Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานโครงการยกระดับคุณภาพชีวิตชุมชนและท้องถิ่น (ระยะที่ 1) ตำบลวังใหม่ อำเภอวังสมบูรณ์ จังหวัดสระแก้ว ฉบับสมบูรณ์ (1) (1)

รายงานโครงการยกระดับคุณภาพชีวิตชุมชนและท้องถิ่น (ระยะที่ 1) ตำบลวังใหม่ อำเภอวังสมบูรณ์ จังหวัดสระแก้ว ฉบับสมบูรณ์ (1) (1)

Published by learnoffice, 2021-01-07 03:47:59

Description: รายงานโครงการยกระดับคุณภาพชีวิตชุมชนและท้องถิ่น (ระยะที่ 1) ตำบลวังใหม่ อำเภอวังสมบูรณ์ จังหวัดสระแก้ว ฉบับสมบูรณ์ (1) (1)

Search

Read the Text Version

รายงานโครงการยกระดับคณุ ภาพชวี ิตชมุ ชนและทอ้ งถิน่ (โครงการระยะท่ี 1) ตาบลวงั ใหม่ อาเภอวังสมบรู ณ์ จังหวดั สระแก้ว อาจารย์ฉัตรชัย เสนขวญั แกว้ และคณะ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถัมภ์ สระแกว้ ประจาปงี บประมาณ 2563

รายงานโครงการยกระดบั คุณภาพชีวิตชุมชนและทอ้ งถน่ิ (โครงการระยะท่ี 1) ตาบลวงั ใหม่ อาเภอวงั สมบรู ณ์ จงั หวดั สระแกว้ อาจารย์ฉัตรชยั เสนขวัญแกว้ อาจารย์ชยั วุฒิ เทโพธ์ิ อาจารย์วุฒวิ ัฒน์ อนันตพ์ ฒุ ิเมธ อาจารยว์ ราวุฒิ คาพานชุ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ สระแกว้ ประจาปีงบประมาณ 2563

ก กติ ติกรรมประกาศ รายงานโครงการยกระดับคุณภาพชีวิตชุมชนและท้องถิ่น สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม ในกิจกรรม สร้างความร่วมมือกับหน่วยงานราชการท่ีเกี่ยวข้อง ศึกษาชุมชนและจัดทาฐานข้อมูล ตาบล และจัดทาแผนปฏิบัติการเพ่ิมรายได้ยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน ตาบลวังใหม่ อาเภอวังสมบูรณ์ จังหวัดสระแก้ว (โครงการระยะท่ี 1) คณะผู้ดาเนินโครงการขอกราบขอบพระคุณ ผู้ว่าราชการจังหวัดสระแก้ว สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด และหน่วยงานราชการระดับจังหวัด สระแกว้ นายอาเภอวงั สมบูรณ์ สานักงานพฒั นาชุมชนอาเภอ สานักงานเกษตรอาเภอ และหนว่ ยงาน ราชการระดับอาเภอวังสมบูรณ์ คณะผู้บริหารมหาวิทยาลัย ผู้บริหาร คณาจารย์และบุคลากร มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ สระแก้ว องค์การบริหารส่วนตาบลวังใหม่ กานัน ผู้ใหญ่บ้านทุกหมู่บ้าน ผู้นากลุ่มต่าง ๆ ที่ให้คาแนะนา และสนับสนุนการดาเนินโครงการ และ ขอขอบคุณประชาชนตาบลวังใหม่ที่ให้ความร่วมมือในการทากิจกรรม ทาให้โครงการสามารถจัดทา แผนปฏิบัติการเพิ่มรายได้ยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน ตาบลวังใหม่ อาเภอวังสมบูรณ์ จังหวัดสระแกว้ (โครงการระยะท่ี 1) ไดส้ าเร็จลุลว่ งไปดว้ ยดี อาจารย์ฉตั รชยั เสนขวัญแกว้ และคณะ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ สระแก้ว ปีพุทธศักราช 2563

ข สารบญั หน้า กิตติกรรมประกาศ ก สารบญั ข สารบัญตาราง ค สารบญั ภาพ ง สว่ นท่ี 1 บทนา 1 ส่วนที่ 2 ผลการศึกษาชุมชนเบอ้ื งตน้ ในระดบั ตาบล 4 ส่วนที่ 3 ผลการวิเคราะหศ์ กั ยภาพ ปัญหา/ความต้องการ และประเด็นการพฒั นาเชิงพน้ื ท่ี 13 3.1 ผลการวเิ คราะห์ศกั ยภาพในการพฒั นาตาบล 13 3.2 แผนที่แสดงศกั ยภาพด้านต่าง ๆ ของแตล่ ะหมูบ่ ้านในตาบล 23 3.3 ปญั หาและความต้องการในพนื้ ท่ีตาบล 24 3.4 ประเด็นการพฒั นาเชงิ พน้ื ท่ตี าบล 27 ส่วนท่ี 4 รปู แบบการพัฒนาชมุ ชนนวัตกรรม 32

สารบัญตาราง ค ตารางที่ หน้า 1 จานวนครัวเรือน จานวนประชากร เพศ อายุ ของตาบลวงั ใหม่ 7 2 จานวนศนู ยพ์ ัฒนาเดก็ เลก็ สงั กดั อบต. ในพ้ืนทต่ี าบลวังใหม่ 10 3 จานวนสถานศกึ ษาในพ้ืนทต่ี าบลวังใหม่ 11

ง สารบญั ภาพ หน้า 4 รปู ภาพท่ี 23 1 แผนท่ีตาบลวังใหม่ อาเภอวงั สมบรู ณ์ จงั หวดั สระแก้ว 32 2 แผนท่ีศักยภาพแต่ละชุมชนในพ้ืนที่ตาบลวงั ใหม่ หมูท่ ี่ 1 - 14 33 3 รปู แบบการพฒั นาชมุ ชนนวัตกรรมตาบลวงั ใหม่ 4 รูปแบบกจิ กรรมการพฒั นาชุมชนนวัตกรรมวิสาหกิจชุมชนเข้มแข็งตาบลวงั ใหม่

1 สว่ นที่ 1 บทนา 1.1 หลกั การและเหตผุ ล ต า ม ท่ี ภ า ค รั ฐ ไ ด้ เ ชื่ อ ม โ ย ง เ ป้ า ห ม า ย ก า ร พั ฒ น า ท่ี ยั่ ง ยื น ข อ ง ส ห ป ร ะ ช า ช า ติ เ ข้ า กั บ แผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) และยุทธศาสตร์เกษตรและสหกรณ์ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 - 2579) ของประเทศไทย โดยน้อมนาเอาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่เน้นการ พัฒนาแบบย่ังยืน โดยคานึงถึงส่ิงแวดล้อมท่ีอยู่ และใช้หลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระบรม ชนกาธเิ บศร มหาภมู ิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (รชั กาลท่ี 9) มาเปน็ แนวทางในการดาเนิน นโยบาย เพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิต และยกระดับรายได้ของประชาชน แก้ไขปัญหาเชิงโครงสร้างการ ผลิตภาคเกษตร เสริมสร้างความม่ันคงทางอาหาร พัฒนาโภชนาการและความปลอดภัยด้านอาหาร เพ่ือนาไปสู่ความมั่นคง มั่งค่ัง และย่ังยืน ของประชาชนและประเทศชาติ ซึ่งพระบาทสมเด็จ พระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 10) ทรงมี พระปณิธานแน่วแน่ท่ีจะสานต่อโครงการในพระราชดาริของพระราชบิดา เพื่อช่วยเหลือประชาชน ใหม้ ีคณุ ภาพชีวติ ทีด่ ขี ้ึน มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นมหาวิทยาลัยท่ีพระราชา ประสงค์ให้เป็นมหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 มาตรา 7 ท่ีระบุให้มหาวิทยาลัยเป็นสถาบันอุดมศึกษา เพ่ือการพัฒนาท้องถ่ินเสริมพลัง ปัญญาของแผ่นดิน ซึ่งสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์เพื่อยกคุณภาพมาตรฐานมหาวิทยาลัยราชภัฏ สู่คุณภาพเป็นเลิศ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพบัณฑิตสู่นักปฏิบัติอย่างมืออาชีพ การยกคุณภาพ มาตรฐานชีวิตของชุมชน ท้องถิ่น และพ้ืนท่ีให้มีความเข้มแข็งและยั่งยืน พร้อมท้ังสอดคล้องกับ ยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ในประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี 3 การพัฒนางานพันธกิจสัมพันธ์และถ่ายทอดเผยแพร่ โครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดาริ โดยมี กลยุทธ์ในการสร้างเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติจากภายในและภายนอก เพ่ือร่วมกันศึกษาแก้ไขปัญหา ของชุมชนท้องถ่ินและเสริมพลังให้ชุมชนท้องถิ่นสามารถดารงอยู่ได้อย่างย่ังยืน ให้ความสาคัญในการ พัฒนาชุมชน และทอ้ งถิ่น ดังน้นั มหาวทิ ยาลัยราชภฏั วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูถมั ภ์ สระแกว้ จึงไดจ้ ัดทาโครงการ ยกระดับคุณภาพชวี ติ ชุมชนและทอ้ งถ่ิน ในพ้ืนท่ตี าบลวังใหม่ อาเภอวังสมบรู ณ์ จังหวัดสระแก้ว โดยมี เป้าหมายเพ่ือให้คนในชุมชนสามารถบริหารจัดการชีวิตตนเองได้อย่างสมดุลและมีความเหมาะสม สามารถดารงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ร่วมกับการส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถ่ิน เพิ่มคุณค่าและมูลค่า เสริมเศรษฐกิจฐานรากในชุมชนให้มีความเข้มแข็ง ม่ันคง นาไปสู่การพึ่งพา ตนเองและชว่ ยเหลอื เกื้อกูลกันในชมุ ชนได้อย่างยั่งยนื สง่ ผลให้ชุมชนหมู่บ้านมีคณุ ภาพชีวติ และรายได้ ท่เี พิม่ ขนึ้

2 1.2 วัตถุประสงค์ของการสารวจลงพ้ืนทช่ี ุมชนในระดบั ตาบล และกลุ่มเป้าหมาย 1) เพื่อสร้างความร่วมมือกับเครือข่ายประชารัฐ อาทิ ส่วนระดับอาเภอ ปกครองอาเภอ วังสมบูรณ์ พัฒนาการอาเภอ เกษตรอาเภอ ส่วนระดับท้องถ่ินและท้องท่ี องค์การบริหารส่วนตาบล วังใหม่ กานัน ผู้ใหญ่บ้านทุกหมู่บ้าน ผู้นากลุ่มต่าง ๆ ในชุมชน และหน่วยงานเอกชนในพ้ืนท่ีท่ีมีส่วน เกี่ยวขอ้ งกบั การพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ชุมชนตาบลวังใหม่ อาเภอวงั สมบูรณ์ จังหวดั สระแกว้ 2) เพื่อสารวจบริบทชุมชน ครัวเรือนเป้าหมาย และจัดทาฐานข้อมูลตาบลวังใหม่ อาเภอวังสมบรู ณ์ จงั หวัดสระแก้ว 3) เพ่ือจัดทาแผนปฏิบัติการเพิ่มรายได้ยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชุมชนวังใหม่ อาเภอวังสมบรู ณ์ จงั หวดั สระแก้ว 1.3 ขอบเขตการสารวจลงพื้นทช่ี ุมชนในระดบั ตาบล และกล่มุ เปา้ หมาย กลุ่มเป้าหมาย ประชาชนในพ้ืนท่ีชุมชนหมู่ที่ 1 - 14 ตาบลวังใหม่ อาเภอวังสมบูรณ์ จังหวดั สระแก้ว ผเู้ ข้าร่วมโครงการ ประชาชนตาบลวังใหม่ จานวนไม่น้อยกว่า 400 ครัวเรือน ระยะเวลาดาเนนิ โครงการ เดอื นพฤศจกิ ายน 2562 ถงึ เดือนมกราคม 2563 1.4 วธิ ีการดาเนินการสารวจความตอ้ งการของชุมชนในระดบั ตาบล และกลุ่มเป้าหมาย การดาเนินโครงการคณะผู้ดาเนินการมุ่งเน้นการสร้างกรอบปัญหาและความต้องการของ ชุมชนระดับตาบล เพ่ือกาหนดแผนปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมของชุมชนในการวางแนวทางลดปัญหา ความยากจนของประชาชนและยกระดับขีดความสามารถของเศรษฐกิจฐานราก การจัดการ สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม ตาบลวังใหม่ อาเภอวังสมบูรณ์ จังหวัดสระแก้ว วิธีการดาเนินแผนงาน เน้นไปท่ีการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research) ซ่ึงเป็นการบูรณา การการวิจัยแบบมีส่วนร่วม (Participatory Research) และการวิจัยเชิงคุณภาพ (Quantitative Research) เพื่อให้ได้มาซึ่งแผนพัฒนาชุมชนที่จะสามารถลดความเหล่ือมล้าในการยกระดับรายได้ ของประชาชนนวัตกรรมและกระบวนการทางความคิดสร้างสรรค์ที่จะเพ่ิมมูลค่า ทรัพยากรท่ีไม่ก่อ ประโยชน์ในชุมชนให้เกิดประโยชน์อันส่งผลให้ประชาชนมีรายได้ท่ีเพิ่มสูงขึ้นกระบวนการลดปัญหา ความยากจนท่ีเหมาะกับการเข้าถึงของประชาชนทุกวัยได้อย่างท่ัวถึงและยั่งยืนและเผยแพร่ องคค์ วามร้สู ปู่ ระชาชนกลมุ่ อน่ื ๆ ไดโ้ ดยมีขั้นตอนดงั ตอ่ ไปนี้ 1. สร้างความร่วมมือกับหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง ดาเนินการจัดทาปฏิทิน การลงพ้ืนที่ศึกษาข้อมูลและยกระดับพัฒนาคุณภาพชวี ิตชมุ ชนและท้องถิ่น เข้าพบและแสวงหาความ ร่วมมือจากหน่วยงานภาครัฐและข้อปรึกษาหารือทิศทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน ตาบลวังใหม่ ได้แก่ นายอาเภอ ส่วนงานปกครองอาเภอ พัฒนาการอาเภอ เกษตรอาเภอ ณ ที่ว่าการ อาเภอวังสมบูรณ์ จังหวัดสระแก้ว กานันตาบลวังใหม่ ผู้ใหญ่บ้านทุกหมู่บ้าน และองค์การบริหาร ส่วนตาบลวังใหม่ สมาชิก อบต. เพื่อขอปรึกษาหารือ เกี่ยวกับทิศทางการดาเนินโครงการ และ ขอฐานขอ้ มูลตาบลเบอ้ื งตน้

3 2. ศึกษาชุมชนและจัดทาฐานข้อมูลตาบล ดาเนินการประมวลผลรวบรวมข้อมูลจาก เอกสารฐานข้อมูลท่ีเกี่ยวข้องของตาบลวังใหม่ โดยใช้ข้อมูลจากบัตรสวัสดิการแห่งรัฐและเกณฑ์ ความจาเปน็ ขั้นพน้ื ฐาน (จปฐ.) ท่ีตกเกณฑ์ของพัฒนาการจังหวดั จดั ประชมุ ผ้นู าชมุ ชนท้ังตาบลวงั ใหม่ ได้แก่ กานัน ผู้ใหญ่บ้าน และผู้นากลุ่มต่าง ๆ รวมหมู่ละ 2 คน เพ่ือวางกรอบในการพัฒนาร่วมกัน รวมท้ังคัดเลือกเป้าหมายในการพัฒนาศึกษาพื้นท่ี เย่ียมชมรวบรวมข้อมูลภาคสนามจากพื้นท่ีของ ตาบลร่วมกับเครือข่ายประชารัฐ 3 ครั้ง ในการเก็บข้อมูล OP3 รวมทั้งศึกษาบริบทชุมชนในภาพรวม ศึกษา ประเมินศักยภาพ ปัญหา ทุนของชุมชน จัดเวทีประชุมเสวนาคืนข้อมูลให้กับชุมชนจัดทา รายงานผลการศึกษาชุมชน และครัวเรือนเป้าหมาย จัดทาฐานข้อมูลตาบล (OP2 และ OP3) และ ประชมุ เชิงปฏิบตั กิ ารแบบมสี ว่ นร่วม (PAR) เพ่อื กาหนดแผนการพฒั นาชมุ ชนรว่ มกบั คนในชุมชน และ ครวั เรือนเป้าหมายในตาบลวังใหม่ 3. จดั ทาแผนปฏบิ ัตกิ ารเพ่ิมรายได้ยกระดับคณุ ภาพชวี ติ ของคนในชมุ ชน 1.5 เครอ่ื งมือท่ีใชก้ ารสารวจความตอ้ งการของชุมชนในระดับตาบล และกล่มุ เปา้ หมาย การดาเนินโครงการเก็บข้อมูลพื้นฐานชุมชนจากหน่วยงานราชการระดับจังหวัด อาเภอ และตาบล ซึ่งเป็นข้อมูลทุติยภูมิ นาข้อมูลท่ีได้วางแผนลงพ้ืนที่เพื่อเก็บข้อมูลปฐมภูมิ โดยใช้แบบ สัมภาษณ์เจาะลึกแบบมีโครงสร้าง (OP3-2) แบบสอบถาม (OP3-1) การสนทนากลุ่ม การสังเกต แบบสารวจขอ้ มูล

4 ส่วนท่ี 2 ผลการศกึ ษาชมุ ชนเบ้อื งต้นในระดับตาบล 2.1 ขอ้ มลู ทว่ั ไปของชมุ ชนในระดบั ตาบล 2.1.1 ประวัติตาบลวงั ใหม่ องค์การบริหารส่วนตาบลวังใหม่ เป็นองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น ตั้งอยู่ที่ หมู่ท่ี 1 บ้านวังใหม่ ตาบลวังใหม่ อาเภอวังสมบูรณ์ จังหวัดสระแก้ว อยู่ห่างจากอาเภอวังสมบูรณ์ ประมาณ 4 กโิ ลเมตร มีเน้อื ทร่ี วม 141.6 ตารางกโิ ลเมตร หรอื 88,500 ไร่ ลกั ษณะการใช้ทดี่ นิ - ที่พกั อาศยั 10,780 ไร่ - พื้นทพ่ี าณิชยก์ รรม 50 ไร่ - พน้ื ท่ตี ัวหน่วยงานรฐั 2 ไร่ - พ้นื ทเี่ กษตรกรรม 77,608 ไร่ - พน้ื ทต่ี ้งั สถานศกึ ษา 182 ไร่ องค์การบริหารส่วนตาบลวังใหม่ ได้รับการยกฐานะเป็นองค์การบริหารส่วนตาบล และมีฐานะเป็นนิติบุคคลและเป็นราชการบริหารส่วนท้องถ่ิน ตามพระราชบัญญัติสภาตาบลและ องค์การบริหารส่วนตาบล พ.ศ.2537 ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เม่ือวันท่ี 3 เดือนมีนาคม พ.ศ.2538 โดยมี นายอานวย ทงก๊ก กานันตาบลวังใหม่ เป็นประธานกรรมการบรหิ าร (โดยตาแหน่ง) คนแรก และได้เปลี่ยนเป็นนายกองค์การบริหารส่วนตาบล คือ นางสุณี รักซ้อน เป็นนายกองค์การ บรหิ ารสว่ นตาบลวงั ใหม่ คนปัจจบุ นั - หมบู่ ้าน จานวน 14 หมู่บา้ น - บา้ น จานวน 5,011 ครัวเรือน - ประชากรในชมุ ชน จานวน 11,850 คน แบ่งพื้นที่การปกครองออกเป็น 14 หมู่บ้าน และมีผู้นาท้องท่ี (กานัน/ผู้ใหญ่บ้าน) ดงั รายชื่อตอ่ ไปน้ี - หมทู่ ่ี 1 บ้านวังใหม่ นายชานาญ เตยี วสวัสด์ิ กานันตาบล - หมทู่ ี่ 2 บ้านวังศรีทอง นายจาลอง วงษค์ านา ผใู้ หญบ่ ้าน - หมทู่ ่ี 3 บ้านวงั สาลี นายพล อวิสุ ผใู้ หญ่บ้าน - หมู่ที่ 4 บา้ นวังน้าฝน นายมานติ ย์ จาปาทอง ผใู้ หญบ่ ้าน - หมู่ที่ 5 บ้านทุ่งกบินทร์ นายฉตั รชยั สังขศ์ ร ผู้ใหญ่บา้ น - หมู่ที่ 6 บา้ นคลองหวาย นายดาวรุ่ง นอ้ ยตั้ง ผใู้ หญบ่ า้ น - หมทู่ ่ี 7 บ้านไพรจิตร นางสาวพรทพิ ย์ เชอ้ื รอด ผใู้ หญ่บา้ น - หมู่ที่ 8 บ้านโพธทิ์ อง นายสมบรู ณ์ สีคาภา ผู้ใหญบ่ ้าน - หมทู ี่ 9 บา้ นวงั ชุมทอง นายเสาร์ คนชาน ผู้ใหญ่บ้าน

5 - หมทู่ ี่ 10 บา้ นพฒั นา นายวินยั ดบิ แดง ผใู้ หญ่บา้ น - หม่ทู ี่ 11 บ้านวงั ไพร นายณฐั พงษ์ การสงิ ห์ ผใู้ หญบ่ ้าน - หมู่ท่ี 12 บ้านเขาน้อยพัฒนา นายวเิ ชยี ร ตุ้มทอง ผใู้ หญบ่ า้ น - หม่ทู ่ี 13 บา้ นวงั เจรญิ นายอานาจ สนธิ ผใู้ หญ่บ้าน - หมู่ท่ี 14 บา้ นซบั เกษมพัฒนา นางสาวเสาวนีย์ ประทุมมา ผู้ใหญ่บา้ น ภาพท่ี 1 แผนที่ตาบลวังใหม่ อาเภอวังสมบูรณ์ จงั หวดั สระแก้ว ทิศเหนือ ตดิ ตอ่ กบั ตาบลวงั น้าเย็น ตาบลตาหลังใน ตาบลทุ่งมหาเจรญิ อาเภอวงั นา้ เย็น จังหวัดสระแก้ว ทศิ ตะวันออก ทศิ ตะวันตก ติดต่อกบั ตาบลคลองหาด อาเภอคลองหาด จงั หวัดสระแก้ว ทศิ ใต้ ติดต่อกบั อาเภอท่าตะเกียบ จังหวดั ฉะเชิงเทรา ตดิ ต่อกับ ตาบลวงั สมบูรณ์ ตาบลวังทอง อาเภอวังสมบูรณ์ จังหวดั สระแกว้ 2.2 ขอ้ มลู ด้านนิเวศวิทยา 2.2.1 สภาพภมู ิประเทศและอากาศ สภาพพ้ืนท่ีโดยส่วนใหญ่เป็นพ้ืนที่ราบสูง เป็นเนินและภูเขาหลายแห่ง ลักษณะดิน ส่วนใหญ่เป็นดินลูกรังปนทราย มีแหล่งน้าธรรมชาติที่สามารถใช้ประโยชน์ได้ตลอดท้ังปี คือ คลองใหญ่ หมู่ที่ 2 บ้านวังศรีทอง, คลองตาชาญ หมู่ที่ 2 บ้านวังศรีทอง, หมู่ที่ 3 บ้านวังสาลี และ หมทู่ ี่ 4 บา้ นวังน้าฝน, คลองวงั สาลี หมทู่ ่ี 3 บา้ นวงั สาลี, คลองพระสะทึง หมู่ที่ 5 บ้านทุ่งกบนิ ทร์ และ

6 หมู่ที่ 13 บ้านวังเจริญ และคลองหวาย หมู่ท่ี 6 บ้านคลองหวาย ส่วนสระน้าสาธารณะมีแต่ยังไม่ เพยี งพอกบั ความตอ้ งการใช้นา้ ของประชาชนในพนื้ ท่ี สภาพภูมิอากาศโดยทั่วไปของตาบลวังใหม่ อาเภอวังสมบูรณ์ จังหวัดสระแก้ว แบ่งเป็น 3 ฤดู ดังนี้ 1) ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - เมษายน 2) ฤดูฝน เร่ิมตั้งแต่เดือน พฤษภาคม - กันยายน และ 3) ฤดูหนาว เริ่มตั้งแต่เดือนตุลาคม - มกราคม เป็นอากาศแบบร้อนชื้น ค่อนขา้ งแลง้ ภาวะอากาศและปรมิ าณน้าฝนโดยเฉล่ยี เปน็ ดงั นี้ - อุณหภูมิเฉลี่ยเดือน มนี าคม - มิถุนายน 26.55 องศาเซลเซียส - อณุ หภมู ิเฉลย่ี เดือน กรกฎาคม - ตุลาคม 25.43 องศาเซลเซยี ส - อุณหภมู เิ ฉลี่ยเดอื น พฤศจิกายน - กมุ ภาพนั ธ์ 20.30 องศาเซลเซียส - อุณหภมู สิ ูงสุด 39.6 องศาเซลเซยี ส ต่าสดุ 19.0 องศาเซลเซยี ส 2.3 ข้อมูลด้านสภาพท่วั ไปของตาบล 2.3.1 การเกษตร ประชาชน ประมาณ 80% ประกอบเล้ียงปศุสัตว์, ทาไร่, ทาสวน, ทานา และทา การเกษตรผสมผสาน อีก 20% รับจา้ งทว่ั ไป และอืน่ ๆ 2.3.2 การประมง อา่ งเก็บนา้ คลองพระสะทงึ 2.3.3 การปศสุ ัตว์ มีการเล้ียงสัตว์ส่วนใหญ่ เพ่ือประกอบอาชีพกสิกรรม (โคนม) และใช้ไว้บริโภค ในครัวเรือน เหลอื จากบริโภคจงึ จะจาหน่ายภายในท้องถิ่น เช่น โค กระบอื ไก่ เป็ด สุกร เป็นต้น และ มสี หกรณโ์ คนมวังน้าเยน็ ตอ้ งอยใู่ นพ้ืนที่ของตาบล 2.3.4 การท่องเท่ยี ว วัดวงั นา้ ฝน, อา่ งเกบ็ น้าคลองพระสะทงึ 2.3.5 การพาณชิ ย/์ กลุ่มอาชีพ พนื้ ที่ตาบลวังใหม่ เปน็ ชุมชนเกษตรส่วนใหญ่ แตพ่ น้ื ทตี่ ั้งอย่ภู ายในหมู่บ้าน มรี า้ นค้า อปุ โภคและบริโภคพรอ้ มท้ังตลาดนัดสญั จรจากตา่ งถน่ิ เขา้ มาให้บริการประชาชนอยู่ประจา 2.3.6 ดา้ นเศรษฐกจิ - รายได้/ประชากร รายได้เฉล่ียของประชากร จานวน 20,000 ต่อคน/ปี - เกษตรกรรม มจี านวน 2,127 ครวั เรือน - สถานบี รกิ ารน้ามัน มีจานวน 8 แห่ง - รา้ นค้าท่ัวไป มจี านวน 92 แห่ง - รา้ นจาหนา่ ย/ซ่อมวทิ ยุ โทรทัศน์ คอมพวิ เตอร์ มีจานวน 4 แห่ง

7 - รา้ นจาหน่าย/ซ่อมรถยนต์ จกั รยานยนต์ มจี านวน 19 แห่ง - รา้ นจาหน่ายวัสดุก่อสรา้ ง มีจานวน 6 แห่ง - ร้านเชอ่ื มโลหะ/กลึง มีจานวน 4 แหง่ - รา้ นซ่อมเครอ่ื งมอื และอุปกรณ์ทางการเกษตร มีจานวน 2 แหง่ - โรงงาน มีจานวน 4 แหง่ - แหลง่ ท่องเทยี่ ว มจี านวน 2 แหง่ - สหกรณ์โคนม มจี านวน 1 แหง่ - ครวั เรือนท่ีประกอบอาชีพปศสุ ัตว์ มจี านวน 696 ครวั เรอื น 2.4 ข้อมูลดา้ นประชากร 2.4.1 จานวนครวั เรือน จานวนประชากร เพศ อายุ ข้อมูลประชากร (สำนักบริหำรกำรทะเบียน กรมกำรปกครอง ข้อมูล ณ เดือน มิถนุ ำยน 2560) แยกเปน็ - จานวนหลังคาเรือนทงั้ หมดในเขตพนื้ ที่รับผดิ ชอบ 5,088 ครัวเรอื น - มปี ระชากรทัง้ หมด 11,843 คน - ความหนาแน่นของประชากร ประมาณ 84 คน/ตร.กม. หมบู่ า้ น ชาย หญิง รวม จานวนครวั เรือน หมู่ท่ี 1 บ้านวงั ใหม่ 1,299 1,273 2,572 1,374 หมู่ท่ี 2 บ้านวังศรีทอง 370 365 735 292 หม่ทู ี่ 3 บา้ นวงั สาลี 268 278 555 205 หมทู่ ี่ 4 บา้ นวังน้าฝน 541 558 1,099 537 หมู่ที่ 5 บ้านท่งุ กบินทร์ 653 637 1,290 543 หมทู่ ี่ 6 บา้ นคลองหวาย 512 506 1,018 380 หมทู่ ี่ 7 บา้ นไพรจิตร 327 348 675 322 หมู่ท่ี 8 บ้านโพธ์ทิ อง 195 167 362 127 หมทู ี่ 9 บา้ นวังชุมทอง 263 250 513 177 หมทู่ ่ี 10 บา้ นพฒั นา 338 357 695 270 หมู่ที่ 11 บ้านวังไพร 212 227 439 170 หมู่ที่ 12 บ้านเขานอ้ ยพัฒนา 376 367 743 293 หมทู่ ่ี 13 บา้ นวงั เจรญิ 399 378 777 249 หมูท่ ่ี 14 บา้ นซับเกษมพัฒนา 186 184 370 149 ตารางท่ี 1 จานวนครวั เรือน จานวนประชากร เพศ อายุ ของตาบลวงั ใหม่

8 - จานวนประชากรพกิ ารหรือทุพลภาพหรือปว่ ยเร้ือรงั ในเขตพ้นื ท่ี จานวน 60 คน - จานวนประชากรในเขตประกอบอาชีพเกษตรกรรม จานวน 4,500 ครวั เรือน - จานวนประชากรในเขตประกอบอาชีพรับจ้างในบริษัท โรงงานอุตสาหกรรม จานวน 500 คน 2.5 ขอ้ มลู ด้านสาธารณูปโภคในระดบั ตาบล 2.5.1 การคมนาคมขนสง่ เส้นทางทีใ่ ช้ในการคมนาคมขนส่ง - ทางหลวงแผ่นดินหมายเข 317 ถนนสระแกว้ -จันทบรุ ี 2.5.2 การไฟฟา้ ตาบลวังใหม่ ได้รับการบริการไฟฟ้าจากการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค สาขาอาเภอ วังสมบูรณ์ มีไฟฟ้าอย่างท่ัวถึงทุกหมู่บ้าน และกาลังพัฒนาและขยายเขตไฟฟ้าเพ่ือการเกษตร ไฟฟา้ แสงสวา่ งให้ทว่ั ถงึ 2.5.3 การประปา การประปาภายในหมู่บ้าน จานวน 3 หมู่บ้าน รอบใน ได้รับการบริการการประปา จากการประปาส่วนภูมิภาค สาขาสระแก้ว และหมู่บ้านรอบนอก ได้อาศัยแหล่งน้าใต้ดินทาเป็น ประปาหมู่บ้าน และยังไม่เพียงพอต่อความต้องการของประชาชนและขณะนี้ก็อยู่ระหว่างการขอรับ การสนับสนนุ งบประมาณเพือ่ ปรบั ปรงุ และกอ่ สรา้ งต่อไป 2.5.4 โทรศพั ท์ ในเขตพ้ืนท่ีขององค์การบริหารส่วนตาบลวังใหม่ ซ่ึงส่วนหนึ่งก็อยู่ในเขตตัวอาเภอ วังน้าเย็น ได้รับการบริการจากองค์การโทรศัพท์มีโทรศัพท์บ้านใช้ ซึ่งมีทั้งหมด 3 หมู่บ้าน และ บางส่วนของหมู่บ้านระบบเสียงตามสาย/หอกระจายข่าว ในพ้ืนที่ให้บริการครอบคลุม ร้อยละ 90 ของพื้นท่ี 2.5.5 ไปรษณยี /์ การสื่อสาร/การขนสง่ วสั ดุ ครภุ ัณฑ์ 2.5.5.1 ไปรษณยี ์อาเภอวงั สมบูรณ์ จานวน 1 แหง่ 2.5.5.2 รถตสู้ อยดาวทวั ร์ บรกิ ารรบั สง่ วงิ่ ผา่ นให้บรกิ ารทกุ วัน 2.5.5.3 รถโดยสารประจาทางวิง่ ผ่าน 2.5.6 ด้านโครงสร้างพื้นฐาน การคมนาคม การจราจร ถนน 154 สาย แยกเปน็ - ถนนลกู รัง จานวน 77 สาย - ถนนลาดยาง จานวน 11 สาย - ถนนคอนกรตี จานวน 30 สาย - ถนนดิน จานวน 30 สาย - สะพาน คสล. จานวน 6 แหง่

9 2.6 ข้อมลู ดา้ นสงั คม 2.6.1 ลกั ษณะของครอบครัว ครอบครัวเดยี่ ว ครอบครวั ขยาย ลักษณะของครอบครัวของชุมชนตาบลวังใหม่เป็นลักษณะท้ังครอบครัวเด่ียว และ อยู่รวมเป็นครอบครัวใหญ่ในบ้านหลังเดียว ซึ่งในครอบครัวใหญ่อาจจะมีท้ังแบบอยู่กับครอบครัว ฝา่ ยชาย หรือ อยกู่ บั ครอบครัวฝ่ายหญงิ 2.6.2 การตัดสินใจและการจัดการในครอบครัวการเลอื กคู่ครองและการแตง่ งาน ในส่วนของการตัดสินใจและการจัดการในเหตุการณ์ใด ๆ น้ัน ส่วนใหญ่จะให้บุตร เป็นคนตัดสินใจเลือกคู่ครอง โดยสมาชิกในครอบครัวจะมีส่วนร่วมในการตัดสินใจด้วย แต่ในบาง สถานการณผ์ ู้นาครอบครัวบางครอบครวั จะมีอานาจในการผ้ตู ัดสินใจข้ึนอยู่กับสถานการณ์ กา ร เ ลื อกคู่ค ร อง แ ล ะ กา ร แ ต่ ง ง า น จ า ก กา ร ส า ร ว จ ยั ง ไ ม่ พบ ปั ญ ห า ใ น คร อ บ ค รั ว อย่างไรก็ตามสมาชิกในชุมชนที่หย่าร้าง ต้องเล้ียงบุตรด้วยตนเอง สามารถทางานและส่งเสียเล้ียงดู บุตรหลาน รวมถึงคนในครอบครัวได้ การตัดสินใจเลือกคู่ครองเป็นแบบอิสระ แต่ยังคงไว้ซ่ึงประเพณี อนั ดงี ามของไทย และคานงึ ถึงความแตกตา่ งตา่ งทางเชื้อชาติและศาสนาอีกดว้ ย 2.6.3 ความสัมพนั ธร์ ะหว่างสมาชิกครอบครัวซง่ึ ไปทางานที่อืน่ ในกรณีท่ีครอบครัวท่ีต้องมีสมาชิกในครอบครัวไปประจาอยู่ท่ีทางานที่ต่างจังหวัด ในทุกวันหยุดสุดสัปดาห์ หรือวันหยุดนักขัตฤกษ์ต่าง ๆ สมาชิกก็จะกลับมาบ้านทุกครั้งที่มีวันหยุด จึงทาให้ความสัมพันธร์ ะหว่างสมาชกิ ครอบครัวไม่มีปญั หาใด ๆ เกิดขึน้ 2.6.4 การรวมกลุ่มทางสงั คมในเชงิ พฒั นาความเข้มแข็งของชุมชน หมู่บ้านภายในตาบลวังใหม่ มีการรวมกลุ่มของคนในชุมชนเพื่อแสดงถึงความ เข้มแขง็ ของชุมชน ไดแ้ ก่ - กลมุ่ สตรี หมูท่ ี่ 1 บา้ นวังใหม,่ หมู่ท่ี 7 บา้ นไพรจิตร, หมู่ท่ี 11 บ้านวังไพร - กลุ่มแมบ่ า้ นวังศรีทอง หม่ทู ่ี 2 บา้ นวงั ศรที อง - กลมุ่ อาชีพบา้ นวงั สาลี หม่ทู ่ี 3 บ้านวงั สาลี - กลุ่มผลิตปุ๋ยชีวภาพ หมู่ท่ี 3 บ้านวังสาลี, หมู่ท่ี 6 บ้านคลองหวาย, หมู่ท่ี 7 บ้านไพรจติ ร และหมู่ที่ 11 บ้านวังไพร - กลมุ่ แม่บ้านวงั น้าฝน หมู่ท่ี 4 บ้านวงั น้าฝน - กลมุ่ สตรอี อมทรพั ย์ หมทู่ ี่ 4 บ้านวังน้าฝน - กลุม่ เล้ียงโคนม หมทู่ ี่ 4 บา้ นวังน้าฝน, หมู่ที่ 7 บ้านไพรจิตร, หมู่ที่ 11 บา้ นวังไพร - กลมุ่ ปลกู หนอ่ ไมฝ้ รง่ั หมทู่ ี่ 7 บา้ นไพรจิตร, หม่ทู ่ี 11 บ้านวังไพร - กลมุ่ สตรแี มบ่ ้านพฒั นา หมู่ท่ี 10 บ้านพฒั นา - กลมุ่ วิสาหกจิ ชมุ ชนชมรมสมุนไพร ต.วงั ใหม่ บ้านเขานอ้ ยพฒั นา หม่ทู ี่ 12 - กล่มุ ทาเสาหลกั รวั้ บา้ นเขานอ้ ยพฒั นา หมู่ท่ี 12 - กองทนุ แก้ไขปญั หาความยากจน ท้งั หมด 14 หมู่บ้าน

10 - กลุ่มสัจจะออมทรพั ย์ ทั้งหมด 14 หมบู่ า้ น - กองทุนหม่บู า้ น ทง้ั หมด 14 หมู่บา้ น - กลุ่มเครือข่ายอาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมหมู่บ้าน (ทสม.) นอกจากน้ียังมีท่ีทาการของชุมชน และมีลานกิจกรรมที่ใช้ในการทากิจกรรม การประชุม การประชาคม เช่น งานวันขึ้นปีใหม่ งานวันเด็กแห่งชาติ งานสงกรานต์ กิจกรรมวันพ่อ แหง่ ชาติ กิจกรรมวันแม่แห่งชาติ และกิจกรรมทสี่ าคญั ๆ 2.6.5 ปราชญ์ชุมชน และภูมิปัญญาพื้นบา้ นท่ีสาคญั ปราชญช์ มุ ชน - ปราชญ์ด้านเกษตรธรรมชาติ หมูท่ ี่ 4 ช่อื นายอนุศษิ ฎ์ ธารงรตั นศลิ ป์ - ปราชญ์ดา้ นดนตรพี ื้นบ้าน (กลองยาว) หมทู่ ่ี 4 ชือ่ นายมานติ ย์ จาปาทอง - ปราชญ์ดา้ นเกษตรสมนุ ไพร หมทู่ ี่ 12 ช่ือ นายวนิ ัย สายเปลีย่ น ภมู ิปญั ญาพน้ื บ้านที่สาคัญ - สมนุ ไพรพนื้ บา้ น, หมอยา, หมอแผนโบราณ, หมอเป่า - อาหารพืน้ บ้าน เช่น นา้ พริก, ทอดมันปลา - จกั สานไม้ไผ่ - เกษตรเศรษฐกจิ พอเพยี ง - หมอดิน - หมอดู, รา่ งทรง - ดนตรีพืน้ บ้าน เชน่ กลองยาว - การทอผา้ , หัตถกรรมประเภทตา่ ง ๆ 2.7 ขอ้ มลู ดา้ นการศกึ ษา มศี นู ย์พัฒนาเดก็ เลก็ สังกัด อบต. ในพืน้ ทต่ี าบลวังใหม่ จานวน 3 แหง่ ลาดบั ที่ ศนู ย์พัฒนาเด็กเล็กในสังกดั จานวนครู จานวนนกั เรียน 1. ศูนยพ์ ัฒนาเด็กเลก็ บา้ นวังใหม่ 3 40 2. ศนู ยพ์ ฒั นาเด็กเลก็ บ้านท่งุ กบินทร์ 3 40 3. ศนู ย์พัฒนาเด็กเลก็ บ้านไพรจิตร 3 47 รวมท้ังสน้ิ 9 177 ตารางท่ี 2 จานวนศนู ย์พฒั นาเด็กเล็ก สงั กัด อบต. ในพน้ื ทตี่ าบลวงั ใหม่

11 มสี ถานศึกษาในพืน้ ท่ตี าบลวังใหม่ จานวน 8 แหง่ ลาดับท่ี ศูนย์พฒั นาเด็กเล็กในสงั กัด จานวนครู จานวนนกั เรียน 1. โรงเรียนบ้านวังใหม่ 27 447 2. โรงเรียนบ้านวงั ศรีทอง 4 50 3. โรงเรียนบ้านวงั สาลี 5 44 4. โรงเรียนบ้านไทรทอง 10 156 5. โรงเรยี นบ้านไพรจิตรวิทยา 14 300 6. โรงเรียนบ้านซบั เกษม 6 52 7. โรงเรียนวังไพรวทิ ยาคม 18 335 8. โรงเรยี น ตชด. บา้ นทงุ่ กบินทร์ 7 109 91 1,487 รวมท้ังสิ้น ตารางที่ 3 จานวนสถานศึกษาในพื้นท่ีตาบลวงั ใหม่ ระดับการศกึ ษาของประชาชนในตาบลวังใหม่ 1. ระดับประถมศึกษา มีจานวน 2,711 คน 2. ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ มจี านวน 1,010 คน 3. ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย มจี านวน 535 คน 4. ระดับอนุปรญิ ญา/เทียบเท่า มจี านวน 137 คน 5. ระดับปริญญาตรี มีจานวน 180 คน 6. ระดบั สงู กวา่ ปริญญาตรี มีจานวน 18 คน 7. ผู้ไม่รหู้ นังสือ มจี านวน 25 คน หมายเหตุ : ข้อมลู นี้ไมร่ วมผทู้ ี่กาลังศึกษาอยู่ 2.8 ข้อมูลดา้ นระบบสาธารณสุข มสี ถานบริการสาธารณสขุ จานวน 2 แหง่ และอนื่ ๆ - โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลบ้านวังใหม่ หมทู่ ี่ 1 มีเจา้ หน้าที่ จานวน 3 คน - โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลบ้านทุ่งกบินทร์ หมู่ท่ี 5 มีเจ้าหน้าที่ จานวน 4 คน - อสม. จานวน 180 คน แบ่งเป็น เพศชาย จานวน 39 คน เพศหญิง จานวน 141 คน - มคี ลนิ ิกเอกชน จานวน 1 แห่ง บุคลากร พยาบาล 1 คน

12 2.9 ขอ้ มลู ด้านศาสนา วัฒนธรรม ความเชอ่ื และการสันทนาการ ศาสนา - ผนู้ บั ถือศาสนาพุทธ รอ้ ยละ 100 ของจานวนประชากรทง้ั หมด - วดั จานวน 9 วดั สานกั สงฆ์ จานวน 9 แห่ง - ศาลเจ้า จานวน 1 แห่ง วัฒนธรรม ประเพณที ้องถิ่นท่สี าคญั - ประเพณีออกพรรษา เดือนตลุ าคม - ประเพณีลอยกระทง เดอื นพฤศจิกายน - ประเพณสี งกรานต์ เดือนเมษายน - ประเพณีแห่เทยี นเขา้ พรรษา เดอื นกรกฎาคม - ประเพณีแหศ่ าลเจา้ แมว่ งั ใหม่ หมู่ท่ี 1 บ้านวังใหม่ กีฬา นนั ทนาการ/พักผอ่ น จานวน 13 แห่ง - สนามกฬี าอเนกประสงค์ จานวน 3 แห่ง - สนามฟุตบอล จานวน 1 แห่ง - สนามบาสเกตบอล จานวน 6 แหง่ - สนามตะกรอ้ จานวน 1 แหง่ - ห้องสมุดประชาชน

13 สว่ นที่ 3 ผลการวเิ คราะหศ์ ักยภาพในพืน้ ท่ีตาบลวงั ใหม่ อาเภอวังสมบูรณ์ จงั หวัดสระแก้ว 3.1 ศกั ยภาพในพื้นที่ตาบลวังใหม่ อาเภอวงั สมบูรณ์ จังหวดั สระแก้ว 3.1.1 ดา้ นทรพั ยากรมนุษย์ - หม่ทู ่ี 3 บา้ นวงั สาลี มีปราชญ์ชาวบา้ นดา้ นเกษตรพอเพียง ช่อื นายอุดม จนั ทร์อาจ ที่สามารถนาไปสู่การพัฒนาการเป็นต้นแบบศูนย์การเรียนรู้หรือแหล่งศึกษาดูงานด้านการเกษตร พอเพียง เกษตรกรต้นแบบ สามารถถ่ายทอดองค์ความรู้แก่หน่วยงานหรือบุคคลต่าง ๆ และนาไปสู่ การเผยแพรไ่ ปยังบุคคลอน่ื และชุมชนรอบขา้ งได้ - หมูท่ ่ี 4 บา้ นวังน้าฝน มปี ราชญช์ าวบ้านด้านตา่ ง ๆ ดงั น้ี 1. ปราชญ์ชาวบ้านด้านเกษตรธรรมชาติและได้จัดต้ังเป็นศูนย์การเรียนรู้ เกษตรธรรมชาติ ช่ือ นายอนุศิษฎ์ ธารงรัตนศิลป์ ท่ีสามารถนาไปสู่การยกระดับเผยแพร่องค์ความรู้ แกเ่ กษตรกรและผู้ทสี่ นใจ 2. ปราชญ์ชาวบ้านดา้ นหมอดิน ช่ือ นายวิทยา พรมสอน 3. ปราชญ์ชาวบา้ นด้านหมอเป่า/หมอพราหมณ์/หมอดู ชือ่ นายกง้ึ ดาราธร และมปี ราชญช์ าวบ้านดา้ นหมอเป่า ชื่อ นายพมิ สุขแจม่ 4. ปราชญ์ชาวบ้านด้านดนตรีพื้นบ้าน (กลองยาว) ช่ือ นายมานิตย์ จาปาทอง และนายกลอง สุขแจ่ม 5. ปราชญ์ชาวบ้านด้านจักสานและหัตถกรรม ชื่อ นายซุ้ย ไตรรัตนพงษ์ นายบุญธรรม อาพรพงษ์ นายบุญส่ง อาพรพงษ์ และนายชม ศรีสาราญ 6. ปราชญ์ชาวบ้านด้านอาหาร (น้าพริก) ชื่อ นางสมัย เกษรา ที่สามารถ นาไปสู่การพัฒนาด้านการถ่ายทอดองค์ความรู้แก่หน่วยงานหรือบุคคลต่าง ๆ อันนาไปสู่การอนุรักษ์ ภูมิปัญญาของบรรพบุรุษท่ีถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่น และนาไปสู่การเผยแพร่ไปยังบุคคลอื่นและชุมชน รอบขา้ งได้ 7. ปราชญ์ชาวบ้านด้านพิธีกรรมและความเช่ือ (ร่างทรง) ชื่อ นางน้า แขง็ การ - หมู่ที่ 5 บ้านทุ่งกบินทร์ มีผู้นาทางศาสนาเป็นพระสงฆ์นักพัฒนา และพระเกจิ ด้านเครื่องราง ชื่อ พระครูสันติชยาภิวัฒน์ (เฉลิมชัย สนฺตกาโย) ช่ืนดอนกลอย เจ้าอาวาสวัดคลอง พระสะทึง สามารถนาไปสู่การพัฒนาด้านการบารุงพระพุทธศาสนา สร้างวัดให้เจริญรุ่งเรือง มีความ โดดเด่นเป็นอัตลักษณ์ และพัฒนาวัดให้เป็นแหล่งท่องเท่ียวให้ชุมชนกลายเป็นท่ีรู้จักของคนท่ัวไป เกดิ รายไดภ้ ายในชมุ ชน สามารถเชื่อมโยงไปยังสถานทอ่ี น่ื ๆ ได้อกี ดว้ ย และมีปราชญ์ชาวบ้านด้านการรักษาด้วยแผนโบราณ (หมอเป่า) ชื่อ ลุงหวี (ไม่ทราบชื่อ - นามสกุล) ท่ีสามารถนาไปสู่การพัฒนาด้านการถ่ายทอดองค์ความรู้แก่หน่วยงานหรือ

14 บุคคลต่าง ๆ อันนาไปสู่การอนุรักษ์ภูมิปัญญาของบรรพบุรุษท่ีถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่น และนาไปสู่ การเผยแพร่ไปยังบุคคลอ่ืนและชุมชนรอบข้างได้ - หมู่ที่ 12 บ้านเขาน้อยพัฒนา มีปราชญ์ชาวบ้านด้านสมุนไพร ช่ือ นายวินัย สายเปล่ียน ท่ีสามารถนาไปสู่การพัฒนาด้านเป็นต้นแบบศูนย์การเรียนหรือแหล่งศึกษาดูงานด้าน การรวบรวมองค์ความรู้คาถาปลุกเสกการปรุงยา การอ่านอักขระขอมโบราณ การอ่านใบลาน การเผยแพร่ภูมิปัญญาด้านการปรุงยาและสมุนไพร อันนาไปสู่การอนุรักษ์ภูมิปัญญาของบรรพบุรุษ ที่ถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่น และสร้างฐานข้อมูลชนิดของสมุนไพร เพ่ือการศึกษาเพาะพันธุ์หายาก และ สง่ ออกผลติ ภัณฑส์ ตู่ ลาดผู้บริโภคหรอื โรงพยาบาลทรี่ องรบั - หมู่ท่ี 13 บา้ นวังเจริญ มปี ราชญช์ าวบา้ นด้านต่าง ๆ ดังน้ี 1. ปราชญ์ชาวบ้านด้านหมอลาพื้นบ้าน และศิลปินตลกอีสานท่ีมีช่ือเสียง ช่ือ พ่อใหญ่แหลม (ไม่ทราบชื่อ – นามสกุล) อดีตเคยสังกัดวงหมอลานกน้อย อุไรพร ปัจจุบันย้าย สงั กดั ไปอยวู่ งหมอลาสาวน้อยเพชรบ้านแพง 2. ปราชญ์ชาวบ้านด้านการทาพานบายศรี พิธีพราหมณ์ และร่างทรง ช่ือ นายเอกรินทร์ เข่ือนโคกสูง เป็นศูนย์รวมจิตใจทางความเชื่อและท่ีพึ่งของชาวบ้านที่สามารถนาไปสู่ การพัฒนาด้านการรวบรวมองค์ความรู้ การเผยแพร่วิธีการทาพานบายศรี อันนาไปสู่การสร้าง ฐานขอ้ มลู และการถ่ายทอดเผยแพร่แก่บุคคลอืน่ ได้ 3. ปราชญ์ชาวบ้านด้านการทาพิธีพราหมณ์ และร่างทรง ช่ือ นายณัฐวรรธ จูงจิตร เป็นศูนย์รวมจิตใจทางความเช่ือและที่พึ่งของชาวบ้าน ท่ีสามารถนาไปสู่การพัฒนาด้านการ รวบรวมองค์ความรู้ การเผยแพร่วิธีการทาพิธีพราหมณ์ อันนาไปสู่การสร้างฐานข้อมูลและการ ถ่ายทอดเผยแพร่แกบ่ คุ คลอ่ืนได้ 4. ปราชญ์ชาวบ้านด้านการทอเสื่อ ชื่อ นางมะลิ กาจู๊ด ท่ีสามารถนาไปสู่ การพัฒนาด้านการรวบรวมองค์ความรู้ การเผยแพร่วิธีการทอเสื่อ อันนาไปสู่การสร้างรายได้เสริม ใหก้ ับครอบครวั เป็นสินค้าสง่ ออกผลิตภัณฑ์สู่ตลาดผ้บู ริโภค และเป็นรักษาภมู ปิ ญั ญาทจี่ ะสามารถการ ถา่ ยทอดเผยแพร่แก่เด็กเยาวชนหรือบุคคลอืน่ ทส่ี นใจได้ 5. ปราชญ์ชาวบ้านด้านการสานแห ช่ือ นายเซน ไทป๊อก ที่สามารถนาไปสู่ การพัฒนาด้านการรวบรวมองค์ความรู้ การเผยแพร่วิธีการสานแห อันนาไปสู่การสร้างรายได้เสริม ใหก้ ับครอบครวั เป็นสินค้าสง่ ออกผลติ ภัณฑ์สู่ตลาดผบู้ ริโภค และเปน็ รกั ษาภูมปิ ญั ญาท่ีจะสามารถการ ถ่ายทอดเผยแพร่ แกเ่ ด็กเยาวชนหรือบคุ คลอื่นทส่ี นใจได้ 3.1.2 ดา้ นภาคีเครอื ข่ายในพ้ืนท่ี - หมู่ท่ี 1 บ้านวังใหม่ มีหน่วยงานที่เข้ามาให้การสนับสนุน ส่งเสริม ช่วยเหลือด้าน ต่าง ๆ ดังน้ี องคก์ ารบริหารส่วนตาบลวังใหม่ - หมู่ท่ี 2 บ้านวงั ศรีทอง มหี น่วยงานทเี่ ขา้ มาให้การสนบั สนุน สง่ เสริม ช่วยเหลอื ด้าน ตา่ ง ๆ ดงั นี้ สานกั งานพฒั นาชมุ ชนอาเภอวังสมบูรณ์, องคก์ ารบริหารสว่ นตาบลวังใหม่

15 - หมู่ท่ี 3 บ้านวังสาลี มีหน่วยงานที่เข้ามาให้การสนับสนุน ส่งเสริม ช่วยเหลือด้าน ต่าง ๆ ดังนี้ สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอวังสมบูรณ์, สานักงานท้องถ่ินอาเภอวังสมบูรณ์, สานักงาน เกษตรอาเภอวงั สมบรู ณ์ - หมู่ท่ี 4 บ้านวังน้าฝน มีหน่วยงานที่เข้ามาให้การสนับสนุน ส่งเสริม ช่วยเหลือด้าน ตา่ ง ๆ ดงั นี้ ทที่ าการอาเภอวงั สมบรู ณ์, องคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบลวังใหม่ - หมู่ที่ 5 บ้านทุ่งกบินทร์ มีหน่วยงานท่ีเข้ามาให้การสนับสนุน ส่งเสริม ช่วยเหลือ ด้านต่าง ๆ ดังน้ี สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดสระแก้ว, สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอวังสมบูรณ์, สานักงานเกษตรอาเภอวังสมบรู ณ์, โครงการชลประทานสระแก้ว, มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสวนสุนนั ทา - หมทู่ ี่ 6 บา้ นคลองหวาย มีหน่วยงานที่เข้ามาให้การสนับสนุน ส่งเสริม ช่วยเหลือ ด้านต่าง ๆ ดังน้ี องค์การบริหารสว่ นตาบลวงั ใหม่ - หมู่ท่ี 7 บ้านไพรจิตร มีหน่วยงานที่เข้ามาให้การสนับสนุน ส่งเสริม ช่วยเหลือด้าน ต่าง ๆ ดงั นี้ องค์การบรหิ ารส่วนตาบลวงั ใหม่ - หมู่ที่ 8 บ้านโพธ์ิทอง มีหน่วยงานท่ีเข้ามาให้การสนบั สนุน ส่งเสริม ช่วยเหลือด้าน ต่าง ๆ ดงั น้ี องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบลวงั ใหม่ - หมูท่ี 9 บ้านวังชุมทอง มีหน่วยงานที่เข้ามาให้การสนับสนุน ส่งเสริม ช่วยเหลือ ด้านต่าง ๆ ดังน้ี องคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบลวังใหม่ - หมู่ที่ 10 บ้านพัฒนา มีหน่วยงานที่เข้ามาให้การสนับสนนุ ส่งเสริม ช่วยเหลือด้าน ต่าง ๆ ดงั นี้ องค์การบริหารสว่ นตาบลวังใหม่ - หมู่ท่ี 11 บ้านวังไพร มีหน่วยงานที่เข้ามาให้การสนับสนุน ส่งเสริม ช่วยเหลือด้าน ต่าง ๆ ดังน้ี ท่ีทาการอาเภอวังสมบูรณ์, องคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบลวงั ใหม่ - หมู่ท่ี 12 บ้านเขาน้อยพัฒนา มีหน่วยงานที่เข้ามาให้การสนับสนุน ส่งเสริม ช่วยเหลือด้านต่าง ๆ ดังน้ี ท่ีทาการอาเภอวังสมบูรณ์, องค์การบริหารส่วนตาบลวังใหม่, สานักงาน พัฒนาชุมชนอาเภอวังสมบูรณ์, สานักงานเกษตรอาเภอวังสมบูรณ์, สานักงานปศุสัตว์อาเภอ วังสมบูรณ์, ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) สาขาวังสมบูรณ์ และธนาคาร ออมสิน สาขาวังสมบูรณ์ - หมู่ท่ี 13 บ้านวังเจริญ มหี น่วยงานที่เขา้ มาให้การสนับสนนุ สง่ เสริม ช่วยเหลอื ดา้ น ต่าง ๆ ดังน้ี เครือข่ายด้านสุขภาพ ร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลและอาสาสมัคร สาธารณสุขประจาหมูบ่ ้าน (อสม.), องคก์ ารบริหารส่วนตาบลวังใหม่ - หมู่ท่ี 14 บ้านซับเกษมพัฒนา มีหน่วยงานที่เข้ามาให้การสนับสนุน ส่งเสริม ชว่ ยเหลอื ดา้ นตา่ ง ๆ ดงั นี้ องคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบลวงั ใหม่

16 3.1.3 ทุนทางสงั คมและทนุ ทางวฒั นธรรม หม่ทู ่ี 1 บา้ นวังใหม่ - ทุนทางสังคมภายใน สมาชิกในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชน มีความ สามัคคี แต่ส่วนใหญ่จะประกอบอาชีพส่วนตัว สังคมเป็นแบบก่ึงเมืองกึ่งชนบท เพราะชุมชนที่อยู่ริม ถนนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 317 จะมีความเจริญทางด้านเศรษฐกิจ ด้านการรวมกลุ่ม จัดต้ัง องค์กรในชุมชนจึงมีน้อย แต่ความเจริญทางเศรษฐกิจ คมนาคมก่อให้เกิดการสร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ อีกทั้งมีกองทุนต่าง ๆ กลุ่มออมทรัพย์ ที่สามารถให้การสนับสนุน ส่งเสริมนาไปสู่พัฒนา ดา้ นแหลง่ ทุนในชมุ ชน การจัดการทุนในชุมชน เป็นตน้ - ทุนทางสังคมภายนอก มีหน่วยงานภาครัฐเข้ามาให้การสนับสนุน ส่งเสริม ช่วยเหลอื ด้านต่าง ๆ นาไปส่กู ารพัฒนาชมุ ชน และยกระดบั คณุ ภาพชวี ิตของคนในชุมชน - ทุนทางวัฒนธรรม ภายในชุมชนมีวัด ชื่อ วัดวังใหม่ วัดรุ่งอรุณ และศาลเจ้าแม่ วังใหม่ จะมีการไปเข้าร่วมกิจกรรมทางวัฒนธรรม ตามขนบธรรมเนียมประเพณีกับวัดและศาลเจ้า แต่ละความเชื่อ การนับถือ เชื้อชาติ เช่น วันสาคัญทางศาสนา, วันสงกรานต์, วันลอยกระทง เป็นต้น นาไปสกู่ ารสนบั สนุน ส่งเสรมิ ใหค้ งรกั ษาขนบธรรมเนียมประเพณีอันดงี ามไว้ สว่ นการแสดง พิธีกรรม ประเพณี อาหาร ศลิ ปะพน้ื บา้ น ชมุ ชนมีเป็นเอกลกั ษณ์เฉพาะภายในหมู่บ้าน เชน่ พธิ ีกรรมแห่ศาลเจ้า แม่วังใหม่ สามารถนาไปสู่พัฒนาด้านการจัดการการท่องเที่ยวชุมชน และการสืบทอดมรดกทาง วัฒนธรรมท่ีจับต้องไม่ได้ นาไปสู่การพัฒนาด้านการท่องเท่ียวเชิงวัฒนธรรม เป็นคติชน เอกลักษณ์ จดุ เดน่ อัตลักษณ์ของชุมชนและพน้ื ทใ่ี นตาบลได้อีกด้วย หมู่ท่ี 2 บ้านวังศรีทอง - ทุนทางสังคมภายใน สมาชิกในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชน มีความ สามัคคี แต่ส่วนใหญ่จะประกอบอาชีพส่วนตัว สังคมเป็นแบบกึ่งเมืองก่ึงชนบท เพราะชุมชนที่อยู่ริม ถนนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 317 จะมีความเจริญทางด้านเศรษฐกิจ ด้านการรวมกลุ่ม จัดตั้ง องค์กรในชุมชนจึงมีน้อย แต่ความเจริญทางเศรษฐกิจ คมนาคมก่อให้เกิดการสร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ อีกทั้งมีกองทุนต่าง ๆ กลุ่มออมทรัพย์ ที่สามารถให้การสนับสนุน ส่งเสริมนาไปสู่พัฒนา ดา้ นแหลง่ ทุนในชุมชน การจัดการทุนในชมุ ชน เปน็ ต้น - ทุนทางสังคมภายนอก มีหน่วยงานภาครัฐเข้ามาให้การสนับสนุน ส่งเสริม ช่วยเหลือด้านต่าง ๆ นาไปสู่การพฒั นาชุมชน และยกระดับคณุ ภาพชวี ิตของคนในชุมชน - ทนุ ทางวัฒนธรรม ภายในชุมชนมีวัด ช่ือ วัดวังศรที อง จะมีการไปเขา้ ร่วมกิจกรรม ทางวัฒนธรรม ตามขนบธรรมเนียมประเพณีกับวัด เช่น วันสาคัญทางศาสนา, วันสงกรานต์, วันลอย กระทง เป็นต้น นาไปสู่การสนับสนุน ส่งเสริม ให้คงรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามไว้ ส่วน การแสดง พิธีกรรม ประเพณี อาหาร ศลิ ปะพ้นื บ้านที่เปน็ เอกลักษณ์เฉพาะภายในหมู่บ้านไม่มี หมู่ที่ 3 บ้านวงั สาลี - ทุนทางสังคมภายใน สมาชิกในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชน มีความ สามัคคี แต่ส่วนใหญ่จะประกอบอาชีพส่วนตัว สังคมเป็นแบบกึ่งเมืองก่ึงชนบท เพราะชุมชนที่อยู่ริม ถนนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 317 จะมีความเจริญทางด้านเศรษฐกิจ ด้านการรวมกลุ่ม จัดต้ัง องค์กรในชุมชนจึงมีน้อย แต่ความเจริญทางเศรษฐกิจ คมนาคมก่อให้เกิดการสร้างงาน สร้างอาชีพ

17 สร้างรายได้ อีกท้ังมีกองทุนต่าง ๆ กลุ่มออมทรัพย์ ที่สามารถให้การสนับสนุน ส่งเสริมนาไปสู่พัฒนา ดา้ นแหล่งทนุ ในชุมชน การจัดการทุนในชมุ ชน เป็นต้น - ทุนทางสังคมภายนอก มีหน่วยงานภาครัฐเข้ามาให้การสนับสนุน ส่งเสริม ช่วยเหลอื ดา้ นต่าง ๆ นาไปสู่การพฒั นาชุมชน และยกระดับคณุ ภาพชีวติ ของคนในชมุ ชน - ทุนทางวัฒนธรรม ภายในชุมชนมีวัด ช่ือ วัดวังสาลี จะมีการไปเข้าร่วมกิจกรรม ทางวัฒนธรรม ตามขนบธรรมเนียมประเพณีกับวัด เช่น วันสาคัญทางศาสนา, วันสงกรานต์, วันลอย กระทง เป็นต้น นาไปสู่การสนับสนุน ส่งเสริม ให้คงรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามไว้ ส่วน การแสดง พิธกี รรม ประเพณี อาหาร ศิลปะพน้ื บ้านทเี่ ปน็ เอกลกั ษณเ์ ฉพาะภายในหมู่บ้านไม่มี หม่ทู ่ี 4 บา้ นวังนา้ ฝน - ทุนทางสังคมภายใน สมาชิกในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชน มีความ สามัคคี แต่ส่วนใหญ่จะประกอบอาชีพส่วนตัว สังคมเป็นแบบกึ่งเมืองก่ึงชนบท เพราะชุมชนที่อยู่ริม ถนนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 317 จะมีความเจริญทางด้านเศรษฐกิจ ด้านการรวมกลุ่ม จัดตั้ง องค์กรในชุมชนจึงมีน้อย แต่ความเจริญทางเศรษฐกิจ คมนาคมก่อให้เกิดการสร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ อีกท้ังมีกองทุนต่าง ๆ กลุ่มออมทรัพย์ ท่ีสามารถให้การสนับสนุน ส่งเสริมนาไปสู่พัฒนา ดา้ นแหล่งทนุ ในชมุ ชน การจัดการทนุ ในชุมชน เป็นต้น - ทุนทางสังคมภายนอก มีหน่วยงานภาครัฐเข้ามาให้การสนับสนุน ส่งเสริม ชว่ ยเหลอื ดา้ นตา่ ง ๆ นาไปสกู่ ารพัฒนาชมุ ชน และยกระดบั คณุ ภาพชีวติ ของคนในชุมชน - ทุนทางวัฒนธรรม ภายในชุมชนมีวัด ชื่อ วัดวังน้าฝน, สานักสงฆ์ถ้าเพียรธรรม สานักสงฆ์เขาพลับพลึงทอง จานวน 3 วัด จะอยู่รอบภูเขา และสานักสงฆ์สันติธรรม จะมีการไป เข้าร่วมกิจกรรมทางวัฒนธรรม ตามขนบธรรมเนียมประเพณีกับวัด เช่น วันสาคัญทางศาสนา, วันสงกรานต์, วันลอยกระทง เป็นต้น นาไปสู่การสนับสนุน ส่งเสริม ให้คงรักษาขนบธรรมเนียม ประเพณีอันดีงามไว้ อีกท้ังยังสามารถพัฒนาให้เป็นท่องเที่ยวสถานท่ีสาคัญของอาเภอและตาบล ในพื้นท่ีได้เน่ืองจากวัดอยู่รอบภูเขา และมีจุดชมวิวบนยอดด้วย ส่วนการแสดง พิธีกรรม ประเพณี อาหาร ศิลปะพื้นบ้านชุมชนมีเป็นเอกลักษณ์เฉพาะภายในหมู่บ้าน คือ พิธีกรรมความเช่ือกราบไหว้ ศาลพ่อแก่-แม่ย่าซอม และศาลแม่ยายขาวสาเภาทอง (ตั้งอยู่ภายในโรงเรยี นบา้ นไทรทอง) หมทู่ ี่ 5 บ้านทงุ่ กบินทร์ - ทุนทางสังคมภายใน สมาชิกในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชน มีความ สามัคคี สามารถนาไปสู่พัฒนาด้านการรวมกลุ่ม จัดต้ังองค์กรเพื่อร่วมกันพัฒนาชุมชน ก่อให้เกิดการ สร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ อีกทั้งมีกองทุนต่าง ๆ กลุ่มออมทรัพย์ ที่สามารถให้การสนับสนุน ส่งเสรมิ นาไปสู่พฒั นาดา้ นแหลง่ ทุนในชมุ ชน การจดั การทนุ ในชมุ ชน เปน็ ตน้ - ทุนทางสังคมภายนอก มีหน่วยงานภาครัฐเข้ามาให้การสนับสนุน ส่งเสริม ชว่ ยเหลือดา้ นตา่ ง ๆ นาไปสู่การพฒั นาชมุ ชน และยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน - ทุนทางวัฒนธรรม ภายในชุมชนมีวัด ช่ือ วัดทุ่งกบินทร์ และวัดคลองพระสะทึง จะมีการไปเข้าร่วมกิจกรรมทางวัฒนธรรม ตามขนบธรรมเนียมประเพณีกับวัด เช่น วันสาคัญทาง ศาสนา, วันสงกรานต์, วันลอยกระทง เป็นต้น นาไปสู่การสนับสนุน ส่งเสริม ให้คงรักษา ขนบธรรมเนียมประเพณีอนั ดีงามไว้ สว่ นการแสดง พิธกี รรม ประเพณี อาหาร ศลิ ปะพ้นื บา้ น ชมุ ชนมี

18 เป็นเอกลักษณ์เฉพาะภายในหมู่บ้าน คือ พิธีกรรมความเช่ือกราบไหว้ศาลเจ้าแม่ตะเคียน (บริเวณ อ่างเก็บน้าคลองพระสะทึง) สามารถนาไปสู่พัฒนาด้านการจัดการการท่องเท่ียวชุมชน และการสืบ ทอดมรดกทางวฒั นธรรมท่ีจับต้องไม่ได้ นาไปสู่การพฒั นาด้านการท่องเท่ียวเชงิ วัฒนธรรม เปน็ คติชน เอกลักษณ์ จุดเด่น อัตลักษณ์ของชุมชนและพ้ืนที่ในตาบลได้อีกด้วย อีกทั้งยังมีภูมิปัญญาด้านการทา ทอดมันปลา สามารถนาไปสู่การพฒั นาดา้ นอาชพี ต่อยอดส่งเสริมให้ผา่ นมาตรฐาน อย. หรือมาตรฐาน ผลิตภณั ฑ์ชุมชน (มผช.) / ยกระดบั ภูมิปัญญาอาหารพืน้ ถนิ่ หมทู่ ี่ 6 บา้ นคลองหวาย - ทุนทางสังคมภายใน สมาชิกในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชน มีความ สามัคคี สามารถนาไปสู่พัฒนาด้านการรวมกลุ่ม จัดต้ังองค์กรเพื่อร่วมกันพัฒนาชุมชน ก่อให้เกิดการ สร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ อีกทั้งมีกองทุนต่าง ๆ กลุ่มออมทรัพย์ ที่สามารถให้การสนับสนุน ส่งเสรมิ นาไปส่พู ัฒนาด้านแหล่งทนุ ในชมุ ชน การจดั การทนุ ในชมุ ชน เปน็ ตน้ - ทุนทางสังคมภายนอก มีหน่วยงานภาครัฐเข้ามาให้การสนับสนุน ส่งเสริม ช่วยเหลอื ด้านตา่ ง ๆ นาไปส่กู ารพัฒนาชุมชน และยกระดับคณุ ภาพชวี ติ ของคนในชมุ ชน - ทุนทางวัฒนธรรม ภายในชุมชนมีวัด ช่ือ วัดป่าบ้านน้าซับ จะมีการไปเข้าร่วม กิจกรรมทางวัฒนธรรม ตามขนบธรรมเนียมประเพณีกับวัด เช่น วันสาคัญทางศาสนา, วันสงกรานต,์ วันลอยกระทง เป็นต้น นาไปสู่การสนับสนุน ส่งเสริม ให้คงรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามไว้ สว่ นการแสดง พิธีกรรม ประเพณี อาหาร ศิลปะพื้นบ้านที่เป็นเอกลักษณเ์ ฉพาะภายในหมูบ่ า้ นไม่มี หมทู่ ่ี 7 บ้านไพรจติ ร - ทุนทางสังคมภายใน สมาชิกในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชน มีความ สามัคคี สามารถนาไปสู่พัฒนาด้านการรวมกลุ่ม จัดต้ังองค์กรเพื่อร่วมกันพัฒนาชุมชน ก่อให้เกิดการ สร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ อีกทั้งมีกองทุนต่าง ๆ กลุ่มออมทรัพย์ ท่ีสามารถให้การสนับสนุน ส่งเสรมิ นาไปสูพ่ ัฒนาดา้ นแหลง่ ทนุ ในชุมชน การจดั การทุนในชุมชน เป็นตน้ - ทุนทางสังคมภายนอก มีหน่วยงานภาครัฐเข้ามาให้การสนับสนุน ส่งเสริม ช่วยเหลอื ดา้ นตา่ ง ๆ นาไปสู่การพฒั นาชมุ ชน และยกระดบั คุณภาพชีวติ ของคนในชุมชน - ทุนทางวัฒนธรรม ภายในชุมชนมีวัด ชื่อ วัดไพรจิตรสามัคคีธรรม จะมีการไป เข้าร่วมกิจกรรมทางวัฒนธรรม ตามขนบธรรมเนียมประเพณีกับวัด เช่น วันสาคัญทางศาสนา, วันสงกรานต์, วันลอยกระทง เป็นต้น นาไปสู่การสนับสนุน ส่งเสริม ให้คงรักษาขนบธรรมเนียม ประเพณีอันดีงามไว้ ส่วนการแสดง พิธีกรรม ประเพณี อาหาร ศิลปะพื้นบ้านท่ีเป็นเอกลักษณ์เฉพาะ ภายในหมบู่ า้ นไม่มี หมู่ที่ 8 บ้านโพธิท์ อง - ทุนทางสังคมภายใน สมาชิกในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชน มีความ สามัคคี สามารถนาไปสู่พัฒนาด้านการรวมกลุ่ม จัดต้ังองค์กรเพื่อร่วมกันพัฒนาชุมชน ก่อให้เกิดการ สร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ อีกท้ังมีกองทุนต่าง ๆ กลุ่มออมทรัพย์ ท่ีสามารถให้การสนับสนุน สง่ เสริมนาไปสพู่ ฒั นาดา้ นแหล่งทนุ ในชมุ ชน การจัดการทนุ ในชุมชน เปน็ ต้น - ทุนทางสังคมภายนอก มีหน่วยงานภาครัฐเข้ามาให้การสนับสนุน ส่งเสริม ชว่ ยเหลอื ดา้ นต่าง ๆ นาไปสู่การพฒั นาชมุ ชน และยกระดบั คณุ ภาพชีวิตของคนในชุมชน

19 - ทุนทางวัฒนธรรม ภายในชุมชนมีวัด ชื่อ วัดโพธิ์ทอง จะมีการไปเข้าร่วมกิจกรรม ทางวัฒนธรรม ตามขนบธรรมเนียมประเพณีกับวัด เช่น วันสาคัญทางศาสนา, วันสงกรานต์, วันลอย กระทง เป็นต้น นาไปสู่การสนับสนุน ส่งเสริม ให้คงรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามไว้ ส่วน การแสดง พธิ ีกรรม ประเพณี อาหาร ศลิ ปะพืน้ บา้ นทีเ่ ปน็ เอกลกั ษณ์เฉพาะภายในหมบู่ า้ นไม่มี หม่ทู ี่ 9 บ้านวังศรีทอง - ทุนทางสังคมภายใน สมาชิกในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชน มีความ สามัคคี สามารถนาไปสู่พัฒนาด้านการรวมกลุ่ม จัดต้ังองค์กรเพื่อร่วมกันพัฒนาชุมชน ก่อให้เกิดการ สร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ อีกทั้งมีกองทุนต่าง ๆ กลุ่มออมทรัพย์ ที่สามารถให้การสนับสนุน สง่ เสริมนาไปสู่พฒั นาดา้ นแหล่งทนุ ในชุมชน การจัดการทุนในชุมชน เป็นต้น - ทุนทางสังคมภายนอก มีหน่วยงานภาครัฐเข้ามาให้การสนับสนุน ส่งเสริม ช่วยเหลือด้านตา่ ง ๆ นาไปสกู่ ารพฒั นาชมุ ชน และยกระดับคุณภาพชวี ิตของคนในชุมชน - ทุนทางวัฒนธรรม ภายในชุมชนมีวัด ช่ือ วัดชุมทองสามัคคีธรรม จะมีการไป เข้าร่วมกิจกรรมทางวัฒนธรรม ตามขนบธรรมเนียมประเพณีกับวัด เช่น วันสาคัญทางศาสนา, วันสงกรานต์, วันลอยกระทง เป็นต้น นาไปสู่การสนับสนุน ส่งเสริม ให้คงรักษาขนบธรรมเนียม ประเพณีอันดีงามไว้ ส่วนการแสดง พิธีกรรม ประเพณี อาหาร ศิลปะพ้ืนบ้านที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะ ภายในหมบู่ ้านไมม่ ี หมู่ท่ี 11 บา้ นวงั ไพร - ทุนทางสังคมภายใน สมาชิกในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชน มีความ สามัคคี สามารถนาไปสู่พัฒนาด้านการรวมกลุ่ม จัดต้ังองค์กรเพ่ือร่วมกันพัฒนาชุมชน ก่อให้เกิดการ สร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ อีกทั้งมีกองทุนต่าง ๆ กลุ่มออมทรัพย์ ท่ีสามารถให้การสนับสนุน สง่ เสริมนาไปสพู่ ฒั นาด้านแหลง่ ทุนในชุมชน การจดั การทุนในชุมชน เป็นต้น - ทุนทางสังคมภายนอก มีหน่วยงานภาครัฐเข้ามาให้การสนับสนุน ส่งเสริม ช่วยเหลือด้านตา่ ง ๆ นาไปสู่การพฒั นาชุมชน และยกระดับคณุ ภาพชวี ติ ของคนในชมุ ชน - ทุนทางวัฒนธรรม ภายในชุมชนไม่มีวัด แต่จะมีการไปเข้าร่วมกิจกรรมทาง วัฒนธรรม ตามขนบธรรมเนียมประเพณีกับวัดของหมู่บ้านข้างเคียง เช่น วันสาคัญทางศาสนา, วันสงกรานต์, วันลอยกระทง เป็นต้น นาไปสู่การสนับสนุน ส่งเสริม ให้คงรักษาขนบธรรมเนียม ประเพณีอันดีงามไว้ ส่วนการแสดง พิธีกรรม ประเพณี อาหาร ศิลปะพื้นบ้านที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะ ภายในหมบู่ ้านไมม่ ี หม่ทู ่ี 12 บ้านเขาน้อยพฒั นา - ทุนทางสังคมภายใน สมาชิกในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชน มีความ สามัคคี สามารถนาไปสู่พัฒนาด้านการรวมกลุ่ม จัดต้ังองค์กรเพ่ือร่วมกันพัฒนาชุมชน ก่อให้เกิดการ สร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ อีกท้ังมีกองทุนต่าง ๆ กลุ่มออมทรัพย์ ท่ีสามารถให้การสนับสนุน ส่งเสริมนาไปส่พู ฒั นาดา้ นแหลง่ ทุนในชมุ ชน การจัดการทุนในชมุ ชน เป็นตน้ - ทุนทางสังคมภายนอก มีหน่วยงานภาครัฐเข้ามาให้การสนับสนุน ส่งเสริม ชว่ ยเหลือด้านต่าง ๆ นาไปสู่การพฒั นาชมุ ชน และยกระดบั คณุ ภาพชีวิตของคนในชุมชน

20 - ทุนทางวัฒนธรรม ภายในชุมชนมีวัด ช่ือ สานักสงฆ์เขาน้อยพัฒนา จะมีการไปเข้า ร่วมกิจกรรมทางวัฒนธรรม ตามขนบธรรมเนียมประเพณีกับวัด เช่น วันสาคัญทางศาสนา, วัน สงกรานต์, วันลอยกระทง เป็นต้น นาไปสู่การสนับสนุน ส่งเสริม ให้คงรักษาขนบธรรมเนียมประเพณี อันดีงามไว้ ส่วนการแสดง พิธีกรรม ประเพณี อาหาร ศิลปะพ้ืนบ้าน ชุมชนมีเป็นเอกลักษณ์เฉพาะ ภายในหมู่บ้าน ด้านภูมิปัญญาด้านสมุนไพร หมอยา และวิชาคาถาอาคม สามารถนาไปสู่การพัฒนา ดา้ นการส่งเสรมิ ให้ผ่านมาตรฐาน อย. หรอื มาตรฐานผลิตภณั ฑ์ชุมชน (มผช.) / ยกระดับภมู ิปญั ญา หมทู่ ่ี 13 บา้ นวังเจริญ - ทุนทางสังคมภายใน สมาชิกในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชน มีความ สามัคคี สามารถนาไปสู่พัฒนาด้านการรวมกลุ่ม จัดต้ังองค์กรเพื่อร่วมกันพัฒนาชุมชน ก่อให้เกิดการ สร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ อีกทั้งมีกองทุนต่าง ๆ กลุ่มออมทรัพย์ ที่สามารถให้การสนับสนุน สง่ เสรมิ นาไปสู่พฒั นาด้านแหลง่ ทนุ ในชุมชน การจดั การทุนในชมุ ชน เปน็ ต้น - ทุนทางสังคมภายนอก มีหน่วยงานภาครัฐเข้ามาให้การสนับสนุน ส่งเสริม ช่วยเหลอื ดา้ นต่าง ๆ นาไปสกู่ ารพัฒนาชมุ ชน และยกระดับคณุ ภาพชวี ิตของคนในชมุ ชน - ทุนทางวัฒนธรรม ภายในชุมชนมีวัด ชื่อ วัดวังเจริญ จะมีการไปเข้าร่วมกิจกรรม ทางวัฒนธรรม ตามขนบธรรมเนียมประเพณีกับวัด เช่น วันสาคัญทางศาสนา, วันสงกรานต์, วันลอย กระทง เป็นต้น นาไปสู่การสนับสนุน ส่งเสริม ให้คงรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามไว้ ส่วน การแสดง พธิ กี รรม ประเพณี อาหาร ศลิ ปะพ้นื บ้านทีเ่ ป็นเอกลักษณเ์ ฉพาะภายในหมบู่ า้ นไม่มี หมูท่ ่ี 14 บา้ นซับเกษมพฒั นา - ทุนทางสังคมภายใน สมาชิกในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชน มีความ สามัคคี สามารถนาไปสู่พัฒนาด้านการรวมกลุ่ม จัดตั้งองค์กรเพ่ือร่วมกันพัฒนาชุมชน ก่อให้เกิดการ สร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ อีกทั้งมีกองทุนต่าง ๆ กลุ่มออมทรัพย์ ท่ีสามารถให้การสนับสนุน สง่ เสริมนาไปสูพ่ ัฒนาด้านแหลง่ ทุนในชมุ ชน การจัดการทุนในชุมชน เป็นตน้ - ทุนทางสังคมภายนอก มีหน่วยงานภาครัฐเข้ามาให้การสนับสนุน ส่งเสริม ชว่ ยเหลอื ดา้ นต่าง ๆ นาไปส่กู ารพัฒนาชุมชน และยกระดับคุณภาพชีวติ ของคนในชุมชน - ทุนทางวัฒนธรรม ภายในชุมชนมีวัด ช่ือ วัดซับเกษมพัฒนา จะมีการไปเข้าร่วม กิจกรรมทางวัฒนธรรม ตามขนบธรรมเนียมประเพณีกับวัด เช่น วันสาคัญทางศาสนา, วันสงกรานต์, วันลอยกระทง เป็นต้น นาไปสู่การสนับสนุน ส่งเสริม ให้คงรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามไว้ สว่ นการแสดง พิธกี รรม ประเพณี อาหาร ศลิ ปะพื้นบ้านทเี่ ปน็ เอกลกั ษณ์เฉพาะภายในหมบู่ า้ นไม่มี 3.1.4 ทนุ ทางเศรษฐกิจและการค้าขาย หมทู่ ี่ 1 บ้านวังใหม่ - มีแหล่งเศรษฐกิจและการค้าขาย ได้แก่ มีสหกรณ์ฟาร์มโคนมวังน้าเย็น เป็นศูนย์ อาหารชุมชน แหล่งผลิตอาหารผงจากผลิตภัณฑ์นมท่ีใหญ่ที่สุดในประเทศไทยทารายได้เป็นอันดับ ต้น ๆ และสหกรณ์ผเู้ ลีย้ งโคนม ในตาบลวังใหม่รวมไปถึงพนื้ ทอ่ี ่ืน ๆ อีกด้วย หมูท่ ี่ 4 บา้ นวงั นา้ ฝน - มีแหล่งเศรษฐกิจและการค้าขาย ได้แก่ ร้ายขายส่ง จานวน 5 แห่ง ได้แก่ ร้านอ้น พาณิชย์, ร้านศรีนวล, ร้านนุกูลพาณิชย์, ร้านสุชาติ, และร้ายไชยพาณิชย์ มีป๊ัม จานวน 2 แห่ง ได้แก่

21 ปั๊มน้ามันไผ่ศรีทอง และปั๊มแก๊ส LPG มีลานตากมันสาปะหลัง จานวน 1 แห่ง มีโกดังเก็บข้าวโพด (ไซโล) จานวน 1 แห่ง มีโรงสี จานวน 1 แห่ง ได้แก่ โรงสีเจ๊ออน มีโรงแรม จานวน 1 แห่ง ได้แก่ โรงแรมพักเพลิน มีร้านขายเหล็ก จานวน 1 แห่ง ชื่อ ร้านเหล็กเจ๊นก มีร้านขายวัสดุก่อสร้าง จานวน 1 แห่ง ได้แก่ ร้านขายวัสดุสิงโตคู่ มีร้านคาราโอเกะ จานวน 1 แห่ง ช่ือ ร้านเดอะเบสท์ มีร้านยาง จานวน 3 แห่ง ได้แก่ ร้านมีดีการยาง, ร้านยาวการยาง และร้านวังน้าฝนการยาง มีเต็นท์รถยนต์ จานวน 3 แห่ง ได้แก่ ร้านสุพจน์, ร้านช่างศักด์ิ, และร้านวังน้าฝนการยาง มีร้านซ่อมรถ จานวน 1 แห่ง ได้แก่ ร้านปัญญาซ่อมจักรยานยนต์ มีร้านคาร์แคร์ จานวน 1 แห่ง ได้แก่ ร้านมาร์คคาร์แคร์ มีร้านไดนาโม จานวน 1 แห่ง ได้แก่ ร้านอ๊อดไดนาโม มีร้านขายของเก่า (ไม่ทราบช่ือ) จานวน 1 แห่ง มีร้านซ่อม/ติดต้ังแอร์ จานวน 1 แห่ง ได้แก่ ร้านนิคมแอร์ มีร้านมินิมาร์ท จานวน 1 แห่ง ได้แก่ ร้านไทรทองมินิมาร์ท มีร้านตรวจสภาพรถ จานวน 1 แห่ง ได้แก่ ตรอ.ตรวจสภาพรถ มีโรงงาน ขนาดใหญ่ จานวน 5 แหง่ ไดแ้ ก่ บจ.ฟรอนท์ วลี อินดัสทรี, บจ.ปิโตรรัฐ, บจ.แอสแพค อินเตอร์เทรด บจ.ดาวจันท์, และบจ.ไจเอก อนิ ดสั ทรี เป็นแหลง่ ทางเศรษฐกิจและการค้าขายของชมุ ชน หม่ทู ่ี 5 บา้ นทงุ่ กบนิ ทร์ - มีแหล่งเศรษฐกิจและการค้าขาย ได้แก่ ตลาดส่ีแยกทงุ่ กบินทร์ สามารถนาไปสู่การ พัฒนาดา้ นการบริหารจัดการ และการจาหน่ายสินค้า นอกจากนี้ยังมี อ่างเก็บน้าพระสะทึง มแี พยนต์ จากการต่อยอดโครงการชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี จานวน 1 แพ สามารถนาไปสู่การพัฒนา ด้านการทอ่ งเทย่ี วเชงิ ธรรมชาติล่องแพรับประทานอาหาร 3.1.5 ทนุ ทางทรัพยากรธรรมชาติ หมทู่ ่ี 4 บา้ นวังน้าฝน - มีแหล่งทรัพยากรธรรมชาติ ได้แก่ มีลักษณะดินทั่วไป เป็นดินดารวน (ดินดี) มีคลอง จานวน 3 เส้น ได้แก่คลองวังใหม่ คลองตาสาท และคลองชลประทานวังน้าฝน เป็นแหล่ง ธรรมชาติทางน้าท่ีไหลผ่านหมู่บ้าน มีฝาย จานวน 1 ฝาย มีภูเขาวังน้าฝน จาวน 1 ลูก ถือเป็นป่า ชุมชน พร้อมท้ังเป็นจุดชมวิวและภายในประกอบไปด้วยถ้าจานวนมาก และสัตว์ป่าหลากหลายพันธ์ุ นานาชนิด ได้แก่ ลิง ไก่ป่า เม่น กระแต กระรอก ค้างคาว กระต่าย ตัวนิ่ม เต่า เสือปลา พังพอน หมาป่า นกบ้ังรอก นกกางเขนดง นกอีแซวนกเขาเปล้า สามารถพัฒนาเป็นแหล่งท่องเท่ียว และ พฒั นาเปน็ แหล่งเศรษฐกิจของชุมชนได้ หมทู่ ่ี 5 บ้านทงุ่ กบนิ ทร์ - มีแหล่งทรพั ยากรธรรมชาติ ได้แก่ อา่ งเก็บน้าคลองพระสะทงึ และคลองพระสะทึง สามารถพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยว และพัฒนาเป็นแหล่งเศรษฐกิจของชุมชนได้ เกิดการสร้างงาน สรา้ งอาชพี และสรา้ งรายได้ให้เกิดขนึ้ ในชมุ ชนและครัวเรอื น 3.1.6 ดา้ นจดั การสิง่ แวดลอ้ ม หมทู่ ี่ 1 - 14 ทกุ หมบู่ า้ นมีการจดั การขยะ การคัดแยกขยะ และไดร้ ับองค์ความรู้จาก องค์การบริหารส่วนตาบลทุ่งมหาเจริญ ทั้งนี้มี กลุ่ม อสม. ร่วมมือกันในการให้ความรู้ การจัดการ ส่ิงแวดล้อมให้ถูกสุขลักษณะอีกด้วย เพื่อให้ชุมชนสามารถจัดการส่ิงแวดล้อมด้วยตนเองนาไปสู่การ

22 พัฒนาด้านส่ิงแวดล้อมให้มีประสิทธิภาพ และเป็นการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในชุมชนบริเวณหน้าบ้าน ให้นา่ อยู่ นา่ มอง มีความสวยงาม สะอาด เรยี บร้อย 3.1.7 ด้านองคค์ วามรู้ หมทู่ ่ี 4 บา้ นวังนา้ ฝน - มีแหล่งองค์ความรู้ภูมิปัญญาพ้ืนบ้าน ได้แก่ ด้านเกษตร ด้านดิน ด้านโคนม ด้านดนตรีพื้นบ้าน ด้านหมอพื้นบ้าน ด้านอาหาร ด้านจักสาน-หัตถกรรมพื้นบ้าน และด้านพิธีกรรม ทางจิตวิญญาณ สามารถนาไปสู่การรวบรวมเปน็ หนงั สือ ตารา เผยแพร่ และถ่ายทอดไปยังผ้อู น่ื ได้ หมู่ที่ 12 บา้ นเขานอ้ ยพฒั นา - มีแหล่งองค์ความรู้ภูมิปัญญาพ้ืนบ้าน ได้แก่ ด้านสมุนไพร ด้านยา ด้านคาถา ปรงุ ยา หมูท่ ี่ 13 บ้านวงั เจริญ - มีแหล่งองค์ความรู้ภูมิปัญญาพื้นบ้าน ได้แก่ ด้านการทาบายศรี พิธีกรรมทางจิต วิญญาณ 3.1.8 ดา้ นวตั ถดุ ิบ หมู่ที่ 1 บา้ นวังใหม่ - มีแหล่งวัตถุดิบ ได้แก่ มีการเลี้ยงโคนม ฟาร์มโคนม แหล่งผลิตผลิตภัณฑ์จากนม การเพาะปลกู พืช สามารถนาไปส่กู ารแปรรูป สง่ ออก และพัฒนาผลผลิตใหม้ ีประสทิ ธภิ าพเพมิ่ ข้ึน หม่ทู ี่ 4 บา้ นวงั นา้ ฝน - แหล่งวัตถุดิบ ได้แก่ อ้อย, ลาไย, ข้าวโพด, มะม่วง, มันลาปะหลัง มะขามหวาน, ปา่ เศรษฐกิจ (ไม้มคี า่ ), อินทผาลัม, ไผต่ งหวาน, ไผก่ มิ ซงุ , สมนุ ไพร และฟาร์มโคนม หม่ทู ี่ 5 บ้านทุง่ กบนิ ทร์ - แหลง่ วัตถุดบิ ไดแ้ ก่ ฟารม์ แพะ, ฟารม์ โคนม และลาไย หมทู่ ่ี 12 บา้ นเขาน้อยพัฒนา - แหลง่ วตั ถุดิบ ได้แก่ สวนสมุนไพร, ฟาร์มโคนม และลาไย หมูท่ ่ี 13 บ้านวงั เจรญิ - แหล่งวัตถดุ บิ ได้แก่ สวนสมนุ ไพร, ฟารม์ โคนม และลาไย 3.1.9 ด้านผลติ ภัณฑ์ชมุ ชน หมู่ที่ 3 บา้ นวงั สาลี - มผี ลติ ภัณฑ์ชุมชน ไดแ้ ก่ ผลิตภณั ฑล์ าไยอบแหง้ หมู่ที่ 9 บ้านวังศรที อง - มีผลิตภณั ฑช์ มุ ชน ได้แก่ ผลิตภณั ฑ์เยบ็ ผ้าวน (ผา้ เชด็ พน้ื )

23 ภาพที่ 2 แผนท่ีศกั ยภาพแตล่ ะชุมชนในพ้นื ที่ตาบลวงั ใหม่ หมู่ท่ี 1 - 14

24 3.3 ปญั หาและความตอ้ งการในพื้นท่ีตาบลวงั ใหม่ อาเภอวังสมบรู ณ์ จงั หวัดสระแกว้ 1. ดา้ นทรัพยากรมนุษย์ จากการสัมภาษณ์กับผู้ใหญ่บ้านทุกหมู่บ้านในภาพรวมของพื้นท่ีตาบลวังใหม่ โดยส่วนใหญ่สมาชิกในชุมชนจะมีการรวมกลุ่มค่อนข้างยากในด้านท่ีไม่ถนัด นอกจากเป็นการกลุ่ม ทาด้านการเกษตรกรรมด้วยกันเพราะมีความเข้าใจในอาชีพที่เหมือนกัน แต่หากเป็นการรวมสมาชิก ในด้านอ่ืน ๆ จะรวมตัวยาก หากจะให้รวมกันทาอาชีพเสริมอ่ืน ๆ ต้องมีการวางระบบการจัดตั้งกลุ่ม ใหเ้ ปน็ ระยะยาวมีช่องทางของตลาดที่แน่นอนสามารถขับเคลื่อนไปขา้ งหนา้ ได้ 2. ด้านภาคีเครอื ข่ายในพื้นที่ สาหรับด้านภาคีเครือข่ายท่ีเข้ามาในพื้นท่ีตาบลวังใหม่ ยังขาดความต่อเน่ือง กับชุมชน ส่วนใหญ่หากปิดโครงการหรืองบประมาณก็จะเงียบหายไป กลุ่มหรือครัวเรือนในชุมชน ไม่สามารถเลี้ยงตัวเองในระยะยาว เนื่องจากการสนับสนุน ส่งเสริมอย่างเน่ือง เช่น การตลาด แหล่งจัดจาหน่าย เป็นต้น และขาดแหล่งทุนสารองในการหมุนเวียนของต้นทุน อีกท้ังชุมชนต้องการ ให้หน่วยงานท่ีเข้ามาในชุมชนแก้ไขปัญหาให้ตรงจุด เช่น ด้านเกษตรกรลาไย มีปัญหาและผลกระทบ ค่อยข้างมากในกลุ่มอาชีพน้ี ไม่ว่าจะเป็นปัญหาล้ง ปัญหาราคาตกต่า ปัญหาน้าแล้ง ปัญหาแรงงาน ปัญหาแหล่งทุน ปัญหาใบรับรอง GAP เป็นต้น ด้านชลประทาน ด้านคมนาคม ด้านคุณภาพชีวิต สวัสดิการต่าง ๆ ซึ่งตาบลวังใหม่ค่อนข้างได้รับโอกาสน้อยจากหน่วยงานด้วยท่ีพ้ืนท่ีห่างไกล และมี การจดั สรรงบประมาณลงมาในพน้ื ท่ีน้อยสาหรับหมู่บ้านที่ติดกับเขตรอยต่ออนุรักษ์พนั ธ์ุสตั ว์ป่า 3. ด้านทนุ ทางสงั คมและทุนทางวฒั นธรรม ด้านทุนทางสังคมภายในชุมชนพื้นท่ีตาบลวังใหม่ มีความสามัคคีกันภายในหมู่บ้าน มีการช่วยเหลือจิตอาสาไม่ว่าจะเป็นงานบวช งานวัด งานญาติมิตรเพื่อนบ้าน งานบุญ งานประเพณี ต่าง ๆ มีการไปรว่ มงานและเข้ามาร่วมลงมือลงแรงกนั เป็นประจา มีการเกอ้ื กูลกันในพ้นื ท่ี มีการพึ่งพา อาศัยกันอยู่กันแบบพ่ีน้องบ้านใกล้เรือนเคียงหรือหมู่บ้านอ่ืน ๆ มีการไปมาหาสู่กันแบบเครือญาติ มิตรสหายคนรู้จัก ส่วนใหญ่ในชุมชนจะเป็นวัยผู้สูงอายุ วัยเด็ก วัยรุ่น สาหรับวัยทางานจะอยู่นอก พื้นที่ ตา่ งจังหวดั ต้องไปทางานเล้ยี งชีพ ดา้ นทนุ ทางสังคมภายนอกพน้ื ทตี่ าบลวังใหม่ บางหมู่บ้านไดร้ บั โอกาสมากในการเข้า มาให้การสนับสนุน ส่งเสริมด้านต่าง ๆ จากหน่วยงานภาครัฐ บางหมู่บ้านได้รับโอกาสน้อย เน่ืองด้วย พ้นื ที่ การคมนาคมทีไ่ ม่สะดวก จึงทาให้เป็นข้อจากัดดว้ ย ด้านทุนทางวัฒนธรรมพื้นท่ีตาบลวงั ใหม่ ไม่มีวัฒนธรรมท่ีเด่นชดั เป็นเอกลักษณ์ของ พ้ืนท่ีในตาบล เป็นเพียงวัฒนธรรมประเพณีทั่วไป หรือไม่ก็ภูมิปัญญาพื้นบ้านท้องถ่ินในชุมชนเท่านั้น ไมม่ ีงานเทศกาลหรอื ประเพณปี ระจาปรี ะดับตาบล

25 4. ดา้ นทนุ ทางเศรษฐกิจและการคา้ ขาย ด้านทุนทางเศรษฐกิจและการค้าขายในพ้ืนที่ตาบลวังใหม่บางหมู่บ้านมีความเจริญ ทางด้านเศรษฐกจิ และการค้าขาย เนือ่ งดว้ ยอยู่ในเขตพื้นท่ีสีม่วงเขตอุตสาหกรรม และอยู่ใกล้กับถนน ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 317 การสัญจรคมนาคมสะดวก และสามารถประกอบอาชีพค้าขาย ประกอบกิจการต่าง ๆ ริมถนนได้ง่าย อีกท้ังในพ้ืนที่บางหมู่บ้านห่างไกล ไม่มีตลาดนัดในชุมชนต้อง เดนิ ทางไปยงั หมู่บ้านอ่นื ๆ หรอื ในตัวอาเภอวงั นา้ เยน็ หรือตลาดวังสมบรู ณ์ 5. ดา้ นทุนทางทรัพยากรธรรมชาติ ทุกชุมชนในพ้ืนท่ีตาบลวังใหม่ ส่วนใหญ่มีปัญหาด้านน้า การขาดแคลนแหล่งกัก เก็บน้าและวิกฤตภัยแล้ง ระบบบริหารจัดการน้าและชลประทาน การบริหารจัดการคูคลอง ลาน้า ลาคลอง ขาดการขุดลอกหรือกาจัดวัชพืชทาให้ตื้นเขิน และขาดการบริหารจัดการที่ดี ขาดแหล่งน้า เพ่ือการเกษตร จาเป็นต้องขอความร่วมมือจากหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องทั้งภาครัฐและเอกชน เข้ามาแก้ปัญหา ในการส่งเสริมการขุดเจาะน้าบาดาล ธนาคารน้าใต้ดิน หรืออ่ืน ๆ เช่น หมู่ท่ี 1 บ้านวังใหม่, หมู่ที่ 3 บ้านวังสาลี, หมู่ที่ 4 บ้านวังน้าฝน และหมู่ที่ 6 บ้านคลองหวาย ต้องการอ่าง เก็บน้า ระบบชลประทาน แม้ว่าจะมีอ่างเก็บน้าพระสะทึง แต่ช่วงฤดูแล้งน้าก็ไม่เพียงพอต่อการใช้นา้ และบางหมู่บ้านมีปัญหาเร่ืองช้างในพ้ืนที่ ต้องการให้มีการปรับปรุงคูก้ันช้างใหม่ เน่ืองจากปัจจุบัน บางจดุ ก็ทรดุ โทรมบางจดุ กย็ งั ไม่มี 6. ด้านจัดการสงิ่ แวดลอ้ ม ในบางพ้ืนท่ีของตาบลวังใหม่ มีได้รับผลกระทบจากเร่ืองฝนุ่ และหมอกควัน จากการ เผาออ้ ย เผาตอกซังข้าว ถือวา่ ยงั คงเปน็ ปัญหาทกุ ๆ ปี ควรมกี ารสง่ เสริม รณรงค์และกระตุน้ จติ สานึก ผา่ นสอ่ื ตา่ ง ๆ ในพืน้ ท่ี 7. ด้านวัตถุดบิ ในพื้นท่ีตาบลวังใหม่ มีวัตถุดิบเยอะ ไม่ว่าจะเป็นสมุนไพร ลาไย มะม่วง อ้อย ผัก เป็นต้น แต่ขาดการส่งเสริม เพ่ิมมูลค่าทางผลผลิตทางเกษตร การแปรรูป และการนาวัสดุนากลับ มาใช้ใหม่ รวมไปถึงแหล่งตลาดส่งออกรายใหม่ ๆ ส่วนใหญ่จะเป็นรายประจาทาให้ถูกกดราคาบ้าง หรอื ไมส่ ามารถเปรียบเทยี บราคาได้ 8. ดา้ นผลติ ภัณฑ์ชุมชน ด้านผลิตภัณฑ์ชุมชนในพื้นท่ีตาบลวังใหม่บางหมู่บ้าน เช่น หมู่ที่ 2 บ้านวังศรีทอง, หมู่ที่ 3 บ้านวังสาลี, หมู่ท่ี 7 บ้านไพรจิตร, และหมู่ที่ 13 บ้านวังเจริญ ไม่มีผลิตภัณฑ์ชุมชนทโี่ ดดเด่น ชัดเจน หรือเป็นเอกลักษณ์ของแต่ละหมู่บ้าน ส่วนหมู่บ้านอื่น ๆ ยังขาดองค์ความรู้ในการพัฒนา

26 ตอ่ ยอดผลิตภัณฑ์ หรือการรับรองมาตรฐานของผลติ ภัณฑ์ ขาดการส่งเสริมพัฒนาศักยภาพกลมุ่ อาชีพ ต่าง ๆ แหล่งศึกษาดูงาน การออกแบบผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ ตราสินค้า และแหล่งจัดจาหน่าย และ ส่วนใหญ่สินค้าไม่มีความหลากหลาย ซ้า ๆ เดิม ๆ ไม่มีความแปลกใหม่ มีความจาเป็นต้องได้รับ การพัฒนา องค์ความรู้ ควรมุ่งเน้นและส่งเสริมให้ชุมชนมีผลิตภัณฑ์สร้างรายได้ที่แน่นอนต่อเนื่อง นอกจากน้ีหลายชุมชนมีภูมิปัญญาและฝีมือในการจดั ทาผลิตภัณฑ์ แต่ขาดองค์ความรู้ช่องทางการจดั จาหน่าย และการตลาด และยกระดับผลิตภัณฑข์ องชมุ ชนใหเ้ ปน็ ทีย่ อมรับ สว่ นกลุ่มเกษตรกรปลูกลาไยในพน้ื ท่ีตาบลวังใหม่ มปี ญั หาการแปรรูป คุณภาพลาไย ต้องการส่งเสริมพัฒนาต่อยอด เนื่องจากลาไยบางส่วนไม่ได้คุณภาพตกเกรดต้องคัดทิ้ง ไม่มีการนามา แปรรูปหรือต่อยอดเป็นอย่างอ่ืนทาให้ขาดโอกาสในการสร้างรายได้จากส่วนน้ี เกษตรกรหลายรายมี ความต้องการให้มีการสนับสนุนเคร่ืองอบเมล็ดลาไยจากพลังานแสงอาทิตย์ เพ่ือเพิ่มมูลค่าผลผลิตอีก ชอ่ งทางหน่งึ ได้ดว้ ย และในหมู่ท่ี 9 บ้านวังชุมทอง มีการทาผลิตภัณฑ์ผ้าวน แต่วัสดุการทาต้องไปหาซ้ือ จากท่อี ื่น ทาให้มตี น้ ทุนท่คี อ่ นข้างสูง ตอ้ งการลดต้นทนุ หรือแหลง่ ทุนท่ีไมส่ ูงมากสามารถพอทจี่ ะนามา เป็นกาไรได้ 9. ดา้ นองคค์ วามรู้ หมู่ที่ 12 บ้านเขาน้อยพัฒนา มีองค์ความรู้ด้านสมุนไพร แต่ขาดเครือข่ายและ การส่งเสริมให้ยกระดับพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพร เช่น โรงอบ การรับรองมาตรฐาน การออกแบบ บรรจุภัณฑ์ หรือการได้รับรองจากกระทรวงสาธารณสุข ทั้งนี้พื้นที่นี้ยังเป็นแหล่งจัดส่งวัตถุดิบไปยัง รพ.เจ้าพระยาอภัยภูเบศร ซ่ึงหมอสมุนไพรพื้นบ้านได้รับเชิญเป็นวิทยากรหลายแห่ง แต่ผลิตภัณฑ์ยัง ไม่สามารถติดฉลากจากการรบั รอง อย. ได้ จงึ ทาใหข้ าดโอกาสในการต่อยอดด้านต่าง ๆ

27 3.4 ประเด็นการพฒั นาเชิงพื้นท่ีตาบลวงั ใหม่ อาเภอวังสมบูรณ์ จังหวัดสระแกว้ 1. การจดั การนา้ ปัญหาภัยแล้งเป็นภัยธรรมชาติท่ีนาความเสียหายทางเศรษฐกิจ การขาดแคลนน้า เพ่ือการผลิตผลทางการเกษตรท่ีต้องพ่ึงพาแหล่งน้าจากธรรมชาติ พ้ืนท่ีตาบลวังใหม่เป็นที่ส่งออก สินค้าเกษตร ภัยแล้งจึงมีผลกระทบโดยตรงต่อการลดลงของผลผลิตทางด้านการเกษตร และมี ผลกระทบทางอ้อม ได้แก่ ผลผลิตที่ไม่ได้ตามมาตรฐานและเป้าหมาย ปัญหาภัยแล้งจึงจัดเป็นปัญหา สาคัญของพนื้ ที่ตาบลวังใหมเ่ กือบทุกหมู่บ้าน ผู้นาชุมชนทุกหมู่บ้าน พยายามหาทางแก้ไขปัญหาดังกล่าว และมีความต้องการ นักวิชาการมาช่วยแก้ไขปัญหา และให้ผู้เก่ียวข้องในภาครัฐลงมาช่วยเช่ือมต่อสร้างเครือข่ายและ สนับสนุนให้แก้ปัญหาดังกล่าวผ่านไปได้ในทุก ๆ องค์ความรู้ในการแก้ไขปัญหาภัยแล้ง ไม่ว่าเป็นการ ทาฝายชะลอน้า หรือ ธนาคารน้าใต้ดิน ในพื้นที่ปัญหาหลัก เช่น หมู่ที่ 1 บ้านวังใหม่ หรือ หมู่ท่ี 7 บา้ นไพรจิตร ใหเ้ ป็นพน้ื ท่นี ารอ่ ง เปน็ ตน้ 2. การส่งเสรมิ เกษตรอนิ ทรียแ์ ละสมนุ ไพร การส่งเสริมเกษตรอินทรีย์และสมุนไพร สามารถส่งเสริมได้ในพ้ืนที่ หมู่ที่ 5 บ้าน ทุ่งกบินทร์ และหมู่ท่ี 11 บ้านวังไพร มีการปลูกผักปลอดสารพิษ และเพาะเห็ด โดยส่งเสริมให้มีการ สร้างเครือข่าย พัฒนาผลิตภัณฑ์ แหล่งจัดจาหน่าย และผลักดันให้ผลผลิตส่งออกไปสู่ตลาดไท ในขณะที่ หมู่ที่ 12 บ้านเขาน้อยพัฒนา มีองค์ความรู้เรื่องสมุนไพรมากว่า 40 ปี และได้การยอมรับ ในระดับจังหวัด มีความสามารถแปรรูปสมุนไพรและเป็นหมอยาพื้นบ้านประจาหมู่บ้านอีกด้วย สามารถนาไปสกู่ ารพฒั นาสรา้ งเครือขา่ ย สง่ เสริมการปลกู และพฒั นาศกั ยภาพกลุ่มให้มีความเข้มแข็ง อีกทั้งยังสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของจังหวัดสระแก้วในการพัฒนา จังหวัดให้เป็นเมืองสมุนไ พร เกษตรอนิ ทรยี ์ และจากการลงพ้ืนทกี่ ลุ่มปลูกลาไย มคี วามต้องการลดตน้ ทุนของปยุ๋ โดยส่วนใหญ่ลาไย จะมีเศษใบ กิ่งลาต้น ผลที่เสียท้ิง แต่ไม่ได้ใช้ประโยชน์อย่างจริงจังจึงควรมีการส่งเสริมให้มีการทาปุ๋ย อินทรยี ์ในพืน้ ที่ โดยมพี ้นื ท่ีแปลงสาธติ ต้นแบบหรอื นาร่อง ทางกลุ่มมคี วามยนิ ดจี ะเสียสละพ้นื ทีใ่ ห้เป็น แปลงสาธิตในหมู่ที่ 11 บ้านวังไพร, หมู่ที่ 4 บ้านวังน้าฝน และหมู่ที่ 6 บ้านคลองหวาย ซ่ึงมีกลุ่ม ทีส่ นใจและพร้อมเข้าร่วมถงึ 14 ครวั เรอื น จากการสารวจกลุ่มเปา้ หมาย 3. การพัฒนาสนิ คา้ ชมุ ชน เน่ืองจากพืน้ ท่ตี าบลวงั ใหม่ เปน็ พืน้ ที่ท่มี ศี ักยภาพการกระจายสนิ ค้าในเชิงภมู ิศาสตร์ แต่อย่างไรก็ตาม ในชุมชนยังเน้นการทาเกษตรกรแบบพึ่งพาพ่อค้าคนกลาง การพัฒนาสินค้าชุมชน จึงเน้นกลุ่มสตรเี ป็นสาคัญ หมู่ท่ี 5 บ้านทุ่งกบินทร์ มีการทอดมันปลา แต่ก็ยังไม่มีการต่อยอดไปอย่าง กว้างขวางเพราะการส่งเสริมยังขาดความต่อเน่ือง ส่วนในหมู่ท่ี 9 บ้านวังชมุ ทอง นาผ้าเกา่ มาทาผ้าวน แตผ่ ้าทต่ี ้องเยบ็ ไดม้ าจากการซื้อที่ตลาดอรัญประเทศทาให้เปน็ ตน้ ทนุ สูง อีกทั้งสินคา้ ด้านสมุนไพรของ หมู่ท่ี 12 บ้านเขาน้อยพัฒนา ยังไม่ได้รับการพัฒนาให้สามารถวางจาหน่ายโดยท่ัวไปได้ ควรมีการ ส่งเสริมและประสานความร่วมมือจากสานักงานสาธารณสุขอาเภอหรือจังหวัดให้เข้ามาเป็นพลังหนนุ

28 เสริมแบบเครือข่ายประชารัฐในการยกระดับมาตรฐานให้เป็นที่ยอมรับและสร้างมูลค่าเพิ่มของ ผลิตภัณฑ์ สามารถต่อยอดการพัฒนาไปยังด้านอน่ื ๆ ได้ 4. การสร้างกลุ่มอาชีพใหม่ ทกุ หมู่บ้านในพืน้ ทีข่ องตาบลวังใหม่ สว่ นใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม โดยเฉพาะ การปลูกอ้อย การปลกู ลาไย การทานา การทาสวนผลไม้ จึงควรมกี ารสง่ เสริมให้มกี ารสรา้ งอาชีพเสริม อาชีพสารอง อาชีพใหม่ ๆ ให้กับประชาชนในพ้ืนที่ เพ่ือเป็นภูมิคุ้มกันในเวลาท่ีราคาสินค้าเกษตร ตกต่าหรือเวลาเกิดวิกฤตมีปัญหาในเร่ืองต่าง ๆ ของอาชีพหลักหรือในครอบครัวยังสามารถมีอาชีพ เสริมไว้สารองเพ่ือบรรเทาหรือแบ่งเบาภาระได้ ถอื เปน็ อกี ทางเลือกหนึ่งของการประกอบอาชีพ ซึง่ ใน ยุคปัจจุบันได้เกิดภาวะวิกฤตการเปล่ียนแปลงของโลกและในประเทศอย่างรวดเร็วย่อมต้องมีอีก ทางเลือกไวส้ ารองกระเป๋าหนึ่งกระเป๋าสอง 5. การสง่ เสรมิ วสิ าหกิจชุมชน การสง่ เสรมิ วิสาหกิจชมุ ชนทม่ี ีอยูใ่ ห้เข้มแข็ง 1. กลุ่มสตรี หม่ทู ่ี 1 บา้ นวงั ใหม,่ หมทู่ ี่ 7 บ้านไพรจติ ร, หมู่ท่ี 11 บ้านวงั ไพร 2. กลุ่มแมบ่ ้านวังศรีทอง หม่ทู ี่ 2 บ้านวงั ศรที อง 3. กลมุ่ อาชพี บ้านวังสาลี หม่ทู ี่ 3 บา้ นวงั สาลี 4. กลุ่มผลิตปุ๋ยชีวภาพ หมู่ที่ 3 บ้านวังสาลี, หมู่ที่ 6 บ้านคลองหวาย, หมู่ที่ 7 บ้านไพรจิตร, หมู่ที่ 11 บา้ นวงั ไพร 5. กลุ่มแม่บ้านวังนา้ ฝน หมู่ที่ 4 บ้านวงั นา้ ฝน 6. กลุ่มสตรอี อมทรัพย์ หมทู่ ่ี 4 บา้ นวงั น้าฝน 7. กองทุนปุ๋ย หมู่ที่ 4 บา้ นวังน้าฝน 8. กองทนุ การศึกษา ป.1 – ป.6 หม่ทู ี่ 4 บา้ นวงั นา้ ฝน 9. กล่มุ ไก่พ้ืนบ้าน / กลุ่มโคขนุ หมู่ท่ี 4 บ้านวงั นา้ ฝน 10. กองทนุ แม่ของแผน่ ดิน หมูท่ ่ี 4 บ้านวังน้าฝน 11. กลุ่มเลี้ยงโคนม หมู่ท่ี 4 บ้านวังน้าฝน, หมู่ท่ี 7 บ้านไพรจิตร, หมู่ที่ 11 บา้ นวังไพร 12. กลุ่มปลกู หนอ่ ไม้ฝรงั่ หมู่ที่ 7 บ้านไพรจติ ร, หมทู่ ี่ 11 บา้ นวังไพร 13. กลมุ่ สตรีแมบ่ ้านพัฒนา หมู่ที่ 10 บา้ นพฒั นา 14. กลุ่มวิสาหกจิ ชมุ ชนชมรมสมนุ ไพร ต.วังใหม่ หมูท่ ี่ 12 บ้านเขาน้อยพัฒนา 15. กองทนุ แก้ไขปญั หาความยากจน ทง้ั หมด 14 หมูบ่ ้าน 16. กล่มุ สจั จะออมทรพั ย์ ทง้ั หมด 14 หมบู่ า้ น 17. กองทุนหม่บู ้าน ทั้งหมด 14 หมูบ่ า้ น 18. กองทนุ ฌาปนกจิ สงเคราะห์ ท้งั 14 หม่บู ้าน 19. กลุ่มเครือข่ายอาสาสมัครพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมหมู่บ้าน (ทสม.)

29 6. การจัดการทอ่ งเที่ยวโดยชุมชน ในพ้ืนท่ีตาบลวังใหม่ มีศักยภาพในต้นทุนแหล่งธรรมชาติ สามารถพัฒนาและ ยกระดับขีดความสามารถให้เกิดการสรา้ งงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ในพ้ืนท่ีได้ โดยองค์กรปกครอง ส่วนท้องถ่ิน ร่วมกับส่วนราชการที่เก่ียวข้อง ในการร่วมมือกันบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมให้มีศักยภาพเพิ่มข้ึน โดยให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ฟื้นฟูและจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้คุ้มค่าเกิดประโยชน์แก่พื้นที่ พัฒนาเป็นแหล่งท่องเท่ียว เชิงธรรมชาติ จุดชมวิว จุดแลกเปลี่ยนสินค้า หรืออ่ืน ๆ ท่ีเกิดการตกลงร่วมกันของชุมชนและ ผู้ท่ีเกี่ยวข้อง ซึ่งพ้ืนที่สามารถพัฒนาได้ เช่น หมู่ที่ 5 บ้านทุ่งกบินทร์ มีอ่างเก็บน้าพระสะทึง เป็นต้น ลาน้าคลองพระสะทึง เป็นยุทธศาสตร์ที่สาคัญในการพัฒนาให้เกิดเป็นแหล่งท่องเท่ียวใหม่ของพื้นที่ ตาบลวังใหม่ แต่ยังขาดการประสานงานความร่วมมือแบบประชารัฐในการจัดการปัญหาพื้นท่ีให้ใช้ ประโยชน์จากอ่างเก็บน้าคลองพระสะทึงได้อย่างท่ัวถึงในข้อระเบียบกฎหมายต่าง ๆ ดังนั้นควรมีการ บริหารจัดการการใช้และแบ่งปันผลประโยชน์ร่วมกันอย่างยุติธรรม เพื่อทาให้พื้นท่ีมีศักยภาพเพิ่มข้ึน เกิดประโยชน์กบั พ้ืนท่ี 7. การจดั การสิ่งแวดลอ้ มชมุ ชน ควรสร้างความตระหนักรู้ของชุมชนในคุณค่าของทรัพยากรธรรมชาติและ ส่ิงแวดล้อมท่ีมีคุณค่าต่อวิถีชีวิต รวมทั้งกระจายอานาจการจัดการทรัพยากรให้กับองค์กรปกครอง ส่วนท้องถ่ิน และชุมชน มีส่วนร่วมกับภาครัฐในการปกป้อง อนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนา ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ โดยสนับสนุนกลไกของชุมชนและ เครือข่ายในการจัดการและปกป้องทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่เชื่อมโยงกับการผลิต เพ่ือการยังชีพของชุมชนอย่างเป็นธรรม อาทิ การใช้ประโยชน์จากความหลากหลายทางชีวภาพ ในท้องถ่ินเพ่ือความม่ันคงด้านอาหารและเป็นสมุนไพรเพ่ือรักษาโรค โดยไม่ส่งผลกระทบต่อฐาน ทรัพยากรธรรมชาติ การบริหารจัดการป่าชมุ ชนเป็นแหล่งอาหาร และนาไปสู่การพัฒนาให้เป็นแหลง่ ท่องเที่ยวในชุมชน เช่น แหล่งท่องเท่ียวเชิงสมุนไพร หมู่ท่ี 12 บ้านเขาน้อยพัฒนา, แหล่งท่องเท่ียว เชงิ เกษตร ในทกุ หมู่บ้าน (สวนลาไย, ฟาร์มโคนม) เป็นตน้ 8. การเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ ควรมีการพัฒนาฐานข้อมูลชุมชนให้เป็นระบบและปรับให้ทันสมัยอยู่เสมอ ทั้งฐานข้อมูลครัวเรือน ข้อมูลศักยภาพชุมชนในประเด็นต่าง ๆ อาทิ สถานะของกลุ่มอาชีพต่าง ๆ กิจกรรมของชุมชน ทุนทางเศรษฐกิจ ทุนทางทรัพยากรธรรมชาติ ทุนภูมิปัญญาท้องถ่ิน และปราชญ์ หรือผู้นาตามธรรมชาติในชุมชน การสืบค้นประวัติศาสตร์ท้องถ่ิน และวัฒนธรรมชุมชน เป็นต้น โดยจัดทาเป็นแผนท่ีทุนของชุมชนที่คนในชุมชนสามารถเข้าถึงได้สะดวก และนาไปใช้เป็นฐานในการ จดั การทรพั ยากรของชุมชนและกาหนดทางเลือกการพฒั นาทีส่ อดคล้องกับวถิ ชี วี ติ ควรจัดให้มีกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันในชุมชนอย่างต่อเนื่องสม่าเสมอ ร่วมคิด ร่วมทาอย่างสร้างสรรค์ ร่วมกาหนดแนวทางและกิจกรรมการพัฒนาของชุมชนท่ียึดหลักการพ่ึงพา ตนเองด้วยศักยภาพทรัพยากร ภูมิปัญญา วิถีชีวิต วัฒนธรรมและสิ่งแวดลอ้ มในท้องถิ่น โดยนาข้อมูล

30 ชมุ ชนมาวิเคราะห์ สงั เคราะหห์ าปัญหาและสาเหตุ คน้ หาทางออก นาไปทดลองปฏิบตั ิจรงิ มเี ครอื ข่าย การศึกษาดูงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มีการต่อยอดปรับใช้ประโยชน์ โดยใช้แหล่งทุนในชุมชน อาทิ ธนาคารประชาชน สหกรณ์ออมทรัพย์ และกองทุนต่าง ๆ ของหมู่บ้าน/ชุมชน เป็นต้น พัฒนาความ ต้องการของชุมชนให้เป็นแผนชุมชนไปเชื่อมโยงกับแผนพัฒนาท้องถ่ิน แผนยุทธศาสตร์จังหวัด และ แผนอ่นื ๆ ตามความเหมาะสม นอกจากนี้ ด้วยทุนทางทรัพยากรมนุษยใ์ นพ้ืนที่ตาบลวงั ใหม่มีศักยภาพสูงในบางมติ ิ ดังน้ัน ควรส่งเสริมให้กลุ่มปราชญ์ กลุ่มแกนนาและผู้มีภูมิความรู้ ถ่ายทอดความรู้และภูมิปัญญา ท้องถิ่นผ่านการเรียนรู้และการจดั การความรู้ในชุมชน โดยเชื่อมโยงความหลากหลายทางชีวภาพและ ความหลากหลายทางวัฒนธรรมกับวิถีชีวิตความเป็นอยู่จริง ควบคู่กับการค้นหาผู้นาตามธรรมชาติ รุ่นใหม่ที่เข้มแข็ง มีคุณธรรมจริยธรรม มีความเพียร และมีจิตสานึกต่อส่วนรวมให้เป็นพลังขับเคลื่อน และขยายผลกิจกรรมการเรียนรขู้ องชมุ ชนในวงกวา้ งและระยะยาว 9. การสร้างชุมชนเขม้ แข็ง การสร้างชุมชนเข้มแข็งของพ้ืนที่ตาบลวังใหม่ โดยการบูรณาการกระบวนการผลิต บนฐานศักยภาพและความเข้มแข็งของชุมชนอย่างสมดุล เน้นการผลิตเพื่อการบริโภคอย่างพอเพียง ภายในชุมชน สร้างความร่วมมือกับภาคเอกชนในการลงทุนสร้างอาชีพและรายได้ท่ีมีการจัดสรร ประโยชน์อย่างเป็นธรรมแก่ชุมชน รวมท้ังการส่งเสริมบทบาทสตรีซ่ึงเป็นกลุ่มท่ีมีในทุกชุมชนในการ ขับเคลือ่ นเศรษฐกจิ ชุมชนและนาไปสู่การแกป้ ัญหาความยากจน โดย (1) สนับสนุนให้ชุมชนมีการรวมกลุ่มรูปแบบต่าง ๆ เช่น สหกรณ์กลุ่มปุ๋ยอินทรีย์ กลุ่มแปรรูปจากลาไย ฯลฯ พัฒนาระบบเครือข่ายเพ่ือดาเนินกิจกรรมการเกษตรหรือกิจกรรมอื่น ๆ ท่ีหลากหลาย มีการแปรรูปและการผลิตบนฐานทรัพยากรในชุมชนให้เพียงพอกับการอุปโภคบริโภค ภายในชุมชน และนาส่วนเกินไปแลกเปลี่ยนระหว่างชุมชน หรือเช่ือมโยงเครือข่ายสู่ตลาดภายนอก ชมุ ชน โดยมีขอ้ ตกลงและผลประโยชน์ทยี่ อมรับร่วมกนั อย่างเปน็ ธรรม (2) รณรงค์และส่งเสริมภาคการผลิตและบริการในการเคลื่อนย้ายเคร่ืองจักรหรือ กิจกรรมบางส่วนไปสร้างอาชีพและการจ้างงานในท้องถ่ินและพื้นที่ห่างไกล เพ่ือลดการเคล่ือนย้าย แรงงานสเู่ มืองหลวงและเมืองใหญ่ ทาให้ครอบครัวอบอุ่นอยู่พร้อมหน้าทุกวัย มีการสบื สานวฒั นธรรม ประเพณีท้องถิ่นและมีแกนนา/ผู้นาชุมชนอย่างต่อเนื่อง โดยจะต้องคานึงถึงผลกระทบต่อคุณภาพ สงิ่ แวดล้อมและวถิ ีชวี ิตดง้ั เดิมของชมุ ชนควบคูไ่ ปด้วย (3) ส่งเสริมการร่วมลงทุนระหว่างเครือข่ายองค์กรชุมชนกับองค์กรปกครองส่วน ท้องถ่ินหรือภาครัฐหรือรฐั วิสาหกิจบนหลักของความโปร่งใส ใช้ฐานทรัพยากรในพื้นที่ อาทิ การสร้าง โรงงาน ไบโอดีเซล เกษตรอินทรีย์ หัตถกรรม บริการสุขภาพและสปา ท่องเท่ียวเชิงนิเวศและ โฮมสเตย์ เป็นต้น และเชื่อมโยงการค้าการลงทุนระหว่างเศรษฐกิจชุมชนกับวิสาหกิจขนาดกลางและ หรือวสิ าหกิจขนาดใหญ่ สร้างเครอื ข่ายความรว่ มมือเชงิ ธุรกิจตลอดทั้งห่วงโซ่การผลติ โดยทบทวนกฎ ระเบยี บ และกฎหมายให้เออื้ ตอ่ การร่วมทุน และการใหม้ รี ะบบการบริหารจัดการทีด่ ี (4) สนับสนุนการนาภูมิปัญญาไทยและวัฒนธรรมท้องถ่ินมาใช้ในการสร้างสรรค์ คุณคา่ ของสนิ คา้ และบริการทม่ี ีโอกาสทางการตลาดสูง เชน่ อาหารสุขภาพ หตั ถกรรม บริการสขุ ภาพ

31 บริการการท่องเท่ียว เป็นต้น โดยรักษาคุณค่าเอกลักษณ์ของท้องถิ่นอย่างเข้มแข็งเม่ือนาภูมิปัญญา และวัฒนธรรมท้องถิ่นไปต่อยอดขยายผลในเชิงพาณิชย์ ซ่ึงศักยภาพของพื้นท่ีตาบลวังใหม่ มีองค์ความรู้ดา้ นสมุนไพรเป็นจดุ แขง็ ที่สาคญั (5) พัฒนาระบบการบ่มเพาะวิสาหกิจชุมชน ควบคู่กับการสร้างผู้ประกอบการใหม่ ด้วยการพัฒนาความรู้ด้านการจัดการ การตลาด องค์ความรู้เกี่ยวกับการผลิตสินค้าท่ีมีเอกลักษณ์ เฉพาะถิ่น พัฒนามาตรฐานสินค้า การสร้างตราสินค้า การจัดการเรื่องทรัพย์สินทางปัญญา และ การพัฒนาทักษะในการประกอบอาชีพของกลุ่มต่าง ๆ รวมท้ังคนพิการที่สอดคล้องกับความ หลากหลายของอาชีพในชมุ ชน เพือ่ ลดความเส่ยี งทางเศรษฐกิจ สรุป จากข้อสังเกตจะเห็นได้ว่าจุดแข็งของตาบลวังใหม่ โดยรวมนั้น ผู้นาชุมชน ผู้นากลุ่ม ต่าง ๆ ในชุมชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีบทบาทสาคัญอย่างย่ิงต่อการพัฒนา ซ่ึงชุมชน ทุกแห่งล้วนมีศักยภาพ มีความสามารถ มีความเข้มแข็งท่ีพร้อมจะรับการส่งเสริมอาชีพสอดคล้องกับ ความต้องการและนโยบายรัฐท่ีใหก้ ารสนับสนุน ในแง่ของภูมิศาสตร์พ้ืนที่เป็นพื้นท่ีที่สามารถเชื่อมโยงทั้งในแง่เศรษฐกิจและ การทอ่ งเทย่ี วได้เปน็ อย่างดี นอกจากนชี้ ุมชนทั้ง 14 หมู่บ้านพร้อมเปดิ ใจที่จะเรยี นรู้และรับองค์ความรู้ ใหม่ ๆ จากภายนอกเพื่อนามาพัฒนาชุมชนของตนเอง มากไปกว่านั้น ภูมิปัญญา ฐานรากของชุมชน ของตาบลวังใหม่ อาทิ สมุนไพร ซ่ึงชุมชนมีอัตลักษณ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นนามาพัฒนาเป็นศูนย์การ เรียนรู้ระดับตาบล พร้อมทั้งยังมีเครือข่ายกระจายอยู่ในชุมชนอ่ืน ๆ และสามารถพัฒนาในเชิง เศรษฐกิจของชุมชนได้อีกดว้ ย อย่างไรก็ตาม แม้จะมีอุปสรรคในหลาย ๆ ด้าน เช่น ราคาพืชผลทางการเกษตร ที่ไม่สามารถกาหนดได้ ปัญหาภัยแล้งยังคงเป็นอุปสรรคที่ไม่สามารถควบคุมได้จากภัยธรรมชาติ ขาดหน่วยงานกลางท่ีเป็นตัวประสานความช่วยเหลือดูแลผลประโยชน์ของเกษตรกร บางทีต้อง ยอมรบั การโดนกดราคาจากพ่อค้าคนกลางเพราะไม่มที างเลือก และในเชงิ ภูมิศาสตร์บางชุมชนมีพื้นท่ี ระยะห่างไกลกันยากต่อการบริหารจัดการพัฒนาพ้ืนท่ีในมิติต่าง ๆ แต่ถ้ามองเห็นจุดแข็งและโอกาส ในข้างต้น จะเห็นได้ว่าพื้นที่ตาบลวังใหม่ มีทรัพยากรท่ีสามารถพัฒนาไปสู่ความม่ันคง ม่ังคั่ง ยั่งยืน และสบื ทอด ได้อย่างมปี ระสิทธิภาพอย่างแน่นอน

32 ส่วนที่ 4 รปู แบบการพัฒนาชมุ ชนนวตั กรรม จากข้อมูลสรุปประเด็นการพัฒนาท้ัง 9 ประเด็น บางประเด็นสามารถดาเนินการได้แบบ เร่งด่วน บางประเด็นมหาวิทยาลัยไม่สามารถดาเนินการได้ สามารถนาเสนอต่อให้หน่วยงานภาครัฐ ในภาคีเครือข่าย พิจารณาดาเนินตามกรอบของหน่วยงานเท่าน้ันในส่วนท่ีมหาวิทยาลัยดาเนินต่อได้ จัดทาในรปู แบบการพฒั นาชุมชนนวัตกรรมทม่ี ีท้ังหมด 8 ประเด็น ดังน้ี 1. สรา้ งผนู้ าการเปล่ียนแปลง 2. พฒั นาจิตอาสา เพ่ิมการมสี ว่ นร่วมพัฒนา 3. ครัวเรอื นพอเพียง 4. สืบสานวัฒนธรรมชมุ ชน 5. สขุ ภาพดี สวัสดกิ ารท่ัวถึง 6. เกษตรปลอดภยั 7. วสิ าหกจิ ชุมชนเขม้ แขง็ 8. ส่งิ แวดล้อมดี ชุมชนสวยงาม การพัฒนาชุมชนตาบลวังใหม่ สามารถดาเนินการตามรูปแบบการพัฒนาชุมชนนวัตกรรม โดยมุ่งเน้นการใช้วิสาหกิจชุมชนเข้มแข็ง นาการพัฒนาและขยายผลพัฒนาต่อในประเด็นอ่ืน ๆ ดงั ภาพที่ 3 และภาพท่ี 4 ดงั น้ี ภาพที่ 3 รปู แบบการพฒั นาชุมชนนวัตกรรมตาบลวังใหม่

33 ภาพท่ี 4 รปู แบบกิจกรรมการพัฒนาชุมชนนวัตกรรมวิสาหกิจชุมชนเขม้ แขง็ ตาบลวงั ใหม่ จากภาพท่ี 4 สรุปได้ว่าการดาเนินงานโครงการยกระดับคุณภาพชีวิตชุมชนและท้องถ่ิน สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยสามารถดาเนินการได้ท้ังหมด 9 ประเด็นตามรายละเอียด ในภาพ เพ่ือมุ่งเน้นการสร้างผู้นาในการพัฒนาที่เรียกว่า “นวัตกรชุมชน” สร้างการเปลี่ยนแปลงผ่าน กิจกรรมสร้างการเรียนรจู้ ิตอาสาเพื่อถ่ายทอดประสบการณ์จากผู้สร้างการเปลี่ยนแปลงชุมชนจากร่นุ สู่รุ่นเพื่อส่งเสริมคนรุ่นใหม่มีส่วนร่วมพัฒนาชุมชน ส่งเสริมการพัฒนาชุมชนนวัตกรรมวิสาหกิจชุมชน เขม้ แข็งตาบลวังใหมใ่ น 3 มติ ิ ดงั ภาพท่ี 4 ดังนี้ 1. มิติการพัฒนาเศรษฐกิจ ได้แก่ กิจกรรมสร้างเครือข่ายและส่งเสริมการปลูกพืชสมุนไพร, กิจกรรมยกระดับเพ่ิมมูลค่าผลิตภัณฑ์ และแปรรูปให้เกิดรายได้ในครัวเรือนเพิ่มข้ึน กิจกรรมสร้าง เศรษฐกิจชีวภาพโดยชุมชนท้องถ่ิน สร้างโอกาส สร้างรายได้ และกิจกรรมส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน ใหม้ ีความเขม้ แข็ง และเพ่มิ ขดี ความสามารถในการแข่งขนั เพ่อื ยกระดับเศรษฐกิจฐานราก ทาให้พ้ืนที่ ตาบลวังใหม่ เป็นพ้ืนที่ท่ีมีเครือข่ายเพาะปลูกพืชสมุนไพรเพิ่มมากขึ้น เกิดการสร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ภายในพื้นท่ีสามารถเป็นที่ยอมรับของตลาดและผู้บริโภคได้อย่างมีประสิทธิภาพเกิดความ เช่ือมน่ั ในผลิตภัณฑ์ของแหล่งที่มาสินค้า 2. มิติการพัฒนาสังคม ได้แก่ กิจกรรมชุมชนพ่ึงพาตนเอง โดยการสร้างกระบวนการมีส่วน ร่วมของประชาชนในชุมชนสู่การพัฒนาอย่างย่ังยืน เพ่ือทาให้ประชาชนในชุมชนมีการตื่นตัว และ ตระหนกั ถึงปัญหา ได้มคี วามรู้ความเข้าใจทจี่ ะเปน็ พลงั ขับเคลือ่ นชมุ ชนให้เกดิ ความเขม้ แข็ง

34 3. มิติการพัฒนาสิ่งแวดล้อม กิจกรรมลดต้นทุน ลดสารเคมี เพื่อชีวิตท่ียืนยง โดยการ สมนุ ไพรท่ีปลกู ในท้องถิ่นมาผลติ เปน็ ยากาจดั ศตั รูและโรคพืชไดเ้ ปน็ การนาสิง่ ของท่ีมีอยู่ในชุมชนมาใช้ ให้เกิดประโยชน์อย่างคุ้มค่า ทาให้ผู้บริโภคผัก ผลไม้ หรือพืชต่าง ๆ ได้รับความปลอดภัยและมี สุขภาพท่ีดีมากขึ้นไม่ต้องพ่ึงพาแพทย์หรือโรงพยาบาล และลดการสะสมสารพิษในร่างกายจาก สารเคมี ทาให้สิ่งแวดล้อมดไี ปด้วยเพราะคนมแี ตส่ ขุ ภาพดแี ข็งแรง