รายงานโครงการยกระดบั คณุ ภาพชีวติ ชมุ ชนและท้องถนิ่ (โครงการระยะที่ 1) ตำบลระแหง อำเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทมุ ธานี อาจารยอ์ งอาจ ทับบุรี และคณะ คณะเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ ประจำปีงบประมาณ 2563
รายงานโครงการยกระดับคณุ ภาพชวี ติ ชมุ ชนและทอ้ งถิ่น (โครงการระยะท่ี 1) ตำบลระแหง อำเภอลาดหลุมแกว้ จงั หวดั ปทมุ ธานี อาจารยอ์ งอาจ ทบั บรุ ี ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์อำพล เทศดี อาจารย์ ดร. จิตตภู พลู วัน อาจารย์กนั ยารัตน์ เอกเอ่ียม อาจารย์ภัทรเวช ธาราเวชรกั ษ์ คณะเทคโนโลยอี ุตสาหกรรม มหาวทิ ยาลัยราชภฏั วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถมั ภ์ ประจำปงี บประมาณ 2563
ก กิตติกรรมประกาศ รายงานโครงการยกระดับคุณภาพชีวิตชุมชนและท้องถ่ิน สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม ในกิจกรรม สร้างความร่วมมือกับหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง ศึกษาชุมชนและจัดทำฐานข้อมูล ตำบล และจัดทำแผนปฏิบัติการเพิ่มรายได้ยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน ตำบลระแหง อำเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี (โครงการระยะท่ี 1) คณะผู้ดำเนินโครงการขอกราบ ขอบพระคุณผู้ว่าราชการจังหวัด พัฒนาชุมชนจังหวัด และหน่วยงานราชการระดับจังหวัดปทุมธานี นายอำเภอลาดหลมุ แก้ว สำนักงานพฒั นาชมุ ชน สำนักงานเกษตรอำเภอ และหน่วยงานราชการระดับ อำเภอลาดหลุมแก้ว คณะผู้บริหารมหาวิทยาลัย ผ้บู รหิ าร คณาจารย์ และเจ้าหนา้ ทส่ี ำนักส่งเสริมการ เรียนรู้และบริการวิชาการ องค์การบรหิ ารสว่ นตำบลระแหง เทศบาลตำบลระแหง กำนันตำบลระแหง ผนู้ ำชมุ ชนท่ีให้คำแนะนำ และสนับสนุนการดำเนินโครงการ และขอขอบคุณประชาชนตำบลระแหงที่ ให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม ทำให้โครงการสามารถจัดทำแผนปฏิบัติการเพิ่มรายได้ยกระดับ คณุ ภาพชีวิตของคนในชุมชนตำบลระแหง อำเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี (โครงการระยะที่ 1) ได้สำเร็จลุล่วงไปด้วยดี อาจารย์องอาจ ทับบรุ ี และคณะ คณะเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม ปพี ทุ ธศักราช 2563
ข สารบัญ หน้า กิตติกรรมประกาศ ก สารบัญ ข สารบญั ตาราง ค สารบญั ภาพ ง สว่ นที่ 1 บทนำ 1 สว่ นที่ 2 ผลการศึกษาชุมชนเบอ้ื งตน้ ในระดับตำบล 4 สว่ นที่ 3 ผลการวเิ คราะหศ์ ักยภาพ ปัญหา ความตอ้ งการ และประเด็นการพฒั นาเชิงพน้ื ท่ี 9 3.1 ผลการวเิ คราะหศ์ กั ยภาพในการพฒั นาตำบลระแหง อำเภอลาดหลุมแกว้ จังหวดั ปทมุ ธานี 9 3.2 แผนท่ีแสดงศกั ยภาพดา้ นตา่ ง ๆ ของแต่ละหมู่บา้ นในตำบลระแหง อำเภอลาดหลุมแก้ว จงั หวดั ปทมุ ธานี 16 3.3 ปัญหาและความต้องการในพืน้ ที่ตำบลระแหง อำเภอลาดหลมุ แกว้ จังหวัดปทมุ ธานี 18 3.4 ประเดน็ การพัฒนาเชิงพ้ืนที่ตำบลระแหง อำเภอลาดหลุมแกว้ จังหวดั ปทุมธานี 19 ส่วนท่ี 4 รูปแบบชมุ ชนนวัตกรรมในการพฒั นา 23
สารบัญตาราง ค ตารางท่ี หน้า 1 รายละเอียดหมบู่ า้ นในตำบลระแหง 6 2 รายละเอียดครวั เรือน และประชากรของตำบลระแหง 6
ง สารบัญภาพ หน้า 4 ภาพท่ี 5 1 อาณาเขตติดต่อของตำบลระแหง 17 2 การแบง่ เขตการปกครองของตำบลระแหง 23 3 ศักยภาพชมุ ชนตำบลระแหง หมู่ที่ 1-12 24 4 รปู แบบการพฒั นาชุมชนนวัตกรรมตำบลระแหง 5 รปู แบบกจิ กรรมการพฒั นาชุมชนนวัตกรรมวสิ าหกจิ ชุมชนเข้มแข็งตำบลระแหง
1 ส่วนท่ี 1 บทนำ 1.1 หลกั การและเหตผุ ล ตามท่ีภาครัฐได้เช่ือมโยงเป้าหมายการพัฒนาที่ย่ังยืนของสหประชาชาติเข้ากับแผนยุทธศาสตร์ ชาติ 20 ปี ของประเทศไทย และยุทธศาสตร์เกษตรและสหกรณ์ 20 ปี ระหว่างปี 2560 ถึง ปี 2579 โดยน้อมนำเอาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่เน้นการพัฒนาแบบย่ังยืนโดยคำนึงถึงสิ่งแวดล้อม ที่อยู่ และใช้หลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดชบรมนาถบพิตร มาเป็นแนวทางในการดำเนินนโยบาย เพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิต และยกระดับรายได้ของประชาชน แก้ไขปัญหาเชิงโครงสรา้ งการผลิตภาคเกษตรเสรมิ สร้างความมนั่ คงทางอาหาร พัฒนาโภชนาการและ ความปลอดภัยด้านอาหาร เพ่ือนำไปสู่ความม่ันคง มั่งคั่ง และย่ังยืน ของประชาชนและประเทศชาติ ซ่ึงสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร รัชกาลท่ี 10 ทรงมีพระปณิธานแน่ว แน่ทจ่ี ะสานตอ่ โครงการในพระราชดำริของพระราชบิดา เพื่อช่วยเหลือประชาชนให้มีคุณภาพชีวิตท่ีดี ขน้ึ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นมหาวิทยาลัยท่ีพระราชาประสงค์ ให้เป็นมหาวิทยาลัยเพ่ือการพัฒนาท้องถ่ิน ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฎ พ.ศ. 2547 มาตรา 7ที่ระบุให้มหาวิทยาลัยเป็นสถาบันอุดมศึกษา เพ่ือการพัฒนาท้องถิ่นเสริมพลังปัญญาของ แผ่นดิน ซ่ึงสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์เพื่อยกคุณภาพมาตรฐานมหาวิทยาลัยราชภัฎสู่คุณภาพเป็น เลิศ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพบัณฑิตสู่นักปฏิบัติอย่างมืออาชีพ การยกคุณภาพมาตรฐานชีวิต ของชุมชน ท้องถ่ิน และพื้นท่ีให้มีความเข้มแข็งและย่ังยืน พร้อมท้ังสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ในประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนางาน พันธกิจสัมพันธ์ และถ่ายทอด เผยแพร่โครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดำริ โดยมีกลยุทธ์ในการ สร้างเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติจากภายในและภายนอก เพ่ือร่วมกันศึกษาแก้ไขปัญหาของชุมชน ท้องถิ่นและเสริมพลังให้ชุมชนท้องถิ่นสามารถดำรงอยู่ได้อย่างย่ังยืน ให้ความสำคัญในการพัฒนา ชุมชน และท้องถิ่น ดงั น้ันคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลยั ราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมถ์ จึง ได้จัดทำโครงการยกระดับคุณภาพชีวิตชุมชนและท้องถิ่น ส่ิงแวดล้อมและวัฒนธรรม ในพื้นที่ตำบล ระแหง อำเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี โดยมีเป้าหมายเพ่ือให้คนในชุมชนสามารถบริหาร จัดการชีวิตตนเองได้อย่างสมดุลและมีความเหมาะสม สามารถดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพยี ง ร่วมกบั การส่งเสริมภูมปิ ัญญาท้องถิ่น เพิ่มคุณค่าและมลู ค่า เสริมเศรษฐกิจฐานราก ในชุมชนให้มีความเข้มแข็ง ม่ันคง นำไปสู่การพึ่งพาตนเองและช่วยเหลือเกื้อกูลกันในชุมชนได้อย่าง ยั่งยืน สง่ ผลใหช้ มุ ชนหมู่บ้านมคี ณุ ภาพชวี ติ และรายไดท้ ่ีเพิ่มข้ึน
2 1.2 วตั ถุประสงค์ของการสำรวจลงพืน้ ท่ีชุมชนในระดบั ตำบล และกล่มุ เปา้ หมาย 1) เพือ่ สรา้ งความรว่ มมอื กับพน้ื ท่ีตำบลระแหง อำเภอลาดหลมุ แกว้ จงั หวัดปทมุ ธานี 2) เพื่อสำรวจบรบิ ทชมุ ชน ครวั เรือนเปา้ หมาย และจดั ทำฐานขอ้ มลู ตำบล 3) เพ่อื จัดทำแผนปฏิบตั ิการลดรายจ่าย/เพ่มิ รายได้ ยกระดบั คณุ ภาพชวี ิตของคนในชุมชน 1.3 ขอบเขตการสำรวจลงพน้ื ทีช่ ุมชนในระดับตำบล และกลมุ่ เปา้ หมาย กลุ่มเป้าหมาย ประชาชนในหมู่ที่ 1 – 12 ตำบลระแหง อำเภอลาดหลุมแก้ว จงั หวัดปทุมธานี ผ้เู ข้าร่วมโครงการ ประชาชนตำบลระแหง จำนวนไม่นอ้ ยกว่า 400 ครัวเรือน ระยะเวลาดำเนินโครงการ เดือนพฤศจิกายน 2562 ถงึ เดือนมกราคม 2563 1.4 วธิ ีการดำเนินการสำรวจความตอ้ งการของชุมชนในระดบั ตำบล และกลุ่มเปา้ หมาย การดำเนินโครงการคณะผู้ดำเนินการมุ่งเน้นการสร้างกรอบปัญหาและความต้องการของชุมชน ระดับตำบล เพื่อกำหนดแผนปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมของชุมชนในการวางแนวทางลดปัญหาความ ยากจนของประชาชนและยกระดับขีดความสามารถของเศรษฐกิจรากฐาน การจัดการสิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม ตำบลระแหง อำเภอลาดหลมุ แก้ว จังหวัดปทุมธานี วิธีการการดำเนินแผนงานเน้นไป ทก่ี ารวิจยั เชิงปฏบิ ัตกิ ารแบบมีส่วนรว่ ม (Participatory Action Research) ซงึ่ เปน็ การบูรณาการการ วจิ ัยแบบมีส่วนร่วม (Participatory Research) และการวิจัยเชิงคุณภาพ (Quantitative Research) เพื่อให้ได้มาซึ่งแผนพัฒนาชุมชนท่ีจะสามารถลดความเหล่ือมล้ำในการยกระดับรายได้ของประชาชน นวัตกรรมและกระบวนการทางความคดิ สรา้ งสรรคท์ ่ีจะเพ่ิมมูลคา่ ทรัพยากรท่ไี ม่กอ่ ประโยชน์ในชุมชน ใหเ้ กิดประโยชน์อันส่งผลใหป้ ระชาชนมีรายไดท้ ี่เพิ่มสูงข้นึ กระบวนการลดปัญหาความยากจนท่ีเหมาะ กับการเข้าถึงของประชาชนทุกวัยได้อย่างท่ัวถึงและยั่งยืนและเผยแพร่องค์ความรู้สู่ประชาชนกลุ่ม อนื่ ๆ ได้โดยมีขน้ั ตอนดงั ต่อไปนี้ 1. สร้างความร่วมมือกับหน่วยงานราชการท่ีเกี่ยวข้อง ดำเนินการจัดทำปฏิทินการลงพื้นท่ี ศึกษาข้อมูลและยกระดับพัฒนาคุณภาพชีวิตชุมชนและท้องถ่ินเข้าพบและแสวงหาความร่วมมือจาก หน่วยงานภาครัฐและข้อปรึกษาหารือทิศทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนตำบล ระแหง ได้แก่ นายอำเภอ ส่วนงานปกครองอำเภอ พัฒนาการอำเภอ เกษตรอำเภอ ณ ที่ว่าการอำเภอลาด หลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี กำนันตำบลระแหง องค์การบริหารส่วนตำบลระแหง และเทศบาลตำบล ระแหง เพ่ือขอปรึกษาหารือ เก่ยี วกบั ทศิ ทางการดำเนินโครงการ และขอฐานข้อมูลตำบลเบอื้ งต้น 2. ศึกษาชุมชนและจัดทำฐานข้อมูลตำบล ดำเนินการประมวลผลรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร ฐานข้อมูลท่ีเกี่ยวข้องของตำบลระแหง โดยใช้ข้อมูลจากบัตรสวัสดิการแห่งรัฐและเกณฑ์ความจำเป็น ข้ันพ้ืนฐาน (จปฐ.) ที่ตกเกณฑ์ของพัฒนาการจังหวัดจัดประชุมผู้นำชุมชนทั้งตำบลระแหง ได้แก่ ผใู้ หญ่บ้าน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน และผู้นำชุมชนรวมหมู่บ้านละ 3 คน เพ่ือวางกรอบในการพัฒนาร่วมกัน รวมท้ังคัดเลือกเป้าหมายในการพัฒนาศึกษาพ้ืนท่ี เย่ียมชมรวบรวมข้อมูลภาคสนามจากพ้ืนท่ีของ ตำบลร่วมกับเครือข่ายประชารัฐ 3 คร้ัง ในการเก็บข้อมูล OP3 รวมท้ังศึกษาบริบทชุมชนในภาพรวม
3 ศึกษา ประเมินศักยภาพ ปัญหา ทุนของชุมชนจัดเวทีประชุมเสวนาคืนข้อมูลให้กับชุมชนจัดทำ รายงานผลการศึกษาชุมชน และครัวเรือนเป้าหมาย จัดทำฐานข้อมูลตำบล (OP2 และ OP3) และ ประชุมเชิงปฏิบตั กิ ารแบบมีสว่ นร่วมเพ่ือ (PAR) กำหนดแผนการพัฒนาชุมชนร่วมกับคนในชุมชน และ ครวั เรอื นเปา้ หมายในตำบลระแหง 1.5 เครือ่ งมอื ทีใ่ ชก้ ารสำรวจความตอ้ งการของชุมชนในระดบั ตำบล และกลุ่มเปา้ หมาย การดำเนินโครงการ เก็บข้อมูลพื้นฐานชุมชนจากหน่วยงานราชการระดับจังหวัด อำเภอ และ ตำบล ซ่งึ เป็นข้อมลู ทุติยภมู ิ นำข้อมลู ทไี่ ด้วางแผนลงพน้ื ทเ่ี พ่ือเก็บขอ้ มูลปฐมภูมิ โดยใชแ้ บบสัมภาษณ์ เจาะลกึ แบบมีโครงสรา้ ง (OP3-2) แบบสอบถาม (OP3-1)
4 ส่วนท่ี 2 ผลการศึกษาชุมชนเบ้ืองตน้ ในระดบั ตำบล ตำบลระแหง เป็นส่วนหนึ่งของอำเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี สำเหตุที่เรียกชื่อตำบล น้ีว่าระแหง เริ่มต้นจากสมัยก่อนในฤดูน้ำหลากลงมาพ้ืนที่ตำบลน้ีจะท่วมทุกพ้ืนที่ ขณะที่ฤดูแล้งน้ำ ตามธรรมชาติจะแห้งเป็นเวลาหลายเดือน ดังนั้นกว่าจะถึงฤดูฝนจึงทำให้พ้ืนดินแตกเป็นร่องๆ ซึ่ง เรียกว่า ระแหง ด้วยเหตุดังกล่าวประชาชนท่ีอาศัยอยู่บริเวณนี้จึงเรียกชื่อคลองที่เป็นแหล่งน้ำเลี้ยง ของหมบู่ ้านว่า “คลองระแหง” จนมีการนำช่ือคลองดงั กลา่ วมาต้งั เปน็ ชอ่ื “ตำบลระแหง” ในปจั จบุ ัน 2.1 ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศ พ้นื ทส่ี ว่ นใหญเ่ ป็นท่รี าบลุ่มลาดเอยี งเล็กนอ้ ย ตงั้ อยทู่ างทศิ ตะวนั ตกของแม่นำ้ เจา้ พระยา ลักษณะดินส่วนใหญ่เปน็ ดินเหนยี ว มีลำคลองตัดผ่านพ้ืนท่ีหลายสาย ได้แก่ คลองระแหง คลองมหาโยธา คลองพระอุดม คลองลาดหลุมแก้ว คลองลาดหลุมเชย่ี ว คลองลดั ตามุ้ย และคลองลดั ตาเขียน 2.2 อาณาเขตตดิ ต่อ ตำบลบ่อเงิน ตำบลหนา้ ไม้ ตำบลคูขวาง ตำบลลาดหลุมแกว้ ตำบลคบู างหลวง ตำบลคลองพระอุดม ภาพท่ี 1 อาณาเขตติดต่อของตำบลระแหง
5 จากภาพท่ี 1 สามารถบอกเขตตดิ ตอ่ ของตำบลระแหง ออกเป็นทิศหลกั 4 ทิศ ได้ดงั นี้ ทศิ เหนือ ตดิ ต่อกบั ตำบลบอ่ เงิน และตำบลหน้าไม้ ทิศใต้ ติดตอ่ กับ ตำบลคลองพระอุดม และตำบลลาดหลมุ แกว้ ทศิ ตะวนั ออก ติดตอ่ กบั ตำบลคูขวาง และตำบลคูบางหลวง ทศิ ตะวนั ตก ติดต่อกับ ตำบลหน้าไม้ และตำบลลาดหลมุ แกว้ 2.3 พนื้ ทีข่ องตำบล ตำบลระแหงมีพื้นท่ีรวมทั้งหมด 35,871 ไร่ 3 งาน ทั้งนี้เน่ืองจากตำบลระแหงแบ่งเขตการ ปกครองออกเป็น 2 ส่วน คือ เทศบาลตำบลระแหง และองค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.ระแหง) จึง สามารถจำแนกพื้นท่ีออกเป็น 2 สว่ น ได้ดังนี้ เทศบาลตำบลระแหง มีเน้อื ที่ 11,387 ไร่ 2 งาน องค์การบรหิ ารสว่ นตำบล มีเนอื้ ที่ 24,493 ไร่ 1 งาน 2.4 สภาพภมู อิ ากาศ สภาพภูมิอากาศของตำบลระแหง แบง่ ออกเป็น 3 ฤดู ไดแ้ ก่ ฤดูรอ้ น เริม่ ต้ังแต่เดอื น กมุ ภาพนั ธ์ - เมษายน ฤดูฝน เริ่มต้งั แต่เดอื น พฤษภาคม - กันยายน ฤดูหนาว เรม่ิ ต้งั แตเ่ ดือน ตลุ าคม – มกราคม 2.5 เขตการปกครอง ภาพที่ 2 การแบ่งเขตการปกครองของตำบลระแหง
6 ตำบลระแหงแบ่งพ้ืนที่การปกครองออกเป็น 12 หมู่บ้าน ตามภาพท่ี 2 ภายใต้การปกครอง ของกำนันพนม อินทร์ประสิทธ์ิ และยังแบ่งพื้นท่ีรับผิดชอบจาก 2 หน่วยงาน ได้แก่ องค์การบริหาร ส่วนตำบลระแหง (อบต. ระแหง) รับผิดชอบดูแลพ้ืนท่ีโดยนายกมาโนชย์ อินทร์ประสิทธิ์ และ เทศบาลตำบลระแหง รับผิดชอบดูแลพื้นท่ีโดยนายกวันเพ็ญ เจริญนนทสิทธิ์ สำหรับรายละเอียด หมบู่ ้านเบอ้ื งตน้ มดี ังนี้ ตารางที่ 1 รายละเอียดหมูบ่ ้านในตำบลระแหง หมู่ท่ี ชอ่ื หมบู่ ้าน ชอ่ื ผ้ใู หญ่บ้าน พื้นทีร่ บั ผิดชอบโดย อบต. เทศบาล 1 บา้ นบอ่ น้ำเช่ียว นางวทิ นา สดุ รัก 2 บ้านประกายแกว้ พฒั นา นายมนัส มที อง 3 บ้านคลองระแหงพฒั นา นายบรรเจดิ ใจมั่น 4 บา้ นระแหง นายวิชยั อนิ ทร์ประสิทธิ์ 5 บ้านคลองโยธา นายชศู กั ดิ์ สวนทับทิม 6 บา้ นคลองระแหง นายดานยั ชมแค 7 บา้ นปลายคลองระแหง นางสาววาริน โพธไิ์ ทร 8 บ้านคลองถ้ำตะบัน นายสมปอง ทองอรา่ ม 9 บ้านคลองวัดบวั สวุ รรณ นายพนม อนิ ทร์ประสิทธิ์ 10 บ้านคลองถำ้ ตะบัน นายสมพงษ์ เจริญสุข 11 บ้านปลายคลองระแหง นายทองเจยี ม ขำคม 12 บา้ นคลองตบั ผักชี นายสชุ นิ สาตรา 2.6) ประชากร ตำบลระแหงมีจำนวนประชากรท้ังส้นิ 17,874 คน แบ่งเปน็ เพศชาย จำนวน 8,632 คน และ เพศหญิง จำนวน 9,242 คน จำนวนครัวเรือน รวมท้งั ส้ิน 6,572 ครวั เรอื น ซ่ึงสามารถจำแนกเปน็ ราย หม่บู ้านได้ดังน้ี ตารางท่ี 2 รายละเอียดครวั เรอื น และประชากรของตำบลระแหง หมู่ที่ จำนวนครัวเรอื น จำนวนประชากร (ครัวเรือน) ชาย (คน) หญงิ (คน) รวม (คน) 4,607 1 2,500 2,230 2,377 593 2,310 2 180 278 315 3 537 1,148 1,162
7 ตารางท่ี 2 รายละเอยี ดครวั เรือน และประชากรของตำบลระแหง (ตอ่ ) หมทู่ ่ี จำนวนครวั เรือน จำนวนประชากร (ครัวเรอื น) ชาย (คน) หญงิ (คน) รวม (คน) 4,364 4 1,681 2,029 2,335 753 1,065 5 206 369 384 638 427 6 358 523 542 1,374 593 7 207 318 320 500 650 8 110 208 219 17,874 9 411 700 674 10 143 309 284 11 121 220 280 12 118 300 350 รวม 6,572 8,632 9,242 2.7 สถานทส่ี ำคัญดา้ นการศึกษา โรงเรียนบัวแก้วเกษร เปิดสอนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จนถึงมัธยมศึกษาตอนปลาย สงั กัดสำนักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษามธั ยมศกึ ษาปทุมธานี เขต 4 (กระทรวงศกึ ษาธิการ) โรงเรียนชุมชนวดั บัวแกว้ เกษร (วรพงศอ์ นุกูล) เปิดสอนระดับอนุบาล จนถึงประถมศึกษา ปที ่ี 6 สงั กัดสำนกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาปทมุ ธานี เขต 1 (กระทรวงศกึ ษาธกิ าร) โรงเรียนวัดบัวสุวรรณประดิษฐ์ เปิดสอนระดับอนุบาล จนถึงมัธยมศึกษาตอนต้น สังกัด สำนักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาปทุมธานี เขต 1 (กระทรวงศกึ ษาธกิ าร) โรงเรียนวัดลาดหลุมแก้ว เปิดสอนระดับอนุบาล จนถึงประถมศึกษาปีที่ 6 สังกัด สำนกั งานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 (กระทรวงศกึ ษาธกิ าร) โรงเรียนประชุมวิทยา เปิดสอนระดับอนุบาล จนถึงประถมศึกษาปีท่ี 6 ดำเนินการโดย เอกชน สังกดั สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาเอกชน (กระทรวงศกึ ษาธิการ) ระบบการศึกษานอกโรงเรียน ตง้ั อยใู่ นบริเวณท่ีวา่ การอำเภอลาดหลุมแก้ว ศนู ยพ์ ัฒนาเด็กเลก็ อบต.ระแหง ศนู ยพ์ ฒั นาเด็กเล็กเทศบาลตำบลระแหง ห้องสมดุ ชมุ ชนตำบลระแหง
8 2.8 สถานที่ประกอบพิธที างศาสนา วดั บวั แก้วเกษร วดั สหธรรมทรรศน์ วดั บัวสวุ รรณประดิษฐ์ ครสิ ตจักรลาดหลมุ แก้ว 2.9 สถานทส่ี ำคัญด้านสาธารณสุข โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชมุ ชนตำบลระแหง โรงพยาบาลลาดหลมุ แกว้ 2.10 การค้าขาย การค้าขายและการบริการรา้ นค้าส่วนใหญ่จะเป็นรา้ นค้าปลีกและบริการตั้งหนาแน่นบริเวณ สองข้างทางของถนนหมายเลข 346 ในเขตพื้นท่ีหมู่ 1 หมู่ 3 และหมู่ 4 สำหรับสินค้าส่วนใหญ่เป็น เคร่ืองอุปโภคบริโภค นอกจากนี้ยังมีตลาดซ่ึงเป็นที่จับจ่ายใช้สอยของคนในตำบล รวมถึงเป็นแหล่ง ท่องเทย่ี ว ดังน้ี ตลาดระแหง 100 ปี เป็นตลาดเก่าย้อนยุคของตำบลระแหง ซึ่งตั้งอยู่ริมคลองระแหง สินค้าส่วนใหญ่เป็นเคร่ืองอุปโภคบริโภค และเครื่อมือเครื่องใช้ต่างๆ ปัจจุบันได้มีการพัฒนาให้เป็น แหลง่ ทอ่ งเทยี่ วสำคญั ของอำเภอลาดหลุมแก้ว ตลาดนัดเช้าวัดบัวแก้วเกษร เป็นตลาดนัดท่ีมีทุกเช้า และจะมีร้านค้าเยอะมากเป็นพิเศษ ในเช้าวันอาทิตย์จัดขึ้นบริเวณลานคอนกรีตของวัดบัวแก้วเกษร (วัดระแหง) มีผู้คนจากหลายหมู่บ้าน รวมถงึ ตำบลขา้ งเคียงมาจับจ่ายใชส้ อยสนิ คา้ อุปโภค บรโิ ภคเปน็ จำนวนมาก ตลาดนัดคลองถม เปน็ ตลาดนัดเย็นบริเวณตรงข้ามปากทางเข้าโรงพยาบาลลาดหลุมแก้ว สินค้าส่วนใหญ่เป็นสินค้าอุปโภค บริโภคเป็นจำนวนมาก อาทิเช่น อาหาร ผัก ผลไม้ เครื่องปรุงรส และอปุ กรณ-์ เครอื่ งใชใ้ นครวั เรอื น ตลาดนัดข้างบริษัท ซีพี แรม จำกัด เป็นตลาดนัดเช้าจนถึงเย็นอยู่บริเวณข้างทางเข้า บริษัท ซีพี แรม จำกัด ผู้ที่มาจับจ่ายส่วนใหญ่เป็นพนักงานของบริษัทในบริเวณน้ันมาซื้ออาหาร และ ผลไม้ไปรบั ประทาน
9 ส่วนท่ี 3 ผลการวิเคราะห์ศกั ยภาพ ปัญหา ความต้องการ และประเด็นการพัฒนาเชิงพ้ืนท่ี การวิเคราะห์ชุมชนดำเนินการโดยอาศัยข้อมูลทุติยภูมิที่รวบรวมจากฐานข้อมูลแผนพัฒนา ยุทธศาสตร์จังหวัดปทุมธานี แผนพัฒนาอำเภอลาดหลุมแก้ว แผนพัฒนาท้องถ่ินองค์การบริหารส่วน ตำบลระแหง แผนพัฒนาท้องถ่ินเทศบาลตำบลระแหง ฐานข้อมูลกรมพัฒนาท่ีดิน สำนักงานพัฒนา ชุมชนอำเภอลาดหลุมแก้ว สำนักงานเกษตรอำเภอลาดหลุมแก้ว ประมงและปศุสัตว์อำเภอลาดหลุม แก้ว และการสืบค้นจากส่ือออนไลน์ต่างๆ และดำเนินการเก็บข้อมูลปฐมภูมิจากการจัดเวทีประชุม ผู้นำชุมชน การสัมภาษณ์รายคนและกลุ่มในพื้นท่ีตำบลระแหง และผู้มีส่วนได้เสีย นำข้อมูลที่ได้ ประมวลผล สังเคราะห์ผล แบง่ เป็นดา้ นดงั นี้ 3.1 ผลการวเิ คราะห์ศกั ยภาพในการพฒั นาตำบลระแหง อำเภอลาดหลมุ แก้ว จังหวดั ปทุมธานี 1. ดา้ นทรพั ยากรมนุษย์ หมู่ที่ 2 มีคุณศรีนวล งามสะอาด เป็นปราชญ์ชาวบ้านด้านขนมหวาน (ขนมไทย) ท่ี สามารถนำไปส่พู ฒั นาด้านการรวบรวมความรดู้ า้ นขนมหวาน (ขนมไทย) หมู่ท่ี 3 มีคุณลำพึง ศิริเลิศ เป็นปราชญ์ชาวบ้านด้านการทำปลาเค็มไร้ก้าง ท่ีสามารถ นำไปสพู่ ัฒนาดา้ นการรวบรวมความรดู้ ้านการทำปลาเคม็ ไร้กา้ ง หมู่ที่ 4 มีคุณน้ำผ้ึง สุขาจารย์ เป็นปราชญ์ชาวบ้านด้านอาหารหวานคาว และการทำหม่ี กรอบทรงเครอื่ ง ท่ีสามารถนำไปสูพ่ ัฒนาด้านการรวบรวมความรู้ด้านอาหารหวานคาว และการทำหมี่ กรอบทรงเคร่ือง หมู่ท่ี 7 มีคุณจำรัส เสียงดัง เป็นปราชญ์ชาวบ้านด้านขนมหวาน ท่ีสามารถนำไปสู่พัฒนา ดา้ น การรวบรวมความรดู้ า้ นขนมหวาน หมู่ท่ี 8 มคี ุณกา้ น ล้อสมัย เป็นปราชญ์ชาวบ้านด้านอุปกรณด์ กั /จับปลา ที่สามารถนำไปสู่ พัฒนาดา้ น การรวบรวมความร้ดู า้ นอุปกรณด์ กั /จบั ปลา หมู่ท่ี 9 มีคุณช้อย การเกด เป็นปราชญ์ชาวบ้านด้านพันธ์ข้าวปลูก ท่ีสามารถนำไปสู่ พัฒนาด้าน การรวบรวมความรู้ด้านพันธข์ า้ วปลกู หมู่ที่ 11 มีคณุ บุญเลิศ แอบบุญ เปน็ ปราชญ์ชาวบา้ นเรือ่ งดิน ที่สามารถนำไปสพู่ ฒั นาด้าน การรวบรวมความรู้เรื่องดิน ตลอดจนกระบวนการแก้ไขปัญหาดินเส่ือมสภาพ และปราชญ์ชาวบ้าน เร่ืองการผลิต/ประกอบรถเกี่ยวข้าว ที่สามารถนำไปสู่พัฒนาด้าน การรวบรวมความรู้ด้านการการ ผลติ /ประกอบรถเกีย่ วขา้ ว
10 2. ดา้ นภาคีเครอื ข่ายในพนื้ ที่ หมู่ท่ี 1 ไดร้ บั ความร่วมมือจากโรงพยาบาลลาดหลุมแก้ว มาดูแล และตรวจติดตามสุขภาพ ของผูส้ ูงอายุในหมบู่ ้านเฟื่องฟ้านคร 5 ซง่ึ สามารถนำไปพัฒนา ดา้ นการส่งเสริมสุขภาพคนในชมุ ชน หมู่ท่ี 3 ได้รับความร่วมมือจากกรมพลังงานทดแทน กระทรวงพลังงาน ติดตั้งระบบผลิต พลังงานไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ ไว้ให้ชุมชนได้ศึกษาและใช้งาน ซ่ึงสามารถนำไปพัฒนา ด้าน การเรียนรพู้ ลังงานทดแทน ตลอดจนเพิ่มศักยภาพดา้ นพลังงานทดแทนของชมุ ชน 3. ทุนทางสังคม และทุนทางวัฒนธรรม หมู่ที่ 1 - กลุ่มออมวันละ 1 บาท และกองทุนออมแห่งชาติ สามารถนำไปสู่พัฒนาด้าน แหลง่ ทนุ ในชมุ ชน การบริหารจดั การทุนในชุมชน - กลุ่มอาชีพทำมุ้งครอบเด็ก สามารถนำไปสู่พัฒนาด้าน การยกระดับมาตรฐาน/ คณุ ภาพการผลิต ตลอดจนการจัดจำหน่ายผ่านชอ่ งทางออนไลน์ - กลุ่มอาชีพทำยาหม่องน้ำ สามารถนำไปสู่พัฒนาด้านการยกระดับมาตรฐาน/ คุณภาพการผลติ ตลอดจนการจัดจำหน่ายผา่ นช่องทางออนไลน์ - โรงเรียนวัดลาดหลุมแก้ว สามารถนำไปสู่พัฒนาด้านการพัฒนามาตรฐาน การศกึ ษาในระดับข้นั พน้ื ฐาน รวมถงึ พฒั นาเปน็ แหลง่ เรยี นรดู้ า้ นตา่ งๆ สำหรับประชาชนในพืน้ ท่ี - สถานีตำรวจภูธรลาดหลุมแก้ว สามารถนำไปสู่การพัฒนาด้านการพัฒนามาตร ความปลอดภยั ของประชาชน การแกไ้ ขปญั หาการจราจร และอาชญากรรม - ท่ีว่าการอำเภอลาดหลุมแก้ว สามารถนำไปสู่พัฒนาด้านการติดต่อข้อมูลต่าง ๆ และการบรกิ ารของอำเภอลาดหลุมแก้ว - สหกรณ์ทางการเกษตรอำเภอลาดหลุมแก้ว สามารถนำไปสู่พัฒนาด้านการจัดการ ความรเู้ รอื่ งการเกษตรกรรมทเ่ี หมาะสมกับพื้นที่ตำบลระแหง หมู่ที่ 2 - กลุ่มออมละวันละ 1 บาท และกองทุนฌาปนกิจหมู่บ้าน สามารถนำไปสู่พัฒนา ดา้ นแหล่งทุนในชุมชน การบรหิ ารจัดการทนุ ในชมุ ชน หมู่ที่ 3 - มีกลุ่มออมละวันละ 1 บาท กองทุนฌาปนกิจหมู่บ้าน กองทุน อสม. และ กองทุน หมู่บ้าน สามารถนำไปสู่พัฒนาดา้ นแหลง่ ทนุ ในชุมชน การบริหารจัดการทนุ ในชุมชน - กลุ่มอาชีพเผาถ่าน สามารถนำไปสพู่ ัฒนาดา้ นการการยกระดบั มาตรฐาน/คุณภาพ การผลติ ตลอดจนการลดมลภาวะจากกระบวนการผลติ โดยใชเ้ ทคโนโลยีพลงั งานทดแทนเขา้ มาชว่ ย
11 - กลุ่มอาชีพทำปลาเค็ม สามารถนำไปสู่พัฒนาด้านการยกระดับมาตรฐาน/คุณภาพ การผลติ ตลอดจนการจัดจำหน่ายผา่ นชอ่ งทางออนไลน์ - โรงเรียนบวั แกว้ เกษร สามารถนำไปสู่พัฒนาด้านการพัฒนามาตรฐานการศึกษาใน ระดับในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย รวมถึงพัฒนาเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านต่างๆ สำหรับ ประชาชนในพนื้ ท่ี - วัดบัวแก้วเกษร สามารถนำไปสู่พัฒนาด้านการส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมของชุมชน และการพฒั นาเปน็ แหท่องเทยี่ วชมุ ชน - สำนักงานเทศบาลตำบลระแหง สามารถนำไปสู่พัฒนาด้านการจัดการระบบ สาธารณปู โภคพื้นฐานของชุมชน - ศูนย์การเรียนรู้พลังงานทดแทนตามแนวพระราชดำริ สามารถนำไปสู่พัฒนา ความรูด้ ้านการเพ่ิมศัยภาพการผลิตพลงั งานไฟฟ้าเพื่อนำมาใช้ในกระบวนผลติ ของกลุ่มอาชีพเผาถ่าน และพฒั นาเปน็ ศูนยก์ ารเรียนรู้ดา้ นพลังงานทดแทนของอำเภอ - มีวัฒนธรรมการทำบุญกลางบ้าน จัดขึ้นทุกวันท่ี 15 เมษายนของทุกปี สามารถ นำไปสู่พัฒนาดา้ นการเผยแผ่วฒั นธรรมและส่งเสรมิ ให้เกิดการท่องเท่ียว หมู่ท่ี 4 - มีกลุ่มออมละวันละ 1 บาท และกองทุนฌาปนกิจหมู่บ้าน สามารถนำไปสู่พัฒนา ด้านแหล่งทนุ ในชุมชน การบรหิ ารจดั การทุนในชุมชน - ชมรมเต้นบาสโลบ และชมรมกีฬาเปตอง สามารถนำไปสู่พัฒนาด้านการจัด กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพสำหรับประชาชนในพื้นท่ี และจัดทำแหลง่ เรียนรเู้ ร่ืองกิจกรรมเชงิ ป้องกนั ด้าน สขุ ภาพในชุมชน - ชมรมมอบธรรม มอบทาน และชมรมธรรมะสู่บ้าน ชุมชน สามารถนำไปสู่พัฒนา ด้านด้านการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมให้คนในชุมชน และจัดทำแหล่งเรียนรู้ด้าน คณุ ธรรม จริยธรรมสำหรบั วิถีชีวติ ชุมชนเมือง - ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลระแหง สามารถนำไปสู่พัฒนาด้านส่งเสริมพัฒนาการ เรยี นรู้ใหเ้ ด็กเล็กไดร้ บั การพฒั นา ทั้งดา้ นร่างกาย อารมณ์-จติ ใจ สงั คม และสติปัญญาที่เหมาะสมตาม วยั ตามศกั ยภาพของเด็ก - ห้องสมุดประชาชนเฉลิมราชกุมารี สามารถนำไปสู่พัฒนาด้านการจัดกิจกรรม อบรมให้ความร้ตู า่ ง ๆ ใหแ้ กค่ นในชมุ ชน - โรงเรียนชุมชนวัดบัวแก้วเกษร(วรพงศ์อนุกูล) สามารถนำไปสู่พัฒนาด้านการ พัฒนามาตรฐานการศึกษาในระดับข้ันพื้นฐาน รวมถึงพัฒนาเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านต่างๆ สำหรับ ประชาชนในพน้ื ท่ี
12 - วัดสหธรรมทรรศน์ สามารถนำไปสู่พัฒนาด้านการส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมของ ชมุ ชน และการพฒั นาเป็นแหทอ่ งเทย่ี วชมุ ชน - โรงพยาบาลลาดหลุมแกว้ สามารถนำไปสพู่ ฒั นาด้านการสร้างระบบบริหารจัดการ บริการประชาชนใหม้ คี วามรวดเรว็ และทนั สมยั - ประเพณีตักบาตรพระร้อย สามารถนำไปสู่พัฒนาด้านการเผยแผ่วัฒนธรรมและ สง่ เสรมิ ใหเ้ กิดการท่องเท่ยี ว - งานปิดทองหลวงพ่อดำ และงานประจำปีวัดบัวแก้วเกษร สามารถนำไปสู่พัฒนา ดา้ นการเผยแผว่ ัฒนธรรมและส่งเสรมิ ให้เกิดการทอ่ งเทีย่ ว หมู่ท่ี 5 - มีกลุ่มออมวันละ 1 บาท กองทุนหมู่บ้าน สามารถนำไปสู่พัฒนาด้านแหล่งทุนใน ชมุ ชน การบรหิ ารจัดการทุนในชมุ ชน หมู่ที่ 6 - มีกลุ่มกองทุนหมู่บ้าน สามารถนำไปสู่พัฒนาด้านแหล่งทุนในชุมชน การบริหาร จดั การทนุ ในชุมชน - กลุ่มรบั จา้ งฉีดยาข้าว สามารถนำไปสู่พัฒนาด้านการให้ความรู้เร่อื งความปลอดภัย ในประกอบอาชีพ และความรเู้ ร่อื งการปอ้ งกันอันตรายจากสารเคมี - วัฒนธรรมทำบุญกลางแจ้งหมู่บ้าน จัดข้ึนทุกวันท่ี 1 มกราคมของทุกปี สามารถ นำไปส่พู ฒั นาดา้ นการเผยแผว่ ัฒนธรรมและส่งเสรมิ ใหเ้ กดิ การทอ่ งเที่ยว หมู่ท่ี 7 - กองทุนเงินล้าน กองทุนเงินออมทรัพย์ และกองทุนญาปนากิจศพ สามารถนำไปสู่ พฒั นาด้านแหลง่ ทนุ ในชมุ ชน การบรหิ ารจดั การทุนในชมุ ชน - กลุ่มอาชีพทำขนมหวาน สามารถนำไปสู่พัฒนาด้านการยกระดับมาตรฐาน/ คุณภาพการผลติ ตลอดจนการจัดจำหนา่ ยผา่ นช่องทางออนไลน์ - กลุ่มรับจา้ งฉีดยาข้าว สามารถนำไปสู่พัฒนาดา้ นการให้ความรู้เรอื่ งความปลอดภัย ในประกอบอาชพี และความรู้เร่อื งการปอ้ งกนั อนั ตรายจากสารเคมี - โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลระแหง สามารถนำไปสู่พัฒนาด้านการสร้าง ระบบบรหิ ารจัดการบรกิ ารประชาชนใหม้ ีความรวดเรว็ และทนั สมยั หมู่ที่ 8 - กลุ่มออมละวันละ 1 บาท กองทุนหมู่บ้าน สามารถนำไปสู่พัฒนาด้านแหล่งทุนใน ชุมชน การบรหิ ารจดั การทุนในชมุ ชน - กลุ่มอาชพี ทำยาหม่อง สามารถนำไปสู่พัฒนาด้านการยกระดับมาตรฐาน/คุณภาพ การผลติ ตลอดจนการจัดจำหนา่ ยผ่านชอ่ งทางออนไลน์ - องค์การบริหารส่วนตำบลระแหง สามารถนำไปสู่พัฒนาด้านการจัดการระบบ สาธารณูปโภคพ้ืนฐานของชุมชน
13 หมู่ที่ 9 - มีกลมุ่ ออมละวันละ 1 บาท กองทุนหมู่บา้ น สามารถนำไปสู่พฒั นาดา้ นแหล่งทุนใน ชมุ ชน การบรหิ ารจดั การทนุ ในชมุ ชน - มีกลุ่มอาชีพทำขนมหวาน สามารถนำไปสู่พัฒนาด้านการยกระดับมาตรฐาน/ คุณภาพการผลิต ตลอดจนการจดั จำหน่ายผา่ นชอ่ งทางออนไลน์ หมู่ท่ี 10 - มกี ลุ่มออมละวันละ 1 บาท กองทุนหม่บู า้ น สามารถนำไปสู่พัฒนาด้านแหล่งทนุ ใน ชุมชน การบรหิ ารจดั การทุนในชุมชน - กลุ่มเกษตรกรชาวนา สามารถนำไปสู่พัฒนาด้านการอบรมให้ความรู้เก่ียวกับ เกษตรปลอดภัย และการลดทุนการทำนา - กลมุ่ อาชีพเลี้ยงหนนู า สามารถนำไปส่พู ัฒนาด้านการช่องทางการตลาดและการจัด จำหนา่ ย หมู่ที่ 11 - มกี ล่มุ ออมละวันละ 1 บาท กองทุนหมู่บา้ น สามารถนำไปสพู่ ัฒนาดา้ นแหลง่ ทนุ ใน ชุมชน การบริหารจัดการทุนในชมุ ชน - มีกลุ่มอาชีพทำขนมหวาน สามารถนำไปสู่พัฒนาด้านการยกระดับมาตรฐาน/ คุณภาพการผลติ ตลอดจนการจดั จำหน่ายผา่ นช่องทางออนไลน์ - กลมุ่ อาชพี ผลติ รถเก่ียวข้าว “วรพจน์การช่าง” สามารถนำไปสู่พฒั นาด้านศูนย์การ เรียนรกู้ ารผลิตเครอื่ งจักรกลการเกษตร หมู่ที่ 12 - มีกลุ่มออมละวันละ 1 บาท กองทุนหมบู่ า้ น สามารถนำไปสพู่ ัฒนาด้านแหล่งทุนใน ชมุ ชน การบรหิ ารจัดการทุนในชมุ ชน - กลุ่มเกษตรกรชาวนา สามารถนำไปสู่พัฒนาด้านการอบรมให้ความรู้เก่ียวกับ เกษตรปลอดภยั และการลดทนุ การทำนา - กลุ่มอาชีพผลติ น้ำพริก สามารถนำไปสูพ่ ัฒนาด้านการยกระดบั มาตรฐาน/คุณภาพ การผลติ ตลอดจนการจดั จำหน่ายผา่ นช่องทางออนไลน์
14 4. ทนุ ทางเศรษฐกจิ และการค้าขาย หมู่ท่ี 1 มีบริษัท/โรงงานที่ตั้งอยู่ในพ้ืนท่ีจำนวน 7 แห่ง ได้แก่ บริษัท บางแคเหนือค้าไม้ ลาดหลุมแก้ว (โรงไม้), บริษัท สแตนด์ดาร์ด พรีซิช่ัน จำกัด (โรงกลึง), บริษัท ฟูดเบลสซิง (1988) จำกัด, บริษัท 3 เอ็ม ประเทศไทย จำกัด, หจก. ประนอม รีไซเคลิ , บจก. แอล. เอส. เค. เทรดด้ิง (โรง ขวด) และ หจก. อุตสาหกรรมยางลาดหลุมแก้ว (โรงยาง) ซึ่งสามารถนำไปพัฒนาด้านเศรษฐกิจของ ครัวเรือนในชุมชนและใกลเ้ คียง ด้วยการรบั สมัครคนในชมุ ชนเขา้ ไปทำงาน หมู่ท่ี 2 มีบริษัท/โรงงานท่ีตั้งอยู่ในพ้ืนที่จำนวน 1 แห่ง ได้แก่ ศูนย์เครื่องจักรส่วนกลาง บริษัท ยูนิค เอ็นจิเนียร่ิง แอนด์ คอนสตรัคชั่น จำกัด (มหาชน) สามารถนำไปพัฒนาด้านเศรษฐกิจ ของครัวเรอื นในชมุ ชนและใกล้เคียง ดว้ ยการรับสมัครคนในชุมชนเขา้ ไปทำงาน หมู่ที่ 3 ตลาดนัดเช้าวัดบัวแก้วเกษร สามารถนำไปพัฒนาด้านการจัดการจัดการตลาด และการนำสนิ คา้ ชมุ ชนออกจำหน่าย รวมถึงการพฒั นาเปน็ แหลง่ ท่องเท่ียว หมู่ที่ 4 ตลาดระแหง 100 ปี สามารถนำไปพัฒนาด้านการจดั การจดั การตลาด และการนำ สินคา้ ชมุ ชนออกจำหน่าย รวมถึงการพัฒนาเป็นแหลง่ ทอ่ งเที่ยว นอกจากนยี้ ังมีบริษทั /โรงงานทต่ี ้ังอยู่ ในพน้ื ทจี่ ำนวน 10 แห่ง ได้แก่ บริษัท ไทโคพวู า จำกดั , บริษัท คงศกั ดิ์ ควอลิแพค จำกดั , บริษัท วาย. ว.ี พี. เฟอร์ลไิ ลเวอร์ จำกัด, บริษัท นิตยาไทยเคอรี่โปรดกั ส์ จำกัด, บริษัท ซีพีแรม จำกดั , บริษทั นีโอ คอสเมค จำกัด, บริษัท เมคเทส จำกัด, บริษัท ซัสโก้ จำกัด, บริษัท บอสตาร์ตัน จำกัด และบริษัท ปตท. บรหิ ารธรุ กิจ จำกดั สามารถนำไปพัฒนาด้านเศรษฐกิจของครัวเรอื นในชมุ ชนและใกล้เคียง ดว้ ย การรับสมคั รคนในชมุ ชนเขา้ ไปทำงาน หมู่ท่ี 6 โครงการตู้น้ำหยอดเหรียญในหมู่บ้าน และมีโครงการเช่าเครื่องครัว อุปกรณ์จัด งานของคนในหมู่บ้าน สามารถนำไปพัฒนาด้านการหารายได้เข้ากองทุนหมู่บ้าน และการพัฒนาต่อ ยอดกิจการ หมู่ที่ 7 มบี ริษทั /โรงงานท่ีต้ังอยู่ในพนื้ ที่จำนวน 2 แห่ง ได้แก่ บรษิ ัท สองสมาน จำกัด และ โรงงานแปรรูปผกั ตบชวา สามารถนำไปพฒั นาดา้ นเศรษฐกจิ ของครัวเรอื นในชุมชนและใกล้เคียง ดว้ ย การรับสมัครคนในชมุ ชนเข้าไปทำงาน หมู่ท่ี 11 โครงการตนู้ ำ้ ด่มื หยอดเหรียญ และโครงการร้านถา่ ยเอกสารของหมูบ่ า้ น สามารถ นำไปพฒั นาดา้ นการหารายได้เข้ากองทนุ หมู่บ้าน และการพัฒนาต่อยอดกจิ การ นอกจากน้ียังมี บริษัท/โรงงานทต่ี ั้งอยู่ในพนื้ ท่ีจำนวน 1 แหง่ ไดแ้ ก่ บริษัท บลู โซลาร์ ฟารม์ สามารถนำไปพฒั นา ดา้ นเศรษฐกจิ ของครวั เรอื นในชมุ ชนและใกลเ้ คยี ง ด้วยการรบั สมัครคนในชมุ ชนเข้าไปทำงาน
15 5. ทนุ ทางทรัพยากรธรรมชาติ ตำบลระแหงมีน้ำในคลองขุดใหม่ คลองลาดหลุมเชี่ยว และคลองระแหง ซงึ่ เป็นคลองสาขาที่ มีน้ำไหลผ่านหลายหมู่บ้านในตำบลตลอดท้ังปี สามารถนำไปสู่การพัฒนาด้านการเกษตรให้แก่คนใน ชมุ ชน 6. ด้านองคค์ วามรู้ หมู่ท่ี 4 ปราชญ์ชาวบ้านด้านอาหารหวานคาว ท่ีสามารถนำไปสู่พัฒนาด้าน การรวบรวม ความรดู้ ้านอาหารหวานคาว หมู่ที่ 7 ปราชญ์ชาวบ้านด้านขนมหวาน ท่ีสามารถนำไปสู่พัฒนาด้าน การรวบรวมความรู้ ดา้ นขนมหวาน หมู่ที่ 8 ปราชญ์ชาวบ้านด้านอุปกรณ์ดักปลา ท่ีสามารถนำไปสู่พัฒนาด้าน การรวบรวม ความรดู้ ้านอปุ กรณด์ ักปลา หมู่ท่ี 9 ปราชญ์ชาวบา้ นดา้ นพันธข์ า้ วปลกู ทส่ี ามารถนำไปสู่พฒั นาด้าน การรวบรวม ความร้ดู ้านพนั ธ์ข้าวปลกู หมู่ท่ี 11 ปราชญช์ าวบา้ นเรอื่ งดนิ ทสี่ ามารถนำไปสพู่ ฒั นาดา้ น การรวบรวมความรู้ดา้ นดนิ 9. ดา้ นผลติ ภณั ฑช์ มุ ชน หมทู่ ี่ 1 - มุ้งครอบเด็ก สามารถนำไปสู่พัฒนาด้าน การยกระดับมาตรฐาน/คุณภาพการผลิต ตลอดจนการจดั จำหน่ายผา่ นชอ่ งทางออนไลน์ - ยาหม่องน้ำ สามารถนำไปสู่พัฒนาด้านการยกระดับมาตรฐาน/คุณภาพการผลิต ตลอดจนการจัดจำหน่ายผา่ นชอ่ งทางออนไลน์ หมู่ที่ 3 - ถ่าน สามารถนำไปสู่พัฒนาด้านการการยกระดับมาตรฐาน/คุณภาพการผลิต ตลอดจนการลดมลภาวะจากกระบวนการผลิตโดยใช้เทคโนโลยีพลังงานทดแทนเข้ามาชว่ ย - ปลาเค็ม สามารถนำไปสู่พัฒนาด้านการยกระดับมาตรฐาน/คุณภาพการผลิต ตลอดจนการจัดจำหน่ายผ่านช่องทางออนไลน์ หมู่ท่ี 7 - ขนมหวาน สามารถนำไปสู่พัฒนาด้านการยกระดับมาตรฐาน/คุณภาพการผลิต ตลอดจนการจัดจำหนา่ ยผ่านช่องทางออนไลน์ หมู่ที่ 8 - ยาหม่องน้ำ สามารถนำไปสู่พัฒนาด้านการยกระดับมาตรฐาน/คุณภาพการผลิต ตลอดจนการจดั จำหน่ายผา่ นชอ่ งทางออนไลน์ หมู่ท่ี 9 - ขนมหวาน สามารถนำไปสู่พัฒนาด้านการยกระดับมาตรฐาน/คุณภาพการผลิต ตลอดจนการจดั จำหน่ายผา่ นช่องทางออนไลน์
16 หมู่ท่ี 11 - ขนมหวาน สามารถนำไปสู่พัฒนาด้านการยกระดับมาตรฐาน/คุณภาพการผลิต ตลอดจนการจัดจำหนา่ ยผา่ นช่องทางออนไลน์ หมู่ที่ 12 - น้ำพริกแกงเผ็ด ของกลุ่มแม่บ้านเกษรกรตับผักชี สามารถนำไปสู่พัฒนาด้านการ ยกระดับมาตรฐาน/คุณภาพการผลติ ตลอดจนการจดั จำหน่ายผ่านชอ่ งทางออนไลน์ 3.2 แผนที่แสดงศักยภาพด้านต่าง ๆ ของแต่ละหมู่บ้านในตำบลระแหง อำเภอลาดหลุมแก้ว จงั หวัดปทุมธานี จากการวิเคราะห์จากศักยภาพชุมชนตำบลระแหงทั้ง 12 หมู่บ้าน สามารถสรุปศักยภาพ ชมุ ชนดังภาพท่ี 3 ซึ่งอยูใ่ นหน้าถดั ไป
17 ภาพท่ี 3 ศักยภาพชุมชนตำบลระแหง หมทู่ ่ี 1 - 12
18 3.3 ปัญหาและความตอ้ งการในพ้ืนท่ตี ำบลระแหง อำเภอลาดหลมุ แก้ว จงั หวัดปทมุ ธานี 1. ดา้ นทรัพยากรมนุษย์ หมู่ท่ี 1, หมู่ท่ี 3 และ หมู่ท่ี 4 มีประชากรแฝงในชุมชนเป็นจำนวนมาก เนื่องจากมีท้ัง หม่บู า้ น และสถานประกอบการจำนวนมาก สง่ ผลให้ผู้นำชมุ ชนบริหารจดั การดูแลด้านความเป็นอยู่ได้ ยากข้นึ 2. ด้านทุนทางสงั คมและทุนทางวัฒนธรรม หมู่ที่ 2 ต้องการสร้างกลุ่มอาชีพทำขนมหวาน เพ่ือส่งเสริมและสนับสนุนให้คนในชุมชนมี รายไดเ้ พม่ิ ขนึ้ หมู่ท่ี 4 ต้องการสร้างกลุ่มอาชีพทำขนมหวาน เพ่ือส่งเสริมและสนับสนุนให้คนในชุมชนมี รายได้เพ่มิ ขน้ึ 3. ด้านทุนทางทรพั ยากรธรรมชาติ หมทู่ ่ี 1 หมู่ท่ี 2 หมทู่ ี่ 3 และหม่ทู ี่ 4 ประสบปัญหาเรอ่ื งดินเสื่อมสภาพซ่ึงเป็นผลมาจากน้ำ เสยี ท่ีปลอ่ ยจากโรงงานอตุ สาหกรรม และผลจากน้ำทะเลหนนุ สูงในบางฤดกู าล หมู่ท่ี 5 จนถงึ หมู่ที่ 12 ประสบปัญหาเรอ่ื งดินเส่ือมสภาพซงึ่ เปน็ ผลจากน้ำทะเลหนุนสูงใน บางฤดูกาล 4. ดา้ นจัดการสิ่งแวดล้อม ประชาชนในชุมชนตำบลระแหงที่ประกอบอาชีพเกษตรกร (ทำนา) ในทุกๆ หมู่บ้านจะมี การเผาฟางขา้ วในช่วงฤดูเกบ็ เก่ียวผลผลติ ต้องใหค้ วามรู้แกช่ าวบา้ นถึงผลกระทบท่ีเกดิ จากการเผานา ขา้ ว และหาแนวทางการจัดการร่วมกัน หมู่ท่ี 1 มีการปล่อยควันจากโรงงานอตุ สาหกรรมในช่วงกลางคืน สง่ ผลให้เกิดปัญหาหมอก ควันเป็นอยา่ งมาก 5. ดา้ นวัตถุดบิ หมู่ที่ 7 ต้องซ้ือไข่เป็ดมาทำขนมหวานจากภายนอกชุมชน จึงจำเป็นต้องสนับสนุนให้ ชาวบา้ นมีแหล่งวตั ถุดิบภายในชุมชน 6. ด้านองคค์ วามรู้ หมู่ที่ 11 ต้องการพัฒนาองค์ความรู้ทางด้านการเกษตรให้กับเกษตรกร เน่ืองจากคนใน ชุมชนส่วนใหญ่ประกอบอาชพี เกษตรกร (ทำนา) ท่ีสามารถนำไปสู่พัฒนาด้านความรู้ในการปญั หาตา่ ง ๆ เกยี่ วกบั ข้าว ดนิ นำ้ ฯลฯ
19 3.4 ประเดน็ การพัฒนาเชงิ พ้นื ท่ีตำบลระแหง อำเภอลาดหลมุ แกว้ จังหวัดปทมุ ธานี การกำหนดประเด็นการพัฒนา วิเคราะห์จากศักยภาพชุมชน ปัญหาและความต้องการของ ชุมชนตำบลระแหงท้ัง 12 หมู่บ้าน สามารถสรุปศักยภาพชุมชนดังภาพที่ 3 (หน้า 21) สามารถสรุป ประเดน็ การพฒั นา ไดด้ งั น้ี ประเด็นท่ี 1 การส่งเสริมครวั เรอื นพอเพียง การส่งเสริมให้ประชาชนในพ้ืนท่ีหมู่ 1 หมู่ 2 หมู่ 3 หมู่ 4 และหมู่ 5 มีการบริหารรายรับ รายจ่ายให้มีความสมดุลกัน เพื่อลดปัญหาการใช้เงินเกินกำลัง ซ่ึงจะส่งผลให้การกู้ยืมเงินนอกระบบ และการเปน็ หนี้ของคนในชมุ ชนลดลง โดยมีรายละเอียดการดำเนินการ ดงั น้ี พืน้ ฐานศักยภาพเดิมของชมุ ชน 1. พ้ืนที่หมู่ 1 หมู่ 2 หมู่ 3 หมู่ 4 และหมู่ 5 ของตำบลระแหง จัดเป็นพ้ืนที่เศรษฐกิจสำคัญ ของอำเภอลาดหลุมแกว้ เน่ืองจากมีบริษัท โรงงานอตุ สาหกรรม ธรุ กิจ และการค้าขายอยู่เป็นจำนวน มาก 2. ประชาชนในพ้ืนหมู่ 1 หมู่ 2 หมู่ 3 หมู่ 4 และหมู่ 5 ของตำบลระแหง มีลักษณะการ ดำเนินชีวิตแบบก่ึงเมือง คือ มีการจับจ่ายใช้สอยสิ้นค้าอุปโภค บริโภคเกือบทุกชนิดเป็นรายวันจาก ตลาดและร้านคา้ ภายในพืน้ ท่ี จนประชาชนบางคนเกิดปัญหาใชเ้ งินเกนิ ตัว 3. ประชาชนโดยส่วนใหญ่ในพ้ืนที่ประกอบอาชีพพนักงานโรงงาน ลูกจ้างรายวัน รายเดือน ทำให้ไม่มีเวลาจัดทำบันทกึ รายรับ - จ่ายของตนเอง และครอบครวั แนวทางการดำเนนิ การพฒั นา/ตอ่ ยอด 1. การจัดทำแอพลิเคช่ันสรุปรายรับ–รายจ่ายครัวเรือนประจำวัน/เดือน เพ่ือให้ประชาชนรู้ ข้อมลู รายรับ- รายจา่ ยของครอบครัวตนเอง และมคี วามสะดวก รวดเรว็ ตอ่ การเก็บบันทกึ ข้อมลู 2. การอบรมใหค้ วามรกู้ ารใช้แอพลเิ คชน่ั สรปุ รายรบั –รายจา่ ยครัวเรอื นประจำวนั /เดือน 3. การอบรมใหค้ วามรู้การบรหิ ารรายรบั - จ่าย ภายในครอบครัว ประเดน็ ท่ี 2 การส่งเสริมเกษตรอินทรยี ์ การส่งเสริมให้ประชาชนในพื้นที่หมู่ 11 มีความรู้เก่ียวกับการปลูกข้าวโดยวิธีเกษตร ปลอดภัย ซ่ึงจะส่งผลให้ชาวนาในพื้นท่ีสามารถรายจ่ายจากการซ้ือสารเคมี และยังส่งผลดีต่อสุขภาพ ของชาวนา ไปจนถงึ ผูบ้ ริโภค พน้ื ฐานศกั ยภาพเดมิ ของชุมชน 1. ประชาชนในพ้ืนทห่ี มู่ 11 ตำบลระแหง เกือบท้ังหมูบ่ ้านมอี าชีพหลกั คือการทำนา 2. ผู้ใหญ่บ้านหมู่ท่ี 11 มีความเข็มแข็ง และดำรงค์ตนเป็นตัวอย่างท่ีดีให้แก่ลูกบ้าน อีกท้ังยัง มีความสนใจ และหาความรู้เรื่องเกษตรปลอดภัยมาให้ชาวนาในพื้นท่ีหมู่ 11 ได้ทดลองปฏิบัติอย่าง สม่ำเสมอ จนมชี าวนาบางรายประสบความสำเร็จจากการใช้เกษตรอินทรีย์กับการทาข้าว
20 แนวทางการดำเนนิ การพฒั นา/ตอ่ ยอด 1. การอบรมให้ความรู้แก่ชาวนาในพื้นท่ีหมู่ 11 ที่มีความสนใจเร่ืองเกษตรปลอดภัย ตลอดจนติดตาม และให้คำปรึกษาท่ีอาจเกิดขึ้นตลอดระยะเวลาการทำนา จนกระท่ังถึงระยะเก็บ เกยี่ ว 2. ประเมินผลความสำเร็จร่วมกับชาวนา ผู้นำชุมชน และขยายผลความสำเร็จให้ชาวนาราย อน่ื ๆ ได้รบั ทราบ ประเดน็ ที่ 3 การสร้างกลมุ่ อาชีพ การรวมกลุ่มอาชีพผลิตยาหม่องน้ำ ของกลุ่มชาวบ้านในพื้นที่หมู่ 1 ร่วมกับพัฒนาชุมชน อำเภอลาดหลุมแก้วภายใต้โครงการสัมมาชีพ ซ่ึงได้รับการถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์ และขยาย ผลความสำเร็จของกลุ่มอาชีพผลิตยาหม่องน้ำของชาวบ้านหมู่ที่ 8 ตำบลระแหง อำเภอลาดหลุมแก้ว จงั หวัดปทุมธานี โดยมรี ายละเอียดการดำเนนิ การ ดังนี้ พ้นื ฐานศกั ยภาพเดิมของชมุ ชน 1. มีการรวมกลุ่มอาชีพผลิตยาหม่องน้ำอยู่แล้วภายในหมู่บ้านภัทรารมย์ 2 ของหมู่ท่ี 1 จำนวน 4 ครัวเรือน 2. มีความต้องการขยายกลุ่มอาชีพผลิตยาหม่องน้ำของหมู่ท่ี 1 ให้ใหญ่ข้ึน และมีการวาง แผนการผลติ / การดำเนินการทีเ่ ป็นระบบ ซ่ึงในเบ้อื งต้นทางพฒั นาชุมชนอำเภอลาดหลุมแก้วไดบ้ รรจุ กิจกรรมดังกล่าวไว้ภายใต้โครงการสัมมาชีพ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 และรับผิดชอบดูแล โดยผู้ใหญ่วทิ นา สุดรกั แนวทางการดำเนนิ การพฒั นา/ตอ่ ยอด 1. การออกแบบโมเดลธุรกิจ (Business model canvas) สำหรับการผลิตยาหม่องน้ำ ร่วมกับสมาชิกท่ีเร่ิมต้นรวมกลุ่ม และสมาชิกที่มีประสบการณ์การทำยาหม่องน้ำอยู่แล้ว (จากกลุ่ม อาชีพยาหม่องน้ำของหมู่ที่ 8 และหมู่บา้ นภัทรารมย์ 2 เพื่อใช้เปนเคร่อื งมือช่วยวเิ คราะห์ธรุ กจิ การทำ ยาหม่องน้ำก่อนลงมือผลิตจริง ซึ่งเป็นการเสริมความแข็งแรงใหสมาชิกสามารถมองภาพรวมของการ ประกอบธุรกิจผลิตยาหม่องน้ำได้อย่างครบวงจร อีกทั้งยังช่วยให้สมาชิกรูรูปแบบ และปญหาของ ธรุ กิจที่อาจเกิดขึ้นไปในทิศทางเดียวกัน ตลอดจนมองเห็นจุดเดน จุดดอยของธุรกิจผลิตยาหม่องน้ำผ านโมเดลท่ไี ด้ออกแบบขน้ึ 2. นำโมเดลธุรกิจการผลิตยาหม่องน้ำที่ออกแบบขึ้น มาให้สมาชิกของกลุ่มอาชีพผลิตยา หม่องนำ้ ของหมู่ท่ี 1 ทดลองใช้ในกระบวนการผลิต โดยมีเป้าหมายเพื่อลดตน้ ทุน ระยะเวลา และของ เสียท่ีอาจเกดิ ขน้ึ จากการผลติ ในขณะทีย่ งั คงไว้ซง่ึ คณุ ภาพของผลิตภณั ฑ์ 3. ร่วมเป็นพ่ีเลี้ยงให้คำแนะนำ และช่วยแก้ไขปัญหาท่ีอาจเกิดข้ึนจากกระบวนการผลิตยา หมอ่ งนำ้ จนปญั หาตา่ งๆ ลดลงและหมดไป 4. ร่วมติดตาม และประเมินผลการดำเนินธุรกิจผลิตยาหม่องน้ำของกลุ่มอาชีพ เพื่อถอด บทเรียนและจัดทำเอกสาร/คู่มือการเริ่มต้นกลุ่มอาชีพผลิตยาหม่องน้ำ ของชาวบ้านหมู่ที่ 1 ตำบล ระแหง อำเภอลาดหลมุ แก้ว จงั หวัดปทุมธานี
21 ประเดน็ ท่ี 4 การจัดการพลังงานชมุ ชน การพัฒนา/ต่อยอดศูนย์การเรียนรู้พลังงานทดแทนตามแนวพระราชดำริของหมู่ที่ 3 เพื่อให้สามารถนำไปสู่การจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้ด้านการผลิตพลังงานไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ ของตำบล และการเพม่ิ ศักยภาพการผลิตพลังงานไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ของเดิมท่ีจัดต้ังไว้โดย กรมพลังงานทดแทน กระทรวงพลังงาน เม่ือปี พ.ศ. 2558 ให้มีขนาดใหญ่ขึ้นเพอ่ื นำพลังงานทไี่ ด้มาใช้ ในกระบวนผลติ ของกล่มุ อาชพี เผาถ่าน โดยมีรายละเอียดการดำเนินการ ดังนี้ พน้ื ฐานศักยภาพเดมิ ของชมุ ชน 1. ชุมชนหมู่ท่ี 3 มีศูนย์การเรียนรู้พลังงานทดแทนตามแนวพระราชดำริ โดยกรมพลังงาน ทดแทน กระทรวงพลงั งาน ได้มาจัดต้งั ไวเ้ ม่ือปี พ.ศ. 2558 2. ณ ศูนย์การเรียนรู้พลงั งานทดแทนตามแนวพระราชดำริ มกี ารรวมกลมุ่ อาชีพเผาถา่ น เพื่อ หารายไดเ้ ข้ากองทนุ หมบู่ ้าน สำหรับปลอ่ ยกูใ้ ห้กับสมาชกิ ของหม่บู ้านท่ีมีความเดือดรอ้ น แนวทางการดำเนนิ การพฒั นา/ต่อยอด 1. เพ่ิมศัยภาพการผลิตพลังงานไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ให้มีขนาดใหญ่ข้ึน เพ่ือให้มี พลังงานไฟฟา้ เพียงพอกับความต้องการพลงั งานไฟฟา้ ของกระบวนการเผาถ่าน 2. พัฒนาเตาเผาถ่านจากกระบบหลุมฝังมาเป็นระบบอัดอากาศโดยใช้พลังงานไฟฟ้าจาก พลังงานแสงอาทติ ย์ เพื่อให้สามารถเพิม่ ปริมาณการผลติ ต่อวนั ใหส้ งู ข้ึนจากเดิม 3. พัฒนาระบบดับไฟจากถ่านหลังเผาเสร็จด้วยระบบปั๊มน้ำพลังงานไฟฟ้าจากพลังาน แสงอาทติ ย์ ประเดน็ ที่ 5 การส่งเสริมสขุ ภาพ การส่งเสริมกิจกรรมการรวมกลุ่มผู้สูงอายุ และกิจกรรมสันทนาการให้ประชาชนในพ้ืนท่ี หมู่ 1 และหมู่ 4 ของตำบลระแหง ซึ่งมีความสนใจและมีการดำเนินกิจกรรมอย่บู ้างแล้ว ให้เป็นระบบ และมคี วามชัดเจนมากยงิ่ ขึน้ พื้นฐานศักยภาพเดิมของชุมชน 1. มีการรวมกลุ่มผู้สูงอายุอยู่แล้วในพ้ืนที่หมู่ 1 โดยคณะอาจารย์และบุคลากรของคณะ เทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ภายใตโ้ ครงการแก้ไขปญั หาความยากจน ของประชาชนในจังหวัดปทุมธานี และจังหวัดสระแก้ว เมื่อปีงบประมาณ 2562 ร่วมกับผู้นำชุมชน และอาสาสมัครสาธารณสุขในพื้นท่ี ตลอดจนมีการดำเนินกิจกรรมออกกำลังกายในช่วงเย็นของวัน จันทร์ วันพุธ และวันศุกร์ ในพ้ืนท่ีจัดกิจกรรมกลางแจ้งท่ีจัดทำไว้ให้มาอย่างต่อเน่ืองหลังเสร็จสิ้น โครงการ 2. มีการรวมกลุ่มผู้สูงอายุอยู่แล้วในพื้นหมู่ 4 โดยผู้นำชุมชน และอาสาสมัครสาธารณสุขใน พ้ืนที่ และมีการจัดกิจกรรมมอบธรรม มอบทาน สำหรับผู้สูงอายุหรือผู้ป่วยติดเตียงท่ีต้องการทำบุญ แตไ่ ม่สามารถเดนิ ทางไปวัดได้ และกจิ กรรมเต้นบาสโลปเกดิ ขน้ึ ในชมุ ชนเปน็ ประจำ แนวทางการดำเนินการพัฒนา/ตอ่ ยอด 1. ส่งเสริมให้เกิดการจัดตั้งสมาคมผู้สูงอายุ และอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติตน และ การออกกำลงั กายทีเ่ หมะสมกับวัย
22 2. ส่งเสริมและประชาสัมพันธ์กิจกรรมมอบธรรม มอบทาน และกิจกรรมเต้นบาสโลปให้มี ประสทิ ธภิ าพ และขยายวงกวา้ งมากขึ้น ประเดน็ ท่ี 6 การสืบสานวฒั นธรรมชมุ ชน วัดบัวแก้วเกษร ต้ังอยู่ในพื้นที่หมู่ 3 ของตำบลระแหง ถือเป็นวัดที่มีความสำคัญและมี ประชาชนทั้งในพื้นท่ีและนอกพื้นท่ีเข้ามาใช้เป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจเป็นจำนวนมาก เนื่องจากตั้งอยู่ใน พื้นท่ีเศรษฐกิจของอำเภอลาดหลุมแกว้ และยังมีตลาดสำคัญหลาย ๆ ตลาดอยู่ใกล้เคียง และในทกุ ๆ ปี ช่วงปีใหม่จะมกี ารจัดประเพณตี กั บาตรพระร้อยขนึ้ เป็นประจำทุกปี พน้ื ฐานศักยภาพเดิมของชุมชน 1. วดั บวั แก้วเกษรมีการจัดประเพณตี ักบาตรพระร้อยข้นึ เปน็ ประจำทุกปี 2. วัดบัวแก้วเกษรมีพื้นท่ีติดกับตลาดระแหง 100 ปี ตลาดนัดเช้าวัดบัวแก้วเกษร และยังอยู่ ใกล้กบั ตลาดคลองถมอำเภอลาดหลมุ แก้ว 3. มีหลวงพอ่ ดำเปน็ สง่ิ ศักสทิ ธ์ิและยึดเหนย่ี วจติ ใจทั้งจากคนในพื้นท่ี และนอกพื้นที่ แนวทางการดำเนนิ การพัฒนา/ต่อยอด 1. ประชาสัมพันธ์ประเพณีให้คนต่างถ่ินได้รับทราบ รวมถึงเชื่อมโยงสถานที่ท่องเท่ียวและ สถานที่สำคัญต่างๆ ในพื้นทีใ่ กล้เคียง เพื่อส่งเสริมให้มนี ักทอ่ งเที่ยวมาเท่ียวได้แบบ One day trip ซ่ึง กำลงั ไดร้ ับความนิยมจากนักเท่ียวที่กำลงั หาสถานท่ีท่องเทีย่ วใกล้กรุงเทพฯ
23 สว่ นที่ 4 รูปแบบชมุ ชนนวตั กรรมในการพฒั นา จากข้อมูลสรุปประเด็นการพัฒนาดังแสดงในหัวข้อ 3.4 พบว่าบางประเด็นสามารถ ดำเนินการได้แบบเร่งด่วน แต่บางประเด็นมหาวิทยาลัยยังไม่สามารถดำเนินการได้ โดยสามารถ นำเสนอต่อให้หน่วยงานภาครัฐในภาคีเครือข่ายพิจารณาดำเนินตามกรอบหน่วยงานเท่านั้น ซึ่ง สามารถจดั ทำในรปู แบบการพัฒนาชมุ ชนนวัตกรรมที่มีท้ังหมด 8 ประเด็น ดงั นี้ 1. สรา้ งผูน้ ำการเปลีย่ นแปลง 2. พัฒนาจิตอาสา เพ่มิ การมสี ว่ นรว่ มพัฒนา 3. ครัวเรือนพอเพียง 4. สืบสานวัฒนธรรมชุมชน 5. สขุ ภาพดี สวัสดิการท่ัวถงึ 6. เกษตรปลอดภัย 7. วสิ าหกิจชมุ ชนเข้มแขง็ 8. ส่งิ แวดลอ้ มดี ชุมชนสวยงาม การพฒั นาชุมชนตำบลระแหง สามารถดำเนนิ การตามรปู แบบการพฒั นาชมุ ชนนวัตกรรมโดย ม่งุ เนน้ การใช้วิสาหกิจชุมชนเข้มแขง็ นำการพัฒนาและขยายผลพัฒนาต่อในประเดน็ อื่น ๆ ดงั ภาพท่ี 4 และ ภาพที่ 5 ดงั นี้ ภาพที่ 4 รูปแบบการพฒั นาชุมชนนวัตกรรมตำบลระแหง
24 ภาพท่ี 5 รปู แบบกิจกรรมการพฒั นาชมุ ชนนวตั กรรมวิสาหกิจชุมชนเข้มแขง็ ตำบลระแหง จากภาพท่ี 4 สรุปได้ว่าการดำเนินงานโครงการยกระดับคุณภาพชีวิตชุมชนและท้องถ่ิน สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม สามารถดำเนินการได้ท้ังหมด 8 ประเด็นตามรายละเอียดในภาพ เพ่ือ มุ่งเน้นการสร้างผนู้ ำในการพัฒนาท่ีเรยี กวา่ “นวตั กรชุมชน” สรา้ งการเปลี่ยนแปลงผา่ นกิจกรรมสรา้ ง การเรียนรู้จิตอาสาเพ่ือถ่ายทอดประสบการณ์จากผู้สร้างการเปล่ียนแปลงชุมชนจากรุ่นสู่รุ่นเพ่ือ ส่งเสริมคนรุ่นใหม่มีส่วนร่วมพัฒนาชุมชน ส่งเสริมการพัฒนาชุมชนนวัตกรรมวิสาหกิจชุมชนเข้มแข็ง ตำบลระแหง ใน 3 มิติ ดังน้ี (ภาพท่ี 5) 1. มิติการพัฒนาเศรษฐกิจ ได้แก่ การส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพของกลุ่มอาชีพทำขนม หวาน (หมู่ท่ี 7 หมู่ท่ี 9 และหมู่ท่ี 11) กลุ่มอาชีพทำยาหม่องน้ำ (หมู่ท่ี 1 และหมู่ท่ี 8) กลุ่มอาชีพเผา ถ่าน (หมู่ท่ี 3) และกลุ่มอาชีพทำพริกแกง (หมู่ท่ี 12) เพ่ือให้สามารถแข่งขันในตลาดท่ีเน้นของดี มีคุณภาพ มกี ระบวนการผลติ ทสี่ ะอาด ตลอดจนมรี าคายอ่ มเยา ไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ 2. มิติการพัฒนาสังคม ได้แก่ การพัฒนาชุมชนผู้สูงอายุให้เป็นชุมชมที่สามารถดูแล ช่วยเหลือตนเองไดโ้ ดยการจัดกิจกรรมทเี่ น้นการดแู ลผู้สูงอายุ (หมทู่ ี่ 1 และหมู่ท่ี 4) อาทเิ ชน่ กิจกรรม มอบธรรม มอบทาน กจิ กรรมออกกำลงั กายสำหรบั ผู้สงู อายุ เปน็ ตน้ 3. มิติการพัฒนาสิ่งแวดล้อม ได้แก่ การพัฒนาส่งเสริม/พัฒนาการใช้พลังงานจากพลังงาน ทดแทน (หมู่ที่ 3) และการนำพลังงานไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนมาใช้ในกระบวนการผลิตของกลุ่ม อาชพี ตา่ งๆ เพ่อื ลดต้นทุนการผลติ และลดการปลดปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจกออกสู่ช้ันบรรยากาศ
Search
Read the Text Version
- 1 - 30
Pages: