45 9. ดา้ นผลิตภณั ฑช์ ุมชน - ไมม่ ี - หมู่ที่ 26 บ้านครี เี ขตพัฒนา 1. ด้านทรพั ยากรมนษุ ย์ - ไม่มี - 2. ด้านภาคีเครือขา่ ยในพืนท่ี มีหน่วยงานท่ีเข้ามาให้การสนับสนุน ส่งเสริม ช่วยเหลือด้านต่าง ๆ ดังนี โรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตาบลคลองตะเคยี นชยั 3. ทุนทางสงั คมและทนุ ทางวัฒนธรรม - ทุนทางสังคมภายใน สมาชิกในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชน มีความสามัคคี สามารถนาไปสู่พัฒนาด้านการรวมกลุ่ม จัดตังองค์กรเพ่ือร่วมกันพัฒนาชุมชน ก่อให้เกิดการสร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ อีกทังมีกองทุนต่าง ๆ กลุ่มออมทรัพย์ ที่สามารถให้การสนับสนุน ส่งเสริม นาไปสพู่ ัฒนาด้านแหล่งทนุ ในชุมชน การจัดการทุนในชมุ ชน เปน็ ตน้ - ทุนทางสังคมภายนอก มีหน่วยงานภาครัฐเข้ามาให้การสนับสนุน ส่งเสริม ช่วยเหลือ ด้านตา่ ง ๆ นาไปสกู่ ารพฒั นาชุมชน และยกระดับคณุ ภาพชีวติ ของคนในชุมชน - ทุนทางวัฒนธรรม ภายในชุมชนมีวัด ชื่อ วัดป่าชุมชนคีรีเขตเจริญธรรม และสานักสงฆ์ คีรีเขตพัฒนา จะมีการไปเข้าร่วมกิจกรรมทางวัฒนธรรม ตามขนบธรรมเนียมประเพณีกับวัดของ หมู่บ้านข้างเคียง เช่น วันสาคัญทางศาสนา, วันสงกรานต์, วันลอยกระทง เป็นต้น นาไปสู่การ สนับสนุน ส่งเสริม ให้คงรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามไว้ ส่วนการแสดง พิธีกรรม ประเพณี อาหาร ศิลปะพนื บ้านที่เป็นเอกลกั ษณเ์ ฉพาะภายในหมู่บา้ นไมม่ ี 4. ทุนทางเศรษฐกจิ และการค้าขาย - ไมม่ ี - 5. ทนุ ทางทรัพยากรธรรมชาติ มีแหล่งทรัพยากรธรรมชาติ ได้แก่ เขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่าเขาอ่างฤๅไน และนาตก เขาตะกรุบ สามารถนาไปสู่การพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติ และศึกษาเรียนรู้ ค้นคว้า สร้างความสมดุลของระบบนิเวศให้กับพืนที่ และช่วยให้ชุมชนสามารถมีนาอุปโภคบริโภค การทาเกษตรกรรมตลอดปี อีกทงั ยงั สามารถสรา้ งอาชีพ สร้างงาน สร้างรายได้กบั ชุมชนได้อกี ด้วย 6. ดา้ นจดั การสง่ิ แวดล้อม ชุมชนมีการจัดการขยะ การคัดแยกขยะ และได้รับองค์ความรู้จากองค์การบริหารส่วน ตาบลทุ่งมหาเจริญ ทังนีมี กลุ่ม อสม. ร่วมมือกันในการให้ความรู้ การจัดการส่ิงแวดล้อมให้ถูก สุขลักษณะอีกด้วย เพ่ือให้ชุมชนสามารถจัดการส่ิงแวดล้อมด้วยตนเองนาไปสู่การพัฒนาด้าน ส่ิงแวดล้อมให้มีประสิทธิภาพ และเป็นการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในชุมชนบริเวณหน้าบ้านให้น่าอยู่ นา่ มอง มคี วามสวยงาม สะอาด เรยี บรอ้ ย 7. ด้านองคค์ วามรู้ - ไม่มี -
46 8. ดา้ นวัตถดุ บิ มีแหล่งวัตถุดิบ ได้แก่ สวนเกษตรผสมผสาน, ทุเรียน, เงาะ และผัก สามารถนาไปสู่การ พัฒนาด้านการแปรรูปอาหาร การเพิ่มประสิทธิภาพของผลผลิต และการส่งออกสินค้าของชุมชน พร้อมทงั ยกระดับสินคา้ ใหม้ ีคณุ ภาพมาตรฐานเปน็ ทีย่ อมรบั และให้ได้ราคาผลผลิตที่สงู ขนึ 9. ดา้ นผลติ ภัณฑช์ มุ ชน - ไมม่ ี - หม่ทู ่ี 27 บา้ นพรนมิ ติ ร 1. ด้านทรพั ยากรมนษุ ย์ - ไม่มี - 2. ดา้ นภาคีเครอื ขา่ ยในพนื ที่ มีหน่วยงานที่เข้ามาให้การสนับสนุน ส่งเสริม ช่วยเหลือด้านต่าง ๆ ดังนี โรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตาบลคลองจระเข้, สานักงานเกษตรอาเภอวังนาเย็น, สานักงานประมงอาเภอ วังนาเย็น, สานักงานปศุสัตว์อาเภอวังนาเย็น, สานักงานสาธารณสุขอาเภอวังนาเย็น, องค์การบริหาร ส่วนตาบลทุ่งมหาเจริญ, กศน.อาเภอวังนาเย็น, สถานีตารวจภูธรวังนาเย็น, ธนาคารออมสิน สาขา วังนาเยน็ , ธ.ก.ส. สาขาวงั นาเย็น 3. ทนุ ทางสังคมและทุนทางวฒั นธรรม - ทุนทางสังคมภายใน สมาชิกในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชน มีความสามัคคี สามารถนาไปสู่พัฒนาด้านการรวมกลุ่ม จัดตังองค์กรเพื่อร่วมกันพัฒนาชมุ ชน ก่อให้เกิดการสร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ อีกทังมีกองทุนต่าง ๆ กลุ่มออมทรัพย์ ท่ีสามารถให้การสนับสนุน ส่งเสริม นาไปส่พู ฒั นาด้านแหลง่ ทุนในชุมชน การจดั การทนุ ในชมุ ชน เป็นต้น - ทุนทางสังคมภายนอก มีหน่วยงานภาครัฐเข้ามาให้การสนับสนุน ส่งเสริม ช่วยเหลือ ด้านต่าง ๆ นาไปสกู่ ารพฒั นาชุมชน และยกระดับคณุ ภาพชวี ติ ของคนในชุมชน - ทุนทางวัฒนธรรม ภายในชุมชนไม่มีวัด แต่จะมีการไปเข้าร่วมกิจกรรมทางวัฒนธรรม ตามขนบธรรมเนียมประเพณีกับวัดของหมู่บ้านข้างเคียง เช่น วันสาคัญทางศาสนา, วันสงกรานต์, วันลอยกระทง เป็นต้น นาไปสู่การสนับสนุน ส่งเสริม ให้คงรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามไว้ สว่ นการแสดง พธิ ีกรรม ประเพณี ศิลปะพนื บ้านที่เปน็ เอกลักษณ์เฉพาะภายในหมู่บา้ นไมม่ ี 4. ทุนทางเศรษฐกิจและการค้าขาย - ไม่มี - 5. ทุนทางทรัพยากรธรรมชาติ - ไมม่ ี -
47 6. ด้านจดั การสิง่ แวดลอ้ ม ชุมชนมีการจัดการขยะ การคัดแยกขยะ และได้รับองค์ความรู้จากองค์การบริหารส่วน ตาบลทุ่งมหาเจริญ ทังนีมี กลุ่ม อสม. ร่วมมือกันในการให้ความรู้ การจัดการสิ่งแวดล้อมให้ถูก สุขลักษณะอีกด้วย เพื่อให้ชุมชนสามารถจัดการสิ่งแวดล้อมด้วยตนเองนาไปสู่การพัฒนาด้าน ส่ิงแวดล้อมให้มีประสิทธิภาพ และเป็นการอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อมในชุมชนบริเวณหน้าบ้านให้น่าอยู่ นา่ มอง มคี วามสวยงาม สะอาด เรยี บร้อย 7. ดา้ นองคค์ วามรู้ - ไม่มี - 8. ดา้ นวัตถุดบิ มีแหล่งวัตถุดิบ ได้แก่ ลาไย, อ้อย, ข้าวโพด และมันสาปะหลัง สามารถนาไปสู่การพัฒนา ด้านการแปรรูปอาหาร การเพิ่มประสิทธิภาพของผลผลิต และการส่งออกสินค้าของชุมชน พร้อมทัง ยกระดับสนิ คา้ ใหม้ คี ณุ ภาพมาตรฐานเปน็ ท่ียอมรับและให้ได้ราคาผลผลติ ท่ีสูงขึน 9. ดา้ นผลิตภณั ฑช์ ุมชน - ไม่มี - หม่ทู ี่ 28 บา้ นสระหลวง 1. ด้านทรพั ยากรมนุษย์ - ไม่มี - 2. ดา้ นภาคเี ครอื ขา่ ยในพืนที่ มีหน่วยงานที่เข้ามาให้การสนับสนุน ส่งเสริม ช่วยเหลือด้านต่าง ๆ ดังนี โรงพยาบาล สง่ เสรมิ สขุ ภาพตาบลคลองจระเข้ 3. ทนุ ทางสงั คมและทุนทางวัฒนธรรม - ทุนทางสังคมภายใน สมาชิกในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชน มีความสามัคคี สามารถนาไปสู่พัฒนาด้านการรวมกลุ่ม จัดตังองค์กรเพ่ือร่วมกันพัฒนาชุมชน ก่อให้เกิดการสร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ อีกทังมีกองทุนต่าง ๆ กลุ่มออมทรัพย์ ที่สามารถให้การสนับสนุน ส่งเสริม นาไปสู่พัฒนาด้านแหลง่ ทนุ ในชุมชน การจดั การทุนในชุมชน เป็นตน้ - ทุนทางสังคมภายนอก มีหน่วยงานภาครัฐเข้ามาให้การสนับสนุน ส่งเสริม ช่วยเหลือ ด้านตา่ ง ๆ นาไปสกู่ ารพัฒนาชุมชน และยกระดับคุณภาพชีวติ ของคนในชุมชน - ทุนทางวัฒนธรรม ภายในชุมชนมีวัด ช่ือ สานักสงฆ์สระหลวง จะมีการไปเข้าร่วม กิจกรรมทางวัฒนธรรม ตามขนบธรรมเนียมประเพณีกับวัด เช่น วันสาคัญทางศาสนา, วันสงกรานต์, วันลอยกระทง เป็นต้น นาไปสู่การสนับสนุน ส่งเสริม ให้คงรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามไว้ ส่วนการแสดง พิธีกรรม ประเพณี ศลิ ปะพนื บ้านทเ่ี ป็นเอกลักษณ์เฉพาะภายในหมูบ่ ้านไม่มี 4. ทนุ ทางเศรษฐกจิ และการคา้ ขาย - ไมม่ ี -
48 5. ทนุ ทางทรพั ยากรธรรมชาติ มีแหล่งทรัพยากรธรรมชาติ ได้แก่ เขตรักษาพันธ์ุสัตวป์ ่าเขาอ่างฤๅไน สามารถนาไปสู่การ พัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติ และศึกษาเรียนรู้ ค้นคว้า สร้างความสมดุลของระบบนิเวศ ให้กบั พนื ที่ และช่วยใหช้ มุ ชนสามารถมีนาอุปโภคบริโภค การทาเกษตรกรรมตลอดปี อีกทงั ยังสามารถ สรา้ งอาชพี สร้างงาน สรา้ งรายได้กับชุมชนได้อีกด้วย 6. ด้านจดั การส่งิ แวดลอ้ ม ชุมชนมีการจัดการขยะ การคัดแยกขยะ และได้รับองค์ความรู้จากองค์การบริหารส่วน ตาบลทุ่งมหาเจริญ ทังนีมี กลุ่ม อสม. ร่วมมือกันในการให้ความรู้ การจัดการสิ่งแวดล้อมให้ถูก สุขลักษณะอีกด้วย เพ่ือให้ชุมชนสามารถจัดการสิ่งแวดล้อมด้วยตนเองนาไปสู่การพัฒนาด้าน ส่ิงแวดล้อมให้มีประสิทธิภาพ และเป็นการอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อมในชุมชนบริเวณหน้าบ้านให้น่าอยู่ นา่ มอง มีความสวยงาม สะอาด เรียบร้อย 7. ดา้ นองค์ความรู้ - ไม่มี - 8. ด้านวัตถดุ บิ มแี หลง่ วตั ถดุ บิ ไดแ้ ก่ สมนุ ไพร, ออ้ ย, ผัก, ยางพารา และลาไย สามารถนาไปสู่การพัฒนา ด้านการแปรรูปอาหาร การเพิ่มประสิทธิภาพของผลผลิต และการส่งออกสินค้าของชุมชน พร้อมทัง ยกระดับสนิ ค้าให้มีคณุ ภาพมาตรฐานเป็นทยี่ อมรับและให้ไดร้ าคาผลผลติ ที่สงู ขึน 9. ดา้ นผลติ ภัณฑ์ชมุ ชน - ไมม่ ี -
49 3.2 การวิเคราะห์ SWOT พนื ทขี่ องตาบลท่งุ มหาเจรญิ อาเภอวังนาเยน็ จังหวดั สระแกว้ 1. ต้นทุนของตาบลทงุ่ มหาเจริญ 1.1 ทนุ ทางสังคม ภูมปิ ัญญา และวฒั นธรรม - ความถนัดในการประกอบอาชีพเกษตรกร เช่น การปลูกลาไย, อ้อย, ข้าวโพด, มนั สาปะหลงั , ผกั , ผลไม้ และ สมุนไพร - ความถนดั ในการเลียงสตั วเ์ ศรษฐกจิ เชน่ การเลียงโคนม, โคเนือ, ไก่ และปลา - อุตสาหกรรมในครวั เรือน เช่น สวนสมนุ ไพร, ไม้กวาด, นาผลไม้ และจักสาน - ประเพณแี ละวัฒนธรรม เช่น ทาบญุ กลางบา้ น, วนั สงกรานต์, ตกั บาตรเทโว 1.2 ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละทุนทางเศรษฐกจิ - พืนทบ่ี รเิ วณรอยตอ่ เขตอนรุ ักษพ์ นั ธุ์สัตวป์ ่า 5 จงั หวดั - อ่างเก็บนา - ธารนาไหลแก่งสะเดา - นาตกเขาตะกรบุ และลานปีนเชา - สวนพฤกษศาสตร์ 100 ปี วงั นาเยน็ - ตลาดทุ่งมหาเจริญ - ความอดุ มสมบรู ณข์ องดิน ทไี่ ม่ดอ้ ยไปกวา่ ทางจงั หวดั ระยอง และจงั หวดั จนั ทบรุ ี 2. ปญั หาในพืนทีต่ าบลทุ่งมหาเจรญิ 2.1. ปัญหาดา้ นกลมุ่ อาชพี - ปัญหาการขาดองค์ความรู้ใหม่ ๆ ที่ทันสมัยสอดคล้องกับวิถีดังเดิม เพ่ือสาหรับการ ต่อยอดจากวิทยากรผู้เช่ียวชาญแขวงต่าง ๆ ในการอบรมเพ่ือส่งเสริมอาชีพหลักและอาชีพเสริม การแปรรูปจากผลติ ภณั ฑท์ างการเกษตร - การรวมกลมุ่ อาชพี น้อย - ไมม่ ีแหล่งทุน และตลาดรองรบั ในการจดั หน่ายสนิ ค้า - สนิ คา้ ทผ่ี ลิตไม่แตกต่างจากตาบลอน่ื ๆ 2.2. ปญั หาดา้ นการเกษตร - ราคาพชื ผลทางการเกษตรตกตา่ - ขาดแคลนแหลง่ นาเพอื่ การเกษตร - ปญั หาโรคระบาดในพชื - ตลาดรบั ซือมีนอ้ ย - ผลผลติ ทางการเกษตรไม่ดเี ท่าทีค่ วรทังทางปรมิ าณและคณุ ภาพ - ภมู อิ ากาศเปลี่ยนแปลง ฝนไมต่ กตามฤดกู าล ภัยแลง้ โลกร้อน
50 2.3 ปญั หาด้านแหลง่ นา - การขาดแคลนแหล่งนาในการทาการเกษตร - พืนที่ใดไม่มีอ่างเกบ็ นา หรือลาคลอง ท่ีตงั หรือไหลผา่ นจะมปี ัญหาการใชน้ า - ขาดแหล่งกักเก็บนาจากนาฝนที่สามารถบรรจุได้ยาวนาน ส่วนใหญ่การขุดจะไม่ลึก ทาให้ตนื เขินและนาระเหยแห้งหายไปรวดเร็ว 2.4 ปญั หามลภาวะ - เผาตอซงั ข้าว เผาอ้อย เผาขา้ วโพด และขยะ 2.5 ปัญหาดา้ นการทอ่ งเท่ียว - ขาดการบูรณาการการพัฒนาแหล่งท่องเท่ียวระหว่างองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น ชมุ ชน อุทยาน และกรมชลประทาน - ความคดิ สร้างสรรคใ์ นการจัดการแหลง่ ท่องเทีย่ วให้ยกระดับหรือดีขึน - ขาดการประชาสมั พนั ธ์และสอ่ื ด้านตา่ ง ๆ สาหรบั การทอ่ งเที่ยว - ป้ายบอกระยะเสน้ ทางไปยังจดุ หมายปลายทางของแหล่งท่องเทย่ี วมีน้อยมาก - ขาดการมีสว่ นร่วมของชมุ ชนทุก ๆ ฝ่าย ในการพัฒนารว่ มกนั - ติดขัดเร่ืองกฎหมาย หรือความเหน็ ไมต่ รงกัน ในการพฒั นาแหลง่ ทอ่ งเทีย่ ว 2.6 ปัญหาดา้ นอื่น ๆ - ปญั หาสังคมผู้สูงอายุ เร่ืองสุขภาพ - ปัญหาด้านการศึกษา พืนท่ีห่างไกล สถาบันการศึกษามีน้อย และวัยรุ่นไม่มีค่านิยม ศึกษาตอ่ แต่หนั ไปทางานในตลาดแรงงาน บรษิ ัท โรงงานอุตสาหกรรมแทน - ปัญหายาเสพติดจากวยั รุ่นในพนื ที่ - ปญั หาประปา ไฟฟา้ ส่องสว่าง - ปัญหาหนีสนิ - ปญั หาทีด่ นิ พนื ท่เี ปน็ สปก. - ปญั หาการจดั สรรผลประโยชนใ์ นชมุ ชน - ปญั หาสัตวป์ า่ โดยเฉพาะช้าง 3. โอกาสในการพัฒนาตาบลทุง่ มหาเจรญิ 3.1 มีผู้นาชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีความพร้อมจะให้การส่งเสริมอาชีพกับ ชุมชนตามความตอ้ งการและนโยบายรัฐที่ให้การสนับสนุน 3.2 เป็นพนื ท่ีที่สามารถเชือ่ มโยงในเชิงภมู ิศาสตร์ทงั ในแงเ่ ศรษฐกจิ และการท่องเท่ียว 3.3 ชุมชนพร้อมเรียนรู้และเปิดกว้างให้กับบุคลากรภายนอกเข้ามาให้คาแนะนาในการ พฒั นาองค์ความร้ดู ้านต่าง ๆ
51 3.4 พืนท่ีมีสวนพฤกษศาสตร์ 100 ปี วังนาเย็น สามารถเป็นแหล่งการเรียนรู้ ขยายพันธุ์ และเผยแพรข่ อ้ มูลด้านสมนุ ไพรในพืนท่ีได้ 3.5 พืนท่ีมีนาตก อ่างเก็บนา สามารถพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติที่ได้การ ยอมรบั จากนักทอ่ งเท่ียวและสร้างให้เกดิ รายได้ในพืนที่ได้ 4. อปุ สรรคในพืนที่ตาบลทงุ่ มหาเจรญิ 4.1 ราคาพชื ผลทางการเกษตรท่ไี มส่ ามารถกาหนดความแน่นอนได้ 4.2 ปญั หาภยั แลง้ โลกร้อน ยังคงเปน็ อปุ สรรคทีไ่ ม่สามารถควบคมุ ไดจ้ ากภัยธรรมชาติ 4.3 ขาดหน่วยงานกลางที่เป็นกลางช่วยเหลือดูแลผลประโยชน์ของเกษตรกร บางทีก็ต้อง ยอมรบั สัญญาจากพ่อคา้ คนกลางเพราะกลวั ขายไม่ได้ 4.4 พนื ที่ห่างไกลกนั ในการพฒั นาให้เป็นแหล่งทอ่ งเทย่ี ว
52 3.3 ปัญหาและความต้องการในพืนที่ ตาบลทุ่งมหาเจริญ อาเภอวังนาเย็น จังหวัด สระแกว้ 1. ด้านทรัพยากรมนุษย์ จากการสัมภาษณ์ข้อมูลกับผู้ใหญ่บ้านทุกหมู่บ้าน สมาชิกในชุมชนยังขาดองค์ความรู้ด้าน ต่าง ๆ เช่น ด้านการเกษตร ด้านปศุสัตว์ ด้านฝีมือแรงงาน ด้านเทคโนโลยี เป็นต้น เน่ืองจากจะใช้ ความรู้จากประสบการณ์หรือการบอกต่อ แนะนากันต่อ ๆ มา ต้องการให้มีหน่วยงานเข้ามาส่งเสริม สนับสนุนองค์ความรู้อย่างจริงจังสาหรับการรวมกลุ่มจะมีการรวมกันเป็นเฉพาะบางหมู่บ้าน และ ส่วนใหญ่ที่จัดตังเป็นองค์กรรวมกลุ่มกันค่อยข้างยาก เน่ืองจากสมาชิกในชุมชนจะมุ่งไปท่ีประกอบ อาชีพรับจ้างทั่วไป เพราะได้เงินเร็ว แน่นอน อีกทังไม่มีเวลาเข้ามารวมกลุ่มกันทาอาชีพเสริม และ สาหรับผูท้ ม่ี อี งคค์ วามร้ภู มู ิปญั ญาพืนบา้ นสว่ นใหญจ่ ะไม่มีผู้สบื ทอดต่อ 2. ด้านภาคีเครอื ขา่ ยในพนื ที่ เครือข่ายประชารัฐต่าง ๆ ที่เข้ามาสนับสนุน ส่งเสริม ภายในหมู่บ้านขาดต่อเน่ืองกับชุมชน ทาให้การสนับสนุน ส่งเสริม ขาดช่วงและส่วนใหญ่จะให้เป็นงบประมาณขาดการพัฒนาย่ังยืน ทาให้ชุมชนไม่สามารถพ่ึงพาตนเองได้ หน่วยงานภาครัฐท่ีเข้ามาในชุมชนส่วนใหญ่จะเข้ามาส่งเสริม อาชีพเสริม แต่เมื่อมีผลิตภัณฑ์แล้วไม่ได้ช่วยส่งเสริมเรื่องการตลาด ช่องทางการจัดจาหน่าย ทาให้ สมาชิกในชุมชนเกิดความท้อถอยและไม่มีเงินทุนสารองท่ีจะดาเนินการต่อ หลาย ๆ โครงการ จงึ หยุดชะงกั และชุมชนเริ่มเกิดความเบ่อื หน่าย ทาให้ชมุ ชนต้องการที่จะใหห้ นว่ ยงานต่าง ๆ ไดท้ างาน บูรณาการทางานร่วมกัน และจัดทาโครงการระยะยาว สามารถให้ชุมชนได้ดาเนินงานกิจกรรมต่าง ๆ ไดอ้ ยา่ งย่งั ยืน มีการร่วมคิดรว่ มทาด้วยกนั กบั หน่วยงานและชุมชนให้ไปในทิศทางเดียวกนั 3. ดา้ นทนุ ทางสังคมและทนุ ทางวัฒนธรรม สังคม บริบทของพืนที่แต่ละชุมชนมีลักษณะไม่เหมือนกัน มีความหลากหมายทางวัฒนธรรม ประเพณีท่ีแตกตา่ งกันไป บางชมุ ชนเป็นชุมชนเมือง บางชุมชนเป็นก่ึงเมืองก่งึ ชนบท บางชมุ ชนชนบท ห่างไกล อกี ทังขึนอยู่กับผู้นาแตล่ ะชมุ ชน การมผี ้นู าท่ีเข้มแขง็ สมาชิกในชมุ ชนรว่ มด้วยให้ความรว่ มมือ ที่มีการรวมพลังอย่างสมัครสมานสามัคคี รวมไปถึงสภาพแวดล้อม ความขัดแย้งภายในชุมชน การ เสียสละอทุ ศิ ตนของสมาชิกภายในชมุ ชน การไวเ้ นือเช่ือใจซึ่งกันและกนั ลว้ นมีความสัมพันธเ์ กี่ยวข้อง กันทีจ่ ะนาไปสู่การพฒั นาการรวมกล่มุ การจับมอื ร่วมแรงร่วมใจพัฒนาชุมชนของตน โดยส่วนใหญ่แล้วการรวมกลุ่ม หรือความสามัคคีภายในชุมชน เกิดการการจัดกิจกรรม ร่วมกนั การใช้ศลิ ปะ วัฒนธรรมประเพณี ศาสนาหรอื วัดหรือสถานที่ยึดเหนย่ี วจิตใจในการสร้างความ ร่วมมือ การสร้างความรักความผูกพันความสามัคคีกันในชมุ ชน แต่ปัจจุบันด้วยภาวะเศรษฐกิจ สังคม ส่ิงแวดล้อม และเทคโนโลยี ทาให้ทุกคนต่างดินรนต่อสู้เพื่อปากท้อง และเอาตัวรอด เพื่อตนเอง และครอบครัว การทากิจกรรมเพ่ือสังคมหรือการรวมตัวจัดตังกลุ่มต่าง ๆ ต้องการบุคคลท่ีเสียสละ ทมุ่ เทมาก ๆ ทาใหก้ ารขบั เคล่ือนกลุ่มตา่ ง ๆ ไม่คอ่ ยประสบความสาเร็จ
53 4. ด้านทุนทางเศรษฐกจิ และการค้าขาย ส่วนใหญ่หมู่บ้านในพืนท่ีตาบลทุ่งมหาเจริญ ไม่ค่อยมีการรวมกลุ่มอาชีพที่แน่นอน และ ถาวรยั่งยืน เนื่องจากพืนท่ีภายในชุมชนห่างไกลกัน และไม่มีผลิตภัณฑ์ชุมชนที่ชัดเจน ผู้นาชุมชน แต่ละหมู่บ้าน เสนอแนะแนวทางว่า เห็นควรมุ่งเน้นและส่งเสริมให้ชุมชนมีผลิตภัณฑ์ ส่งเสริมรายได้ แตต่ ้องไมซ่ าซอ้ นกนั เพือ่ ไม่ให้เกิดการแย่งตลาดและแข่งขนั กนั เอง นอกจากนหี ลายชมุ ชนมีผลิตภัณฑ์ เหมือนกันไม่สามารถขายออกได้ และเม่ือมีผลิตภัณฑ์แล้วแต่ขาดการประชาสัมพันธ์ ช่องทางการจัด จาหนา่ ย การตลาด และยกระดบั พัฒนาผลติ ภณั ฑข์ องชุมชนให้เป็นที่ยอมรับของบคุ คลทว่ั ไป 5. ด้านทุนทางทรัพยากรธรรมชาติ ทุกหมู่บ้านภายในพืนท่ีตพบลทุ่งมหาเจริญ ส่วนใหญ่มีปัญหาเรื่องการขาดแคลนแหล่ง กักเก็บนาช่วงฤดูฝน ขาดแหล่งนาเพื่อการเกษตร-อุปโภคบริโภค ขาดระบบชลประทานที่ดีท่ีมี ประสทิ ธภิ าพ และวิกฤตภัยแลง้ ตอ่ เนื่อง ฝนไม่ตามฤดกู าล ทจี่ าเป็นตอ้ งขอความรว่ มมือจากหน่วยงาน ท่ีเก่ียวข้องทังภาครัฐและเอกชนเข้ามาแก้ปัญหา อีกทังพืนที่มีอ่างเก็บนาแต่ยังไม่สามารถบรรเทา ปัญหาลงไปได้ เนือ่ งจากภายในอ่างตืนเขนิ ลาคลองสาขาต่าง ๆ ไม่ไดก้ ารจัดการดูแลอาจตนื เขินหรือ ต้นไม้ปกคลุมขวางทางนา พร้อมด้วยงบประมาณการขุดลอกมีอย่างจากัด ทังนียังมีปัญหาเร่ืองช้าง เพราะอยู่ในเขตรอยต่ออนุรักษ์พันธ์ุสัตว์ป่า 5 จังหวัด สัตว์ป่าจึงลงมาทาลายผลผลิตทางการเกษตร และทรพั ยส์ ิน อยเู่ ป็นประจา 6. ด้านจัดการสง่ิ แวดลอ้ ม พืนท่ีส่วนใหญ่ในตาบลทุ่งมหาเจริญ พบปัญหาเรื่องฝุ่นและหมอกควัน จากการเผาอ้อย เผาตอกซงั ข้าว เผาขยะ หรือมลพิษทางอากาศจากแหลง่ อืน่ ๆ มีปญั หาอยู่บ้างในบางพนื ท่ี 7. ดา้ นองคค์ วามรู้ ด้านองค์ความรู้แต่ละหมู่บ้านในพืนท่ี มีองค์ความรู้เฉพาะด้านแตกต่างกันไป แต่ยังไม่ได้ นามาพัฒนาหรือเผยแพร่แก่บุคคลอื่น ๆ ให้สามารถเป็นประโยชน์กับชุมชนได้ และก็ยังขาด การ จัดการองค์ความรู้ด้านต่าง ๆ ที่มีความจาเป็นต่อการประกอบอาชีพ หรือการดารงชีวิต ต้องที่จะให้ การเช้ามาช่วยเหลือสนับสนนุ องคค์ วามรู้ใหม้ ากขนึ 8. ด้านวัตถุดิบ หลาย ๆ หมู่บ้านในพืนที่ มีปัญหาด้านภาวะเศรษฐกิจ ราคาตกต่าของผลผลิต การส่งออก ของวัตถุดิบ ความไม่แน่นอนของสภาพภูมิอากาศ ส่งผลกระทบมายังเกษตรกรหรือผู้ประกอบการ ทาให้สะสมเป็นหนสี ิน และผลผลติ ได้รับความเสยี หาย
54 9. ด้านการท่องเทยี่ ว ด้วยบางหมูบ่ ้านมกี ารยกระดับให้เปน็ หม่บู ้านท่องเทยี่ ว เกดิ ปัญหาขึนในชุมชน เมอ่ื มีรายได้ เขา้ มาเก่ยี วขอ้ งสว่ นใหญ่จะเกดิ ปัญหา ซึง่ ในหมู่ท่ี 4 บา้ นแก่งสะเดา เป็นจุดเดน่ ดา้ นการท่องเท่ียวและ ด้านวัฒนธรรม OTOP นวัตวิถี คือ มีแหล่งนาตกแก่งสะเดาหรือธารนาไหลแก่งสะเดา แต่การขาด มีส่วนร่วมของคนในชุมชนสาหรับการจัดการปัญหาพืนที่ให้ใช้ประโยชน์ร่วมกันจากสายนาได้ อย่างท่ัวถึง ยังมีเร่ืองผลประโยชน์ทับซ้อน จึงควรมีการจัดการสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของ คนในชุมชนอาศัยภาคีเครือข่ายประชารฐั และความร่วมมือจากทุกภาคส่วนทจ่ี ะใช้ประโยชนจ์ ากพืนที่ ดังกล่าวใหเ้ ป็นแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วโดยชุมชนอย่างย่ังยนื 10. ดา้ นผลติ ภัณฑ์ชมุ ชน หลาย ๆ หมู่บ้าน มีผลิตภัณฑ์ที่จะสามารถเป็นรายได้ให้กับชุมชน แต่ก็เกิดปัญหาเร่ือง ความขัดแย้งของกลุ่มหรือผู้นากลุ่ม ผู้นาชุมชน ปัญหาการส่งออก ปัญหาการพัฒนาฝีมือ ปัญหา คุณภาพผลิตภัณฑ์ ปัญหาแหล่งทุนหมุนเวียนภายในกลุ่มหรือต้นทุนการผลิต ทาให้ส่งผลกระทบต่อ กลุ่มและผู้ท่ีทาการผลิต ต้องการที่จะให้มีการส่งเสริมและสนับสนุนจากหน่วยงานต่าง ๆ เข้ามาแก้ไข ปัญหา
55 3.4 ประเด็นการพัฒนาเชงิ พนื ท่ตี าบลทงุ่ มหาเจรญิ อาเภอวังนาเยน็ จงั หวัดสระแกว้ การกาหนดประเด็นการพัฒนา วิเคราะห์จากศักยภาพชุมชน ปัญหาและความต้องการ ของชุมชนในตาบลทงุ่ มหาเจรญิ ทัง 28 หมู่บ้าน สามารถสรปุ ประเด็นการพฒั นาได้ 8 ประเด็น ดงั นี 1. การจัดการนา ทุกพืนที่ในตาบลทุ่งมหาเจริญ เนื่องจากประสบภัยแล้งต่อเน่ืองเป็นประจา ขาดแคลนนา ในการทาการเกษตร บางพืนท่ีอยู่นอกเขตชลประทานและอยู่บนพืนที่เนิน ทาให้ไม่สามารถได้รับ ประโยชน์จากอ่างเก็บนา แนวทางการพัฒนาสามารถประสานความร่วมมือไปยังสานักทรัพยากรนา บาดาล เขต 9 (ระยอง), โครงการชลประทานสระแก้ว, องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือหน่วยงานท่ี เกี่ยวข้อง เข้ามาร่วมพัฒนาแก้ไขปัญหากับชุมชนในรูปแบบโคหนองนาโมเดล, ธนาคารนาใต้ดิน และ พลังงานนาจากแสงอาทติ ย์ 2. การสง่ เสริมเกษตรอินทรยี ์ เกษตรปลอดภยั ทุกพืนท่ีในตาบลทุ่งมหาเจริญ เป็นพืนที่ท่ีมีศักยภาพสูงด้านคุณภาพดินซึ่งยังมีความอุดม สมบูรณ์ท่ีดินไม่ด้อยไปกว่าทางจังหวัดระยองและจังหวัดจันทบุรี ทาให้คนในชุมชนส่วนใหญ่ประกอบ อาชพี เกษตรกรรม และทาสวน อีกทังหลายหม่บู ้านสว่ นใหญป่ ลูกผักสวนครวั พชื สมุนไพร โดยเฉพาะ หมู่ท่ี 4 บ้านแก่งสะเดา มีการเปล่ียนแปลงวิถีเกษตรแบบเดิมในการปลูกอ้อยหันมาปลูกผัก ปลอดสารพิษแทน และสามารถพัฒนาเป็นต้นแบบศูนย์พัฒนาต่อยอดนวัตกรรมสินค้าเกษตรและ สินคา้ เกษตรแปรรูประดบั ตาบลได้ จึงควรแกก่ ารสง่ เสริมให้เกษตรกร และชาวสวน รกั ษาคุณภาพดิน ให้ยาวนานไม่ใช้สารเคมีในพืนท่ี อีกทังในปัจจุบันด้านสุขภาพในวัยต่าง ๆ กาลังเป็นกระแสของ ความนิยม นาไปสู่การพัฒนายกระดับคุณภาพและมาตรฐานสินค้า เป็นฐานการผลิตเกษตรอินทรีย์ และเกษตรปลอดภัย เกษตรแปลงใหญ่ เชื่อมโยงสู่อุตสาหกรรมเกษตรแปรรูปท่ีสร้างมูลค่าเพิ่มสูง เพ่ิมช่องทางการจัดจาหน่ายและนาผลผลิตส่งออกสู่ตลาดไท ตลาดชายแดนเพ่ือนบ้าน และ ห้างสรรพสินค้า (แม็คโคร, โลตัส, บิ๊กซี) โดยสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์พัฒนาจังหวัดสระแก้ว ดา้ นแหล่งเกษตรปลอดภัยอีกดว้ ย 3. การพัฒนาสนิ ค้าชมุ ชน เนื่องจากในพืนที่ตาบลทุ่งมหาเจริญ เป็นพืนที่ท่ีมีศักยภาพการกระจายสินค้าด้าน การเกษตรในเชิงภูมิศาสตร์ เน่ืองจากเป็นเขตรอยต่อติดกับจังหวัดฉะเชิงเทรา สามารถเชื่อมต่อไปยัง จังหวัดจันทบุรี จังหวัดชลบุรี จังหวัดระยอง และประเทศกัมพูชาได้ แต่อย่างไรก็ตามในชุมชนยังเน้น การทาเกษตรกรแบบพึ่งพาพ่อค้าคนกลางให้มารับซือเพียงอย่างดียังไม่มีตลาดเพิ่ม ประกอบกับ ผลผลิตทางการเกษตรยังได้รับการพัฒนาต่อยอดสินค้าชุมชน จึงควรแก่การพัฒนานาไปสู่การ ยกระดับสินค้าเกษตรปลอดภัย และอุตสาหกรรมเกษตรอัจฉริยะแบบครบวงจรด้วย เทคโนโลยีและ นวัตกรรมทีไ่ ด้มาตรฐานเพื่อเพ่ิมความสามารถในการแขง่ ขันทังในประเทศและต่างประเทศ สนับสนุน ให้ขยายการค้าการลงทุนเชื่อมโยงการท่องเท่ียว เร่งขยายการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย และ ยกระดับอุตสาหกรรมแปรรูปสินค้าเกษตรหลักให้เช่ือมโยง โดยใช้เทคโนโลยี นวัตกรรมท่ีเหมาะสม
56 เพื่อสร้างมูลค่าเพ่ิมและสร้างรายได้ให้แก่เกษตรกร ใช้เครือข่ายสถานศึกษา วิจัยพัฒนาเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพของพืชเศรษฐกิจท่ีสาคัญ เพ่ิมศักยภาพปัจจัยการผลิต และเพ่ิมมูลค่าผลผลิต โดยต่อยอดถึงการแปรรปู สรา้ งมลู ค่าเพ่ิม 4. การสร้างกลุ่มอาชีพ หมู่ที่ 2 บ้านคลองจระเข้, หมู่ท่ี 15 บ้านหนองเรือ, หมู่ท่ี 21 บ้านไพรวัลย์, หมู่ที่ 25 บา้ นเนินสามคั ค,ี หมทู่ ี่ 28 บา้ นสระหลวง ควรมุ่งเนน้ ให้การสนับสนุนให้ทุกหม่บู ้านมผี ลิตภัณฑ์ชุมชน เปน็ ของตนเอง เพือ่ เปน็ การสรา้ งรายได้ และยกระดบั ผลติ ภัณฑ์ของชุมชนใหเ้ ป็นที่ยอมรับ จัดตังกลุ่ม วสิ าหกิจชมุ ชนและกลมุ่ อาชีพ 5. การส่งเสริมครัวเรอื นพอเพียง ในพืนที่ตาบลทุ่งมหาเจริญ โดยส่วนใหญ่เกษตรกรหรือคนในพืนมีวิถีการดาเนินชีวิต แบบเรียบง่าย เน้นปลูกพืชผสมผสานบริโภคในครัวเรือน และในบางพืนที่ผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย และเกษตรอินทรีย์วิถีชุมชน ซึ่งเหมาะแก่การขยายเครือข่ายและสร้างการกระตุ้นให้คนในชุมชน แต่ละหมู่บ้านพัฒนาชุมชนด้วยการพึ่งพาตนเองให้เกิดการสร้างเศรษฐกิจฐานรากด้วยการนา หลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในครัวเรือนสอดคล้องกับการประกอบอาชีพ ทาให้คุณภาพชีวิตอยู่อย่างความสุขบนวิถีพอเพียง เช่น การปลูกพืชผักสวนครัวไว้หลังบ้านหน้าบ้าน, แลกเปลี่ยนสินค้าระหว่างกันภายในชุมชนบ้านใกล้เรือนเคียงหรือสร้างระบบกลไกของชุมชนไปสู่ ธนาคารขยะแลกผกั เป็นตน้ 6. การจัดการทอ่ งเท่ียวโดยชมุ ชน ในพืนที่ตาบลทุ่งมหาเจริญ เหมาะแก่การส่งเสริมท่องเท่ียวชุมชนเป็นอย่างมากทังใน เชิงเกษตร เชิงผจญภัย เชิงธรรมชาติ เชิงอนุรักษ์ เชิงสุขภาพ เชิงนิเวศ เชิงวัฒนธรรม เป็นต้น เน่ืองด้วยสภาพพืนท่ีอยู่ติดกับภูเขา ลานา ลาคลอง และอ่างเก็บนา ทาให้มีความอุดมสมบูรณ์ ทางธรรมชาติเป็นอย่างมาก มีสวนผลไม้ มีสวนผัก มีสวนผสมผสาน มีนาตก สามารถจัดกิจกรรม ผจญภัยปีนเขา ป่ันจักรยาน เข้าสวนชิมผักผลไม้ได้ สามารถนาไปสู่การพัฒนาการท่องเที่ยวชุมชน ได้เป็นอย่างดี สอดคล้องกับนโยบายของรัฐมนตรีกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา อีกทังชุมชน ต้องการให้มีการส่งเสริมพัฒนาการท่องเที่ยวในพืนที่ให้มากขึน เช่น ป้ายประชาสัมพันธ์, ป้ายบอก เส้นทาง, เส้นทางป่ันจักรยาน, การพัฒนาลานจอดรถ, ห้องนา-สุขา, กิจกรรมจุดปีนเขา เป็นต้น เมื่อนักท่องเท่ียวมาเที่ยวนาตกสามารถเชื่อมโยงไปยังกิจกรรมในชุมชนได้ ซ่ึงในปัจจุบันรัฐบาลได้ให้ ความสาคัญการทอ่ งเท่ยี วเชื่อมโยงภาคเกษตร และการทอ่ งเทย่ี วเชิงเกษตรนิเวศ ชุมชนเกษตรอนิ ทรีย์ ประวัติศาสตร์ ฯลฯ เป็นแนวทางการพัฒนาที่จะสามารถสนับสนุนการผลิตการเกษตรและส่งเสริม การตลาดด้านการประชาสัมพันธ์แหล่งผลิตให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่จะช่วยเพ่ิมรายได้ให้กับชุมชน ลดความเหลือ่ มลาและกระจายรายได้สู่ชุมชน
57 7. การเรยี นรู้ตลอดชีวติ องค์การบรหิ ารสว่ นตาบลทุ่งมหาเจริญ มีนโยบายในการสง่ เสริมอาชีพท่ีหลากหลายให้กับ ประชาชน แต่ประชาชนส่วนใหญ่ในตาบลทุ่งมหาเจริญ ยังขาดความรู้เชิงลึกในด้านการเกษตร โดยเฉพาะการทาเกษตรกรรมให้มีคุณภาพ เนื่องจากความรู้ยังมีไม่เท่ากัน บางพืนที่ได้ผลผลิต มีประสิทธิภาพ แต่ยังหวงความรู้ ชาวสวนหรือเกษตรกรอื่น ๆ ในพืนท่ีจึงมีความประสงค์ท่ีจะขอ วิทยากรภายนอกผคู้ วามความสามารถในศาสตรน์ นั มาชว่ ยในเร่ืองดงั กลา่ ว 8. การสร้างชุมชนเข้มแขง็ ในแต่ละหมู่บ้านท่ีมีองค์ความรู้ภูมิปัญญาด้านต่าง ๆ เช่น เกษตรกรรม จักสาน ดนตรี หมอสมุนไพร หมอเป่า ถักทอ หัตถกรรม เป็นต้น ควรส่งเสริมให้มีการถ่ายทอดองค์ความรู้ด้าน ภูมปิ ัญญาระหว่างหมบู่ า้ น สรา้ งแหล่งท่องเที่ยวเชื่อมโยงระหว่างชมุ ชนตอ่ ไป
58 สว่ นที่ 4 รปู แบบการพัฒนาชุมชนนวัตกรรม จากข้อมูลสรุปประเด็นการพัฒนาทัง 8 ประเด็น บางประเด็นสามารถดาเนินการได้แบบ เร่งด่วน บางประเด็นมหาวิทยาลัยไม่สามารถดาเนินการได้ สามารถนาเสนอต่อให้หน่วยงานภาครัฐ ในภาคีเครือข่าย พิจารณาดาเนินตามกรอบของหน่วยงานเท่านันในส่วนท่ีมหาวิทยาลัยดาเนินต่อได้ จดั ทาในรูปแบบการพฒั นาชุมชนนวัตกรรมทมี่ ีทังหมด 8 ประเด็น ดังนี 1. สรา้ งผู้นาการเปลี่ยนแปลง 2. พฒั นาจิตอาสา เพิ่มการมสี ่วนรว่ มพฒั นา 3. ครัวเรอื นพอเพียง 4. สืบสานวฒั นธรรมชมุ ชน 5. สุขภาพดี สวัสดกิ ารทัว่ ถึง 6. เกษตรปลอดภยั 7. วสิ าหกิจชมุ ชนเขม้ แข็ง 8. สิ่งแวดล้อมดี ชุมชนสวยงาม การพัฒนาชุมชนตาบลทุ่งมหาเจริญ สามารถดาเนินการตามรูปแบบการพัฒนาชุมชน นวัตกรรม โดยมุ่งเน้นการใช้เกษตรปลอดภัย นาการพัฒนาและขยายผลพัฒนาต่อในประเด็นอื่น ๆ ดงั ภาพที่ 3 และภาพท่ี 4 ดังนี ภาพที่ 3 รปู แบบการพัฒนาชุมชนนวตั กรรมตาบลทงุ่ มหาเจริญ
59 ภาพท่ี 4 รูปแบบกจิ กรรมการพัฒนาชมุ ชนนวัตกรรมเกษตรปลอดภัยตาบลทุง่ มหาเจรญิ จากภาพที่ 3 สรุปได้ว่าการดาเนินงานโครงการยกระดับคุณภาพชีวิตชุมชนและท้องถ่ิน ส่ิงแวดล้อม และวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยสามารถดาเนินการได้ทังหมด 8 ประเด็นตามรายละเอียด ในภาพ เพื่อมุ่งเน้นการสร้างผู้นาในการพัฒนาที่เรียกว่า “นวัตกรชุมชน” สร้างการเปลี่ยนแปลงผ่าน กิจกรรมสร้างการเรียนรู้จิตอาสาเพ่ือถ่ายทอดประสบการณ์จากผู้สร้างการเปล่ียนแปลงชุมชน จากรุ่นสู่รุ่น เพ่ือส่งเสริมคนรุ่นใหม่มีส่วนร่วมพัฒนาชุมชน ส่งเสริมการพัฒนาชุมชนนวัตกรรม เกษตรปลอดภัยตาบลทุง่ มหาเจรญิ ใน 3 มิติ ดงั นี (ภาพท่ี 4) 1. มิติการพัฒนาเศรษฐกิจ กิจกรรมแปรรูปผลผลิตเพิ่มมูลค่าของผลผลิตทางการเกษตร ผักปลอดสารพิษ ให้ได้มาตรฐานเป็นท่ียอมรับคุณภาพ ปลอดภัย และการรับรองจากหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ การพฒั นาผลผลิต แปลงสาธิต การพฒั นาบรรจุภัณฑ์ การพฒั นาตราสินคา้ การขอ ใบรับรอง การแปรรปู ผลผลิตเพ่อื สรา้ งมลู ค่าต่อการจดั จาหนา่ ย 2. มิตกิ ารพัฒนาสงั คม ได้แก่ กิจกรรมสร้างเยาวชนเกษตรตัวอย่างใหม้ ีความรคู้ วามเข้าใจใน เรื่องเกษตรปลอดภัย สามารถส่งต่อความรู้ให้บุคคลกับครัวเรือนได้, กิจกรรมสร้างศูนย์การเรียนรู้ เกษตรปลอดภยั ภายในโรงเรยี นบา้ นแก่งสะเดา, กจิ กรรม “แกง่ สะเดาโมเดล” เกษตรปลอดภัยส่ตู ลาด อาหารเพ่ือสุขภาพ โดยเนน้ ท่นี กั เรียนโรงเรียนบา้ นแก่งสะเดา และเกษตรกร หมทู่ ี่ 4 บ้านแก่งสะเดา, หม่ทู ่ี 18 บ้านแสนสขุ , หมู่ท่ี 20 บ้านไร่เหนอื พฒั นา, หมทู่ ่ี 23 บา้ นคลองเจริญ
60 3. มิติการพฒั นาส่ิงแวดล้อม กจิ กรรมลดต้นทนุ ลดสารเคมี เพื่อชวี ติ ทย่ี นื ยง โดยการนาเอา เศษวัสดุทางการเกษตรท่ีเหลือใช้มาใช้เป็นวัสดุในการหมักปุ๋ย และสามารถใช้สมุนไพรท่ีปลูก ในทอ้ งถนิ่ มาผลติ เปน็ ยากาจัดศัตรูและโรคพชื ได้เปน็ การนาส่งิ ของที่มีอยูใ่ นชุมนมาใชใ้ ห้เกิดประโยชน์ อย่างคุ้มค่า การจัดทาระบบแลกเปล่ียนสินค้าในรูปแบบธนาคารขยะแลกผัก และส่งเสริมครัวเรือน ให้จัดทารัวผัก กินได้ โดยเน้นท่ีนักเรียนโรงเรียนบ้านแก่งสะเดา และเกษตรกร หมู่ที่ 4 บ้านแก่ง สะเดา, หมู่ที่ 18 บ้านแสนสขุ , หมูท่ ี่ 20 บา้ นไรเ่ หนอื พัฒนา, หมู่ท่ี 23 บ้านคลองเจริญ
Search