ วยงามเพียบพร้อมได้ในอนาคต รว่ มในการพฒั นาในด้านต่าง 8. ชุมชนยังไม่หนาแน่นสามารถวางผังเมืองรวม 7.การพัฒนาทรัพยากรการบริหารต้องใช้เวลา ระบบสาธารณูปโภคสาธารณูปการให้เพียงพอ และทำความเขา้ ใจเปน็ อย่างมาก และเหมาะสม 8. ข้อกฎหมายระเบียบคำส่งั ต่าง ๆ 9.พัฒนาให้มีโรงงานอุตสาหกรรมการจ้างงาน การลงทนุ หรือธุรกิจอนื่ ๆ เกิดขนึ้ ในพน้ื ท่ี 10.พัฒนาทรัพยากรการบริหารให้มีศักยภาพ เพยี งพอในการบรหิ าร การประเมินสถานการณส์ ภาพแวดลอ้ มภายนอกท่เี กยี่ วข้อง องค์การบริหารส่วนตำบลศาลาครุได้ดำเนินการจัดทำเวทีประชาคม โดยกำหนดดำเนินการ ตามโครงการประชุมประชาคมองค์การบริหารส่วนตำบลศาลาครุ เมื่อวันที่ 13 ตุลาคม 2559 เวลา 08.00น. ณ ศาลาการเปรียญวัดปทมุ นายก ตำบลศาลาครุ อำเภอหนองเสือ จังหวดั ปทมุ ธานี และได้มี การร่วมทำกิจกรรมกลุ่ม/อภิปราย/ระดมความคิด/วิเคราะห์ปัญหาความต้องการของประชาชน 10 กลุ่ม 10 หมู่บ้านและสรปุ ผลการระดมความคิด/วเิ คราะห์ข้อมูลเพื่อการจัดทำแผนพฒั นาขององค์การ บรหิ ารสว่ นตำบลศาลาครุโดยสรปุ และแบง่ ออกเปน็ ด้านต่าง ๆ ไดด้ งั นี้
18 1) ด้านพฒั นาระบบการบริหารจัดการและประสิทธิภาพการให้บรกิ ารประชาชน -ให้มีการประสานงานระหว่างองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ และองคก์ ารบรหิ ารส่วนจงั หวดั -ให้มีเครื่องมือเครื่องใช้ เครื่องจักรกล ให้เพียงพอกับความต้องการ เพื่อแก้ไขปัญหาความ เดอื ดร้อนของประชาชนไดท้ นเวลา 2) ด้านพฒั นาระบบโครงสรา้ งพื้นฐานและสร้างสมดุลยภาพสิง่ แวดลอ้ ม -ให้มีการปรับปรุงบำรุงรักษา ก่อสร้างทางคมนาคม เพื่อใช้สัญจรไปมา และขนสินค้า การเกษตรสะดวกและใหใ้ ชไ้ ด้ทุกฤดกู าล -ใหม้ ีการขยายเขตไฟฟา้ แสงสวา่ ง ไฟทาง ไฟสาธารณะอย่างทว่ั ถงึ -ให้มีการขยายเขตระบบประปา หรือระบบประปาผิวดินให้ทั่วถึงเพียงพอต่อการบริโภค อุปโภค -ใหม้ กี ารขุดลอกคูคลอง กำจดั ผกั ตบชวา เพอ่ื การระบายน้ำ ป้องกันภัยแล้ง นำ้ ทว่ ม 3) ดา้ นสง่ เสริมการเรยี นรู้พัฒนาคณุ ภาพชีวติ -ให้มีการจดั การศึกษา อุปกรณ์ สื่อการเรียนการสอนในการศกึ ษาใหเ้ พยี งพอ -ใหม้ คี รู สถานที่เรียน อาคารเรยี น ให้อย่างเพยี งพอ -ให้มีการส่งเสริมการออกกำลงั กาย และการปอ้ งกนั โรค -ให้ประชาชนมคี วามปลอดภยั ในชีวิตและทรัพยส์ นิ ลดปัญหาอาชญากรรมยาเสพตดิ -ใหม้ กี ารรณรงค์ อบรมป้องกันมใิ หป้ ระชาชน เดก็ นักเรียน วยั รุ่น ตดิ ยาเสพตดิ -ให้มีการจัดสร้างลานกีฬาหรือสถานที่ออกกำลังกาย เพื่อประชาชนใช้ออกกำลังกายเพื่อ ป้องกนั การมว่ั สมุ ปัญหายาเสพติด -ให้มกี ารสรา้ งงานสร้างอาชพี แกป่ ระชาชน แก้ปัญหาความยากจน -ให้มกี ารสง่ เสริมและพัฒนาเทคโนโลยีท่ีใช้ในการเกษตร -ให้มีการส่งเสริมอาชพี กลุม่ แม่บ้าน เกษตรกร เพื่อพฒั นารายได้ และสร้างชมุ ชนเขม้ แข็ง -ใหม้ ีการสง่ เสริมเศรษฐกิจพอเพยี ง และส่งเสรมิ สนิ ค้า OTOP -ให้มีการส่งเสรมิ การเกษตรปลอดสารพษิ และใช้ป๋ยุ อินทรยี ์แทนปุย๋ เคมี -ใหม้ กี ารทศั นศึกษาดูงานดา้ นการเกษตร ศูนยส์ นิ ค้า OTOP 4) ดา้ นการอนุรกั ษ์ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปัญญาทอ้ งถ่นิ -ใหม้ ีการอนุรกั ษ์ และสง่ เสรมิ ประเพณีทอ้ งถน่ิ -ใหม้ กี ารทำนบุ ำรุงศาสนา
19 ความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดปทุมธานีกับยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์การ บริหารสว่ นตำบลศาลาครุ การจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์การบริหารส่วนตำบลศาลาครุได้คำนึงถึงคว าม สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาในระดับต่างๆ เพื่อให้เกิดการบูรณาการในการประสานแผน ร่วมกันให้มากที่สุดโดยแสดงความเชื่อมโยงรายละเอียดโครงสร้างความเชื่อมโยงแผนยทุ ธศาสตร์การ พฒั นา (แบบ ยท.01)
20 สว่ นท่ี 3 ผลการวิเคราะห์ศกั ยภาพ ปญั หา ความต้องการ และประเด็นการพัฒนาเชิงพ้นื ที่ การวิเคราะห์ชุมชนดำเนินการโดยศึกษาข้อมูลจากเอกสาร ได้แก่ แผนพัฒนายุทธศาสตร์ จังหวัดปทุมธานี แผนพัฒนาอำเภอหนองเสือ แผนพัฒนาท้องถิ่นองค์การบริหารส่วนตำบลหนองเสอื และการศึกษาเชิงคุณภาพ โดยเลือกใช้วิธีวิทยาแบบมีส่วนร่วม วิเคราะห์ศักยภาพ ปัญหา ความ ต้องการ และประเด็นการพัฒนาเชิงพื้นที่ชุมชนในระดับตำบล จากกลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลักเป็น 2 กลุ่ม ตามกรอบระยะเวลาในการดำเนินโครงการ ได้แก่ ระยะที่ 1 การประชุมผู้นำชุมชน ในตำบลหนอง เสือ ประกอบด้วย นายกและเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องในองค์การบริหารส่วนตำบลหนองเสือ เจ้าหน้าที่ พัฒนาชุมชน ตัวแทนเกษตรอำเภอ กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน จำนวน 30 คน ระยะที่ 2 การลงพื้นที่สำรวจ ชุมชนในหมู่ 1-10 ในตำบลหนองเสือ ประกอบด้วย ผู้นำชุมชนและประชาชนในแต่ละหมู่บ้าน จำนวน 60 คน จากนั้นนำข้อมลู ท่ไี ด้มาวเิ คราะห์ แบง่ เปน็ ด้านดงั น้ี 3.1 ผลการวเิ คราะหศ์ กั ยภาพในการพัฒนาตำบลศาลาครุ อำเภอหนองเสือ จังหวดั ปทมุ ธานี 1. ด้านทรัพยากรมนุษยม์ ี เชน่ หมทู่ ี่ 2 ป้าสรุ ิยะ รงุ่ แสง เปน็ ชาวบา้ นทีส่ นใจเพาะเล้ียงกบ ศึกษาวิธเี พาะเลีย้ งกบ จนประสบ ผลสำเรจ็ และทำใหบ้ ้านของป้าสุรยิ ะกลายเปน็ แหล่งการเรียนรู้ดา้ นการเพาะเลยี้ งกบ
21 หมทู่ ่ี 3 1) กลุ่มชาวบ้านมีความชำนาญทางด้านการนวดแผนไทยที่รับนวดเป็นทั้งอาชีพหลัก และ อาชีพเสริม สามารถนำไปสู่การพฒั นาเป็นศูนย์การเรยี นรู้เรื่อง การนวดแผนไทย และศนู ย์บริการการ นวดแผนไทย 2) กลุ่มชาวบา้ นมคี วามชำนาญทางด้านการเพาะเหด็ นางฟ้าภฎู าน และมกี ารแปรรูปเป็นเห็ด ทอด น้ำพริกเห็ด นำไปสู่การพัฒนาการทำเป็นผลิตภัณฑ์ชมุ ชน หมู่ที่ 5 1) ประธานกลุ่มสตรีประจำตำบล (คุณละเอียด ยามเย็น) ที่มีบทบาทสำคัญในการรวมกลุ่ม ชาวบา้ น สามารถเปน็ ผู้กระต้นุ ประสานงาน และกำกับตดิ ตามกิจกรรมที่เกิดขนึ้ ในระดบั ตำบล
22 2) สมาชิกในชุมชนมีทักษะในการประดิษฐ์ดอกไม้จันทน์ที่มีรูปแบบเป็นเอกลักษณ์ แตกต่าง จากท่อี ่ืนสามารถนำไปประยกุ ต์ในการทำดอกไมป้ ระดิษฐไ์ ด้ 2. ด้านภาคีเครอื ขา่ ยในพนื้ ทมี่ ีส่วนราชการและเครือขา่ ยจากภายนอกชมุ ชน ทสี่ ามารถนำไปสู่การ พฒั นาดา้ นการสง่ เสริม และตอ่ ยอดภมู ปิ ัญญาท้องถ่ิน หมทู่ ่ี 3 มีภาคีเครือขา่ ยในการส่งเสริมอาชพี ให้กบั คนในชมุ ชน สำนกั งานพฒั นาชมุ ชน สนับสนุนดา้ นการผลติ เหด็ นางฟา้ ภฎู าน 3. ทนุ ทางสงั คมและทนุ ทางวัฒนธรรมมี เชน่ หมู่ท่ี 2 มีวัดปทมุ นายก เป็นแหล่งศนู ย์รวมจิตใจ และรวมชาวบ้านในการทำกจิ กรรม 4. ทุนทางเศรษฐกิจและการค้าขายมีแหล่งท่องเที่ยวที่สามารถนำไปสู่พัฒนาด้านการค้าขายและ ด้านการท่องเท่ียว หมู่ 3 มเี ครือ่ งอัดก้อนเห็ดและตู้อบก้อนเห็ด สามารถตอ่ ยอดในการผลติ ก้อนเห็ดเพื่อจำหน่ายให้กับ ผู้ท่ีสนใจ
23 หมู่ 5 มีจกั รเย็บผ้าจำนวน 10 หลัง สามารถนำไปใช้ในการสรา้ งผลติ ภณั ฑช์ ุมชนทต่ี ้องใช้จกั รเย็บผ้า เชน่ ตดั เยบ็ เส้อื ผ้า กระเป๋า พรมเช็ดเทา้ และอนื่ ๆ หมู่ 6 แหล่งท่องเที่ยวไทยนานาฟิชชิ่งแอนฟาร์ม สามารถรองรับผลิตภัณฑ์ชุมชนเพื่อไปจำหน่าย และส่งเสริมอาชีพให้กับคนในชุมชน เช่น พนักงานในร้านกาแฟ พนักงานขายอุปกรณ์ตกปลา พนักงานตอ้ นรับ 5. ทุนทางทรัพยากรธรรมชาติมี เชน่ ไมม่ ี 6. ด้านจัดการสิ่งแวดล้อมมีการให้ความรูแ้ ละระบบที่มีประสิทธิภาพ ที่สามารถนำไปสู่การพัฒนา ดา้ นสง่ิ แวดลอ้ ม ไมม่ ี
24 7. ด้านองค์ความรู้ มีภูมิปัญญาท้องถิ่น ที่สามารถนำไปสู่การพฒั นาและด้านเผยแพร่และอนุรักษ์ ภมู ิปัญญาทอ้ งถิ่น หมู่ที่ 2 เทคนคิ การเพาะเล้ียงกบ สามารถพฒั นาเปน็ แหล่งเรียนรทู้ ่ีสามารถให้บคุ คลภายนอก นกั เรียน นกั ศึกษาเข้ามาศกึ ษาดงู านได้ หมู่ที่ 3 1) ศาสตร์การนวดแผนไทย สามารถนำไปสู่การพฒั นาเป็นศนู ย์การเรยี นรูเ้ ร่ือง การนวดแผน ไทย และศูนย์บรกิ ารการนวดแผนไทย 2) วธิ ีการเพาะเหด็ นางฟา้ ภฎู าน นำไปสู่การศนู ย์การเรียนรู้การเพาะเห็ด หมทู่ ี่ 5 การประดิษฐ์ดอกไมจ้ ันทน์ สามารถพัฒนาเปน็ ศนู ยฝ์ กึ อาชพี สำหรับบคุ คลภายนอก นักเรียน นักศกึ ษาเข้ามาฝึกปฏิบตั ิได้ 8. ด้านวัตถุดิบ มีวัตถุดิบด้านการเกษตร และด้านปศุสัตว์ ที่สามารถนำไปสู่การพัฒนาด้านการ แปรรูปอาหาร และการสง่ ออกสินคา้ ชมุ ชน หมู่ที่ 3 พชื ผักสวนครวั สามารถนำไปแปรรปู เปน็ เครอ่ื งปรงุ อาหาร เชน่ พริกแกง พรกิ เผา 9. ด้านผลิตภัณฑ์ชุมชน ที่สามารถนำไปสู่การพัฒนาด้านการยกระดับ การแปรรูป และต่อยอด ผลติ ภัณฑ์ หมู่ 3
25 เห็ดทอด น้ำพริกแกง น้ำพริกเผา สามารถพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ โดยการทำบรรจุภัณฑ์และ ตราสินค้า รวมถึงสง่ เสรมิ การตลาด หม5ู่ ดอกไม้จันทน์ พรมเช็ดเท้า สามารถพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ โดยการทำบรรจุภัณฑ์และตรา สนิ คา้ รวมถึงส่งเสริมการตลาด
26 3.2 แผนที่แสดงศักยภาพด้านต่าง ๆ ของแต่ละหมู่บ้านในตำบลศาลาครุ อำเภอ หนองเสอื จังหวัดปทุมธานี จากการวิเคราะห์ศักยภาพด้านต่าง ๆ ของแต่ละหมู่บ้านใน ต.ศาลาครุ อ.หนองเสือ จ.ปทุมธานี สามารถสรปุ ศกั ยภาพชุมชนดังภาพ 3.3 ปัญหาและความต้องการในพื้นที่ ตำบลคลองห้า อำเภอคลองหลวง จังหวัด ปทุมธานี แผนท่ีแสดงศกั ยภาพดา้ นตา่ ง ๆ ของแต่ละหมู่บ้านใน ต.ศาลาครุ อ.หนองเสอื จ.ปทุมธานี 3.4 ประเด็นการพฒั นาเชิงพ้ืนที่ตำบลศาลาครุ อำเภอหนองเสอื จงั หวดั ปทมุ ธานี
27 3.3 ปญั หาและความต้องการในพ้นื ที่ตำบลศาลาครุ อำเภอหนองเสอื จังหวดั ปทมุ ธานี 1. ปญั หาด้านทรพั ยากรมนุษย์ ไมม่ ี 2. ปัญหาด้านภาคีเครือข่ายในพื้นที่มีส่วนราชการและเครือข่ายจากภายนอกชุมชน ที่สามารถ นำไปส่พู ัฒนาด้านการส่งเสริม และต่อยอดภมู ปิ ญั ญาท้องถน่ิ ไม่มี 3. ปญั หาทนุ ทางสังคมและทนุ ทางวัฒนธรรมมี เชน่ ไมม่ ี 4. ปัญหาทุนทางเศรษฐกิจและการค้าขายมีแหล่งท่องเที่ยวที่สามารถนำไปสู่พัฒนาด้านการค้า ขายและด้านการทอ่ งเทยี่ ว ไมม่ ี 5. ปัญหาทุนทางทรัพยากรธรรมชาติมี เชน่ ทกุ พน้ื ทีใ่ นตำบลศาลาครุประสบภัยแล้ง ขาดแคลนน้ำในการทำการเกษตร 6. ปัญหาด้านจัดการสิ่งแวดล้อมมีการให้ความรู้และระบบที่มีประสิทธิภาพ ที่สามารถนำไปสู่การ พฒั นาด้านสิ่งแวดลอ้ ม ไมม่ ี 7. ปัญหาด้านองค์ความรู้ มีภูมิปัญญาท้องถิ่น ที่สามารถนำไปสู่การพัฒนาด้านการเผยแพร่และ อนรุ กั ษภ์ มู ปิ ัญญาท้องถิน่ ไม่มี 8. ปญั หาดา้ นวัตถุดิบ มีวตั ถดุ บิ ดา้ นการเกษตร และดา้ นปศสุ ัตว์ ท่สี ามารถนำไปสู่พัฒนาด้านการ แปรรปู อาหาร และการส่งออกสนิ ค้าชุมชน หมู่ 1 กล้วยหอม เป็นผลผลิตที่มรี าคาขึน้ อยู่กับพ่อค้าคนกลาง สามารถแก้ไขปัญหาได้โดยการแปร รูปผลิตภัณฑจ์ ากส่วนต่าง ๆ ของกล้วย เช่น เสื้อจากใยกลว้ ย กล้วยหอมตาก เค้กกล้วยหอม และอื่น ๆ 9. ปญั หาด้านผลติ ภณั ฑ์ชุมชน ท่ีสามารถนำไปสพู่ ัฒนาด้านการยกระดบั การแปรรปู และต่อยอด ผลิตภณั ฑ์ หมู่ 5 พรมเช็ดเท้า เป็นผลิตภัณฑ์ที่มีราคาขึ้นอยู่กับพ่อค้าคนกลาง ส่งผลต่อผลกำไรที่ใกล้เคียงกับ ต้นทุนในการผลิต อีกทั้งยังขาดการประชาสัมพันธ์ในการจำหน่ายสินค้า สามารถส่งเสริมโดยการ จำหน่ายทไ่ี ม่ผา่ นพ่อคา้ คนกลาง และสนบั สนุนช่องทางการตลาด เชน่ การขายออนไลน์ ฯลฯ
28 3.4 ประเด็นการพฒั นาเชิงพืน้ ทต่ี ำบลศาลาครุ อำเภอหนองเสอื จงั หวัดปทมุ ธานี 1. การจัดการน้ำ ทุกพื้นที่ในตำบลศาลาครุ เนื่องจากประสบภัยแล้ง ขาดแคลนน้ำในการทำการเกษตร โดยทางองค์การบริหารส่วนตำบลมีการประชุมและสรุปความต้องการเกี่ยวกับการกักเก็บน้ำในคลอง ต่าง ๆในชว่ งฤดฝู นไว้ และควรสรา้ งประตรู ะบายน้ำในจดุ ท่ียังไมม่ ี 2. การส่งเสรมิ เกษตรอินทรยี ์ พื้นที่ส่วนใหญ่ของตำบลศาลาครุทำเกษตรพืชสวน ทั้งกล้วยหอม แตงล้าน มะระ ซึ่งพบมาก ในหมู่ 1 ซึง่ ยงั มีการใช้สารเคมีกำจัดศตั รูพชื อยู่ ตอ้ งการให้สง่ เสรมิ การทำเกษตรอินทรีย์เพ่ือลดต้นทุน การผลิต และส่งเสริมการนำผลผลิตที่ได้ไปแปรรูปเพื่อเพิ่มรายได้เพื่อลดปัญหาราคาจากพ่อค้าคน กลาง 3. การพัฒนาสินค้าชมุ ชน หมู่ 5 มีผลิตภัณฑ์ชุมชน คือดอกไม้จันทน์ และพรมเช็ดเท้า ขาดช่องทางการจัดจำหน่าย และรปู แบบบรรจุภณั ฑย์ ังไม่นา่ สนใจ จึงอยากใหฝ้ กึ อบรมด้านอาชพี ใหแ้ ก่คนในชมุ ชน หมู่ 3 ทำพริกแกง พริกเผา เห็ดทอด เพาะเห็ด แต่ขาดช่องทางการจดั จำหน่าย และรูปแบบ บรรจุภัณฑ์ยังไม่น่าสนใจ จึงอยากให้ฝึกอบรมด้านอาชีพให้แก่คนในชุมชน อีกทั้งส่งเสริมการพัฒนา รปู แบบการประชาสัมพันธส์ นิ ค้าในรูปแบบต่าง ๆ เช่น Facebook การสรา้ งเว็บไซต์ การขายสินค้า ออนไลน์ ฯลฯ 4. การสร้างกลุ่มอาชพี หมู่ 5 และหมู่ 3 จัดตั้งกลุ่มอาชีพ เนื่องจากขาดตลาดรองรับสินค้นที่ชัดเจน จึงส่งเสริมการ จดั หาช่องทางการตลาดดว้ ยการสง่ เสริมพฒั นารูปแบบการประชาสมั พันธ์สนิ ค้าในรูปแบบต่าง ๆ เช่น Facebook การสร้างเว็บไซต์ การขายสินค้าออนไลน์เพื่อให้เป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางในทุก กลุม่ เปา้ หมาย ฯ
29 สว่ นท่ี 4 รูปแบบการพัฒนาชมุ ชนนวัตกรรม จากข้อมูลสรุปประเด็นการพัฒนาทั้ง 4 ประเด็น ทางคณะผู้ดำเนินโครงการได้จัดทำใน รปู แบบการพัฒนาชุมชนนวัตกรรมทมี่ ีทัง้ หมด 8 ประเดน็ ดงั น้ี 1.สร้างผ้นู ำการเปล่ยี นแปลง 2.พฒั นาจิตอาสา เพิ่มการมสี ว่ นร่วมพฒั นา 3.ครวั เรอื นพอเพยี ง 4.สืบสานวัฒนธรรมชุมชน 5.สขุ ภาพดี สวัสดกิ ารทวั่ ถงึ 6.เกษตรปลอดภัย 7.วิสาหกจิ ชุมชนเข้มแข็ง 8.ส่งิ แวดล้อมดี ชุมชนสวยงาม การพัฒนาชุมชนตำบลศาลาครุ สามารถดำเนินการตามรูปแบบการพัฒนาชุมชนนวัตกรรม โดยมุ่งเน้นการใช้วิสาหกิจชุมชนเข้มแข็งนำการพัฒนาและขยายผลพัฒนาต่อในประเด็นอื่น ๆ ดงั รูปแบบกระบวนการพฒั นาชมุ ชนนวตั กรรม ตอ่ ไปนี้ รูปแบบกระบวนการพฒั นาชุมชนนวัตกรรม
30 รปู แบบกระบวนการพฒั นาชุมชนนวตั กรรม ประกอบด้วย 8 ประเดน็ โดยมีรายละเอยี ด ดังนี้ 1. สรา้ งผูน้ ำการเปลี่ยนแปลง ประกอบดว้ ย 1.1 การสรา้ งแรงบันดาลใจ 1.2 มีทักษะในการกระตุ้นเพื่อให้เกิดสิ่งใหม่และสร้างสรรค์ เกิดการตระหนักรู้ในเรื่องปัญหา และ แกไ้ ขปญั หาอย่างเป็นระบบ 1.3 มีเทคนิคในการติดต่อส่ือสาร มีปฏสิ มั พันธท์ ่ีดี และเข้าใจผูอ้ ืน่ 2. ครัวเรอื นพอเพียง ประกอบด้วย 2.1 บัญชีครัวเรือน 2.2 ส่งเสริมประชาชนใหม้ ีการดำเนนิ ชวี ิตตามหลักเศรษฐกจิ พอเพยี ง 3. เกษตรปลอดภยั ประกอบด้วย 3.1 อบรมเกษตรอนิ ทรีย์ 3.2 นวัตกรรมเกษตรปลอดภัย 3.3 ศูนยเ์ รียนรู้เกษตรปลอดภัย 4. วสิ าหกจิ ชุมชนเขม้ แข็ง 4.1 ยกระดบั ขดี ความสามารถกลมุ่ อาชีพ 4.2 พัฒนาผลติ ภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ และตราสินค้า 4.3 การสง่ เสรมิ การตลาดออนไลน์ 5. พฒั นาจติ อาสาเพิ่มการมีส่วนร่วมพฒั นา 5.1 กจิ กรรมสร้างบรรยากาศกระตุน้ การเรยี นรู้จติ อาสา 5.2 กจิ กรรมเชงิ การมีส่วนร่วมพัฒนา 6. สบื สานวฒั นธรรมชุมชน 6.1 ศนู ย์การเรียนรภู้ ูมิปญั ญา 6.2 รณรงค์ การอนรุ ักษ์ประเพณพี ื้นบา้ น 7. สุขภาพดี สวสั ดิการทวั่ ถงึ 7.1 โรงเรียนผู้สูงอายุ 7.2 ส่งเสริมสุขภาวะชุมชน 8. สิง่ แวดลอ้ มดี ชุมชนสวยงาม 8.1 การจดั การขยะเหลือศูนย์ (Zero waste) 8.2 การสง่ เสริมการใช้บรรจุภัณฑ์ทเ่ี ปน็ มิตรต่อสิ่งแวดล้อม
31 รูปแบบกิจกรรมการพัฒนาชมุ ชนนวตั กรรมวสิ าหกจิ ชมุ ชนเข้มแข็งตำบลศาลาครุ จากรูปแบบกิจกรรมการพัฒนาชุมชนนวัตกรรมตำบลศาลาครุ สามารถสรุปได้ว่าการ ดำเนินงานโครงการยกระดับคุณภาพชีวิตชุมชนและท้องถิ่น สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม ทางคณะ ดำเนินงานของมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ และผู้นำชุมชน ประชนใน ตำบลศาลาครุ อำเภอหนองเสอื จงั หวดั ปทมุ ธานี ได้ร่วมกันวเิ คราะหโ์ ดยเน้นถงึ ถึงศกั ยภาพของชุมชน และพันธกิจของมหาวิทยาลัยในการพัฒนาท้องถิ่น จึงได้แนวทางในการดำเนินโครงการในประเด็น ของวสิ าหกจิ ชมุ ชนเขม้ แขง็ ซง่ึ ประกอบด้วยการพัฒนาใน 3 มติ ิ ดังนี้ 1. มิติการพัฒนาเศรษฐกิจ ได้แก่ การพัฒนาวัตถุดิบที่ใช้ผลิตดอกไม้จันทน์ไปสู่ดอกไม้ ประดิษฐ์ การพัฒนาบรรจุภัณฑ์เห็ดทอด และพริกแกง ตลอดจนส่งเสริมการตลาดออนไลน์ เพื่อให้ เกิดขีดความสามารถในการขยายชอ่ งทางการตลาดของประชาชนทร่ี ่วมโครงการ 2. มิติการพฒั นาสงั คม ได้แก่ กจิ กรรมส่งเสรมิ สงั คมพอเพียงอยา่ งมสี ่วนร่วมโดยการทำบัญชี ครัวเรือน และการเดินทางสายกลาง คือ พอประมาณ มีเหตุผล และมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี ตามหลัก ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง 3. มิติการพัฒนาสิ่งแวดล้อม ได้แก่ ส่งเสริมให้กลุ่มอาชีพผลิตสินค้าโดยยึดหลักขยะเหลือ ศูนย์ (Zero waste) และส่งเสรมิ ให้กลุ่มอาชพี ใหม้ ีการพฒั นาบรรจภุ ัณฑท์ ่ีเปน็ มติ รต่อสิง่ แวดล้อม
32 กิจกรรมการพัฒนาดังกล่าว จะมีการรวมผู้ที่สนใจในการเข้าร่วมกิจกรรม ผ่านทางผู้นำ ชุมชน เช่น องคก์ ารบริหารส่วนตำบลหนองเสอื ประธานสตรปี ระจำตำบล ท้ังนเ้ี พื่อใหค้ นในชุมชนเกิด ความรว่ มมืออันดตี อ่ กันและเกดิ ความยง่ั ยนื ในชมุ ชน
Search
Read the Text Version
- 1 - 36
Pages: