Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รวมเล่ม-เรื่องเล่า01 (version journal)

รวมเล่ม-เรื่องเล่า01 (version journal)

Published by learnoffice, 2022-09-28 08:38:19

Description: รวมเล่ม-เรื่องเล่า01

Search

Read the Text Version

SUCCESS STORY 2020 เรอื งเล่าความสําเรจ็ โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตชุมชนและท้องถิน จังหวัดปทุมธานี จังหวัดสระแก้ว JOURNAL EDITION \" ย ก ร ะ ดั บ คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า และพั ฒนาท้องถิน ในท้องทีตน\" สาํ นักส่งเสริมการเรียนรู้และบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์



Success Story เรืองเล่าความสําเร็จ โครงการยกระดับคุณภาพชีวตชุมชนและท้องถิน พิมพ์ครังที 1 : ธันวาคม 2563 บรรณาธิการอํานวยการ : ผศ.ดร.สุพจน์ ทรายแก้ว รศ.ดร.นฤมล ธนานันต์ บรรณาธิการ : ผศ.เศกพร ตันศรประภาศิร คณะผู้จัดทํา : อาจารย์ ดร.วรรัตน์ สัมพัทธ์พงศ์ ผศ.อัจจิมา มันทน อาจารย์ ดร.มัทนภรณ์ ใหม่คามิ อาจารย์ปรยาภา เมืองนก อาจารย์รวธร ฐานัสสกุล อาจารย์วษชญะ ศิลาน้อย อาจารย์วณากร ทีรัก อาจารย์ภัทรเวช ธาราเวชรักษ์ ออกแบบปก : อาจารย์ปรยาภา เมืองนก พิสูจน์อักษร : อาจารย์ ดร.วรรัตน์ สัมพัทธ์พงศ์ อาจารย์ปรยาภา เมืองนก ประสานงานผลิต : อาจารย์ปรยาภา เมืองนก จัดพิมพ์โดย : สํานักส่งเสรมการเรยนรู้และ บรการวชาการ มหาวทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ เลขที 1 หมู่ที 20 ถนนพหลโยธิน ตาํ บลคลองหนึง อําเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 13180 โทรศัพท์ : 02-909-3026 Email : [email protected]

คาํ นํา โครงการยกระดับคุณภาพชวี ติ ชุมชนและท้องถิน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุพจน์ ทรายแก้ว อธิการบดี มหาวทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระรมราชูปถัมภ์ ยกระดับคุณภาพ การมคี วามเหลอื มลาํ ทางสังคมและเศรษฐกิจ โดยเฉพาะการเข้าถึงแหลง่ ทุนโอกาสในการเรยนรู้ การรู้เรอง การศึกษาและ เทคโนโลยขี องประชาชนในทอ้ งถนิ และภูมภิ าคเปนต้นเหตุสาํ คญั ให้ประชาชนสว่ นใหญ่ของประเทศไทยติดอยู่ พัฒนาท้องถิน ในกบั ดักของวงจรการขาดความรู้ ความสามารถในการแก้ไขปญหาชีวต การมรี ายไดท้ ไี มพ่ อเพยี ง และการมี ในท้องทีตน ปญหาสขุ ภาพทีทาํ ใหค้ ณุ ภาพชวี ตของประชาชนในชมุ ชน ท้องถนิ ตา่ งๆ ด้อยลง ไมส่ อดคลอ้ งกับความจาํ เปน ขันพนื ฐานในการดําเนนิ ชวี ต ไม่สามารถดแู ลครอบครัวให้อยดู่ ีมีสุขได้อย่างทีควรจะเปนมหาวทยาลัยราชภฏั วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถมั ภ์ ได้น้อมนาํ พระบรมราโชบายของพระบาทสมเดจ็ พระวชริ เกล้าเจ้าอยูห่ ัว ทีพระราชทานแก่อธกิ ารบดมี หาวทยาลัยราชภฏั ทัวประเทศวา่ ขอให้มหาวทยาลัยราชภฏั ได้ทําหน้าทีพัฒนา ยกระดบั คณุ ภาพการศึกษาและพัฒนาท้องถินในทอ้ งทีตน ในการนี มหาวทยาลัยราชภัฏจงึ ไดร้ ่วมมือกันกําหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาทอ้ งถนิ ขนึ เพอื ขับเคลอื นงาน ตามพระบรมราโชบาย โดยมุ่งเน้นการพัฒนา แกไ้ ขปญหาดา้ นเศรษฐกจิ สงั คม สงิ แวดล้อม และคณุ ภาพ การศกึ ษา ในชมุ ชนทอ้ งถนิ ทมี หาวทยาลัยราชภัฏแต่ละแห่งรับผิดชอบ ในปงบประมาณ 2563 มหาวทยาลยั ราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถมั ภ์ จังหวดั ปทมุ ธานี ไดข้ ับเคลือนงานตามยุทธศาสตร์การพฒั นาทอ้ งถินในพนื ทจี งั หวดั ปทมุ ธานีและจงั หวดั สระแกว้ อนั เปนพืนที รับผิดชอบของมหาวทยาลัย ผา่ นโครงการยกระดับคณุ ภาพชวี ตชมุ ชนและทอ้ งถิน ระดบั ตาํ บล จาํ นวน 21 ตาํ บล โดยรูปแบบการดาํ เนินงานมงุ่ เน้นการร่วมเรยนรู้กับแกนนําของชมุ ชน/หม่บู ้าน ในการวเคราะห์ปญหา กาํ หนดร่วมมือกนั จัดกิจกรรมเพอื แก้ไขปญหายกระดบั คุณภาพชีวตของกล่มุ เปาหมาย และแก้ไขปญหาใน ภาพรวมของตาํ บลร่วมกนั รายงานเรองเล่าความสําเร็จฉบับนไี ด้ประมวลผลงานการดําเนนิ โครงการยกระดบั คุณภาพชวี ตชุมชน และท้องถิน ในปงบประมาณ 2563 ทีคณาจารยผ์ ้ซู ึงเปนผู้จดั การพืนที (Area Manager) และทมี งาน ตลอดจนอาจารยน์ กั พัฒนา ไดอ้ อกไปร่วมมอื ดําเนินการร่วมกบั ท้องถนิ ได้ร่วมมอื กนั ถอดบทเรยนสรุปผลการ ดําเนินงานเพอื ถ่ายทอดประสบการณ์สร้างการรับรู้ให้แก่คณาจารย์ นกั ศึกษารวมทงั ประชาชนทวั ไปเพือจะได้ นําไปสู่การขยายผลต่อยอดการขับเคลือนยุทธศาสตร์การพัฒนาทอ้ งถนิ ใหเ้ กดิ ประสิทธิผล ประสทิ ธภิ าพมาก ยงิ ขึน

แ น ว ท า ง ก า ร ดาํ เ นิ น ง า น ป ง บ ป ร ะ ม า ณ 2 5 6 3 VRU ENGAGEMENT VALUE CHAIN 2019-2020 จาก VRU Engagement Value Chain สามารถกาํ หนดเปนกจิ กรรมการดําเนินงานในปงบประมาณ 2563 ได้ดงั นี 1. คุณคา่ (Values) คุณภาพชีวตทีดขี นึ ได้แก่ มติ ิดา้ นเศรษฐกจิ (เพมิ รายได้ ลดรายจ่าย) มิตดิ ้านสุขภาพ (ลดรายจ่าย) มิตดิ า้ นสิงแวดลอ้ ม (ปรมาณขยะลดลง/สร้างจิตสํานึก เพมิ รายได)้ มติ ดิ า้ นสงั คม – การดาํ เนินชีวตตามศาสตร์พระราชา (การมจี ิตสํานึกทีดขี ึน มีการนาํ ไปใชเ้ ปนรูปธรรม โดยมีคณะกรรมการตดิ ตามการเพิมรายได้ ลดรายจ่าย) 2. กจิ กรรมหลกั (Primary Activities) 2.1 Inbound Logistic: เขา้ ใจ กจิ กรรมที 1 สร้างความร่วมมอื กับหนว่ ยงานราชการทเี กยี วข้อง 2.2 Operation: เขา้ ถึง กิจกรรมที 2 ศึกษาชมุ ชนและจัดทาํ ฐานขอ้ มูลตาํ บล 2.3 Outbound Logistic + Marketing and Sales + Service: พฒั นา --- กิจกรรมที 3 จัดทําแผนปฏิบัตกิ ารเพมิ รายได้ยกระดบั คณุ ภาพชีวตของคนในชมุ ชน กิจกรรมที 4 สร้างการเรยนรู้ พัฒนาอาชพี ยกระดบั ผลติ ภัณฑข์ องชุมชนวสาหกจิ ชมุ ชนทอ้ งถนิ (OTOP) Intervention กิจกรรมที 5 พฒั นาศูนย์เรยนรู้เพอื สร้างจิตสํานึกการดําเนินชวี ตตามศาสตร์พระราชา 3. Support Activities 3.1 Firm Infrastructure กิจกรรมที 6 บรหารจดั การทรัพยากรสนบั สนนุ การดําเนนิ งานตามยุทธศาสตร์ฯ 3.2 Human Resource Management กจิ กรรมที 7 การบรหารจดั การโครงการ 3.3 Technology Management กจิ กรรมที 8 การพฒั นาระบบสารสนเทศ กิจกรรมที 9 รวบรวม ประมวลผล จดั ทาํ รายงานโครงการ ค่มู อื ความรู้ สือเรยนรู้ กจิ กรรมที 10 จัดเวทนี ําเสนอบทเรยนและขอ้ เสนอเชงิ นโยบาย

แ น ว ท า ง ก า ร ดํา เ นิ น ง า น ป ง บ ป ร ะ ม า ณ 2 5 6 3 การดาํ เนิ นงาน OKR VRU ENGAGEMENT OKR VRU (5Os 18KRs) O1. นวัตกรรมชมุ ชนวสาหกิจชุมชนและ Smart SMEs เพอื ยกระดบั รายได้ให้ ้กบั ชมุ ชน ปละ 20 นวตั กรรม KR1. ระบบขอ้ มูลพนื ฐาน สภาพปญหาและประเด็นการพัฒนาในพืนทเี ปาหมาย KR2. เครอข่ายประชารัฐเพือการพัฒนาแก้ปญหาของชมุ ชนในพนื ที KR3. นวัตกรรมชุมชนเพือการพฒั นาและยกระดับเศรษฐกิจฐานรากในพืนที KR4. กจิ การเพือสังคม/นวัตกรรมสงั คมเพอื พัฒนาคณุ ภาพชีวตประชาชนในเขตพืนทีทีมกี ารจดั ตัง O2. Smart Community / ชมุ ชนนวัตกรรม มคี วามสามารถในการพึงพาพฒั นาตนเองและจดั การตนเอง เพมิ ขึน 20 ชมุ ชน KR1. เครอข่ายคณะกรรมการชมุ ชนทีผา่ นการแลกเปลียนเรยนรู้สร้างแรงบันดาลใจ KR2. แผนพัฒนาชุมชนนวัตกรรมและ Smart Community ทพี ืนท/ี ชมุ ชนกําหนดร่วมกัน KR3. ชุมชนต้นแบบทสี ามารถพฒั นาตนเองและจดั การปญหาต่างๆของตนเองได้ O3. มลู คา่ เศรษฐกจิ สร้างสรรคบ์ นฐานทนุ ทรัพยากร วฒั นธรรมในพืนทีเพิมขนึ ร้อยละ 10 ตอ่ ป KR1. OTOP ทีได้รับการพัฒนาตลอดห่วงโซค่ ุณคา่ KR2. กลุ่มวสาหกจิ ในชมุ ชนทีไดร้ ับการพัฒนาแบบบูรณาการ KR3. ผปู้ ระกอบการรายใหม่ นวัตกรชมุ ชนทไี ด้รับการบม่ เพาะและพัฒนากิจการ KR4. ตลาดจําหนา่ ยสินค้าและบรการและระบบบรหารการตลาดชุมชนอัจฉรยะ KR5. เวที ชอ่ งทาง สอื เพือการแลกเปลียนเรยนรู้ของเครอข่ายชมุ ชนนวัตกรรมทีเชอื มต่อกับภายนอก O4. ระบบขอ้ มลู เพือตดิ ตามกล่มุ เปาหมายคนจน KR1. ฐานข้อมลู สนับสนนุ การพฒั นาพืนทีและกลุ่มคนร่วมพัฒนาอาชพี KR2. โอกาสเข้าถึงสมรรถนะการใชง้ านอินเทอร์เนท็ ประชารัฐของกลมุ่ คนขนึ ทะเบยี น KR3. ชอ่ งทาง พืนทีแลกเปลยี นเรยนรู้และเข้าถงึ ความรู้เพือพฒั นา O5. คนจนไมน่ ้อยกว่า 200 คน ได้รับการบรการและความช่วยเหลือให้มีรายไดแ้ ละคุณภาพชีวตทดี ขี ึน KR1. เครอข่ายประชารัฐขจัดความเหลือมลําและยกระดบั คุณภาพชีวตในพืนที KR2. กลุม่ อาชพี /ครัวเรอนร่วมพฒั นาเศรษฐกิจพอเพียง KR3. ครัวเรอนอาสาร่วมแก้ไขปญหาเพอื ยกระดบั คณุ ภาพชีวต

พื น ที ดํา เ นิ น ก า ร จั ง ห วัด ป ทุม ธ า นี ป ง บ ป ร ะ ม า ณ 2 5 6 3 4 อาํ เภอ 10 ตําบล อําเภอลาดหลุมแก้ว - ตาํ บลคูขวาง - ตาํ บลคูบางหลวง - ตําบลบ่อเงิน - ตําบลหน้าไม้ - ตําบลระแหง อาํ เภอสามโคก - ตําบลบ้านงิว - ตําบลคลองควาย อําเภอคลองหลวง - ตําบลคลองห้า อําเภอหนองเสือ - ตาํ บลบึงชําอ้อ - ตําบลศาลาครุ 9 อําเภอ 11 ตําบล อาํ เภอเมืองสระแก้ว - ตําบลบ้านแก้ง อําเภอเขาฉกรรจ์ - ตําบลเขาฉกรรจ์ อําเภอวังนาํ เย็น - ตําบลทุ่งมหาเจรญ อําเภอวังสมบูรณ์ - ตาํ บลวังใหม่ อาํ เภอคลองหาด - ตําบลคลองไก่เถือน อาํ เภออรัญประเทศ - ตาํ บลเมืองไผ่ - ตาํ บลคลองนาํ ใส อาํ เภอโคกสูง - ตําบลโนนหมากมุ่น อาํ เภอตาพระยา - ตาํ บลทัพราช - ตําบลทัพเสด็จ อาํ เภอวัฒนานคร - ตาํ บลหนองตะเคียนบอน

รูป แ บ บ ชุม ช น น วัต ก ร ร ม ป ง บ ป ร ะม าณ 2 5 6 3

CONTENTS จั ง ห วั ด ป ทุ ม ธ า นี ผลิตภัณฑ์นําพรก วถีวัฒนธรรมชาวมอญ พลิกชีวตชุมชน ต.คูขวาง รมนาํ เจ้าพระยา ต.บ้านงิว 01 21 กาละแมโบราณสืบสาน ตลาดมาตรฐานสืบสานภูมิปญญาท้องถิน เอกลักษณ์มอญ ต.คูบางหลวง ต.คลองควาย 05 25 \"บ่อเงิน\" เกษตรพอเพียง ตลาดชุมชนวถีพอเพียง บ้านคลองห้า 09 29 ชุมชนนวัตกรรมเกษตรปลอดภัย ต.หน้าไม้ กระบวนการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน สังคม สิงแวดล้อม และสร้างผู้นาํ การเปลียนแปลง 13 ต.บึงชําอ้อ การเพิมมูลค่าสินค้าจากการแปรรู ปไข่เปดเปน ไข่เค็มดินระแหง และการสร้างอัตลักษณ์สินค้า 33 17 การพัฒนาบรรจุภัณฑ์และ ตลาดออนไลน์ ต.ศาลาครุุ 37

CONTENTS จั ง ห วั ด ส ร ะ แ ก้ ว วสาหกิจชุมชนท่องเทียวกินนอน การผลิตอาหารไก่จากใบไชยา บวร ออนทัวร์ ต.บ้านแก้ง และการผลิตอาหารกบอินทรย์ ต.คลองนําใส 41 65 การพัฒนาสายปานการผลิตผ้าทอ นวัตกรรมการทําก้อนเห็ดนางฟา ต.ทัพเสด็จ จากฟางข้าว ต.โนนหมากมุ่น 45 69 เกษตรสีเขียววถีการผลิต เพือความมันคง ทางอาหารและความยังยืน ต.ทุ่งมหาเจรญ \"วศวกรสังคม เยาวชนผู้ดูแลผู้สูงวัย\" ต.ทัพราช 49 73 การยกระดับสมุนไพรเกษตรอินทรย์ ต.วังใหม่ การประยุกต์ใช้กระบวนการต่อพันธุ์ไหมอีร แบบง่าย และการใช้ถาดเพาะเมล็ดแทน 53 การใช้จ่อ ในการเพิมศักยภาพการผลิต รังไหมอีรอย่างยังยืน ต.เขาฉกรรจ์ พลังประสาน รัฐ-วัด-โรงเรยน-ชุมชน บรหารจัดการนาํ รู ปแบบธนาคารนาํ ใต้ดิน 77 ต.คลองไก่เถือน 57 สบู่ไพลและบาล์มกระท้อนอินทรย์ ต.หนองตะเคียนบอน การเพิมมูลค่าผลิตภัณฑ์ชุมชน \"ข้าวเม่านํานมบ้านเนินสะอาด\" 81 61

ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ นำ้ พ ริ ก พ ลิ ก ชี วิ ต ชุ ม ช น โ ค ร ง ก า ร ย ก ร ะ ดั บ คุ ณ ภ า พ ชี วิ ต ชุ ม ช น แ ล ะ ท้ อ ง ถ่ิ น ตาบลคูขวาง อาเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี บา้ นคลองบางโพธ์ิ 1*เบญจางค์ อัจฉริยะโพธา 2วิษชญะ ศลิ านอ้ ย, 3วฒั นา อัจฉริยะโพธา, หม่ทู ่ี 4 บ้านคลองบางเตย หมูท่ ่ี 5 4สุจารณิ ี สังข์วรรณะ และ5ดวงเดอื น วฏั ฏานรุ ักษ์ *Corresponding author: [email protected] ……………………………………………………………………………………………. บ้านคลองบางหลวง หมทู่ ่ี 3 บทคัดยอ่ บ้านคลองบางหลวง หมูท่ ี่ 2 โค รง ก า ร นี้ มี วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ เพื่ อ พั ฒ น า อ า ชี พ แ ล ะ ส่ งเส ริ ม ก าร อ นุ รั ก ษ์ สง่ิ แวดลอ้ มของชุมชน เสริมศักยภาพกลุ่มและครัวเรือน และสรา้ งผู้นาการเปลี่ยนแปลง การ มสี ่วนร่วมของชุมชนในตาบลคขู วาง อาเภอลาดหลุมแกว้ จังหวัดปทุมธานี โดยมุ่งเน้นการมี ส่วนร่วมของคนในชุมชน เครื่องมือวิจัยประกอบด้วย การสัมภาษณ์ การสนทนากลุ่มย่อย บา้ นคลองบางหลวง การประชุมเชิงปฏิบัติการตามข้อมูลบริบทตาบล โดยได้มีแนวทางส่งเสริมการจัดต้ังกลุ่ม หม่ทู ี่ 1 อาชีพจานวน 2 กลุ่ม คือ กลุ่มอาชีพน้าพริกแกง น้าพริกแกงปรุงรส และกลุ่มอาชีพน้าพริก ปลาปน่ การประชุมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารพฒั นาผลิตภณั ฑ์ การพฒั นาตราสินค้าและบรรจภุ ัณฑ์ รกั ษ์สิง่ แวดล้อม แนวทางการจัดต้งั กลุม่ อาชีพ โดยความรว่ มมือจากสานักงานเกษตรอาเภอ และสานกั งานพัฒนาชุมชนอาเภอลาดหลุม แก้ว ผลการดาเนินโครงการได้ผลว่ากลุ่มอาชีพน้าพริกแกง น้าพริกแกงปรุงรส ได้จัดตั้งกลุ่มวิสาหกิจชุมชนน้าพริกแกงพ่อกานัน เรยี บร้อยแล้ว ส่วนกลุ่มอาชพี น้าพริกปลาปน่ มีการพัฒนาสูตรน้าพริกปลาป่นให้ได้สูตรมาตรฐานเพ่ือแกป้ ัญหาน้ามันเย้มิ ในผลิตภัณฑ์ และปรบั เนื้อสมั ผัสของน้าพรกิ เพ่ือเพิ่มปริมาตรและมคี ุณค่าทางโภชนาการ (โปรตนี สูง) เพื่อสร้างเป็นจุดเดน่ ใหก้ ับน้าพรกิ ปลาป่น และ ทงั้ 2 กลุ่ม กาลังอยใู่ นช่วงยืน่ ขอการจดทะเบียนกลุ่มสัมมาชพี กจิ กรรมน้ีมผี ู้เข้าร่วมกิจกรรม 33 คน รายได้เฉลี่ยต่อเดือนเพิ่มขึ้นร้อย ละ 12.30 ซ่งึ จะเป็นแนวทางการพัฒนาอาชีพและส่งเสรมิ ศักยภาพของชมุ ชน และสร้างผนู้ าการเปลยี่ นแปลงการมีสว่ นรว่ มของชุมชน คาสาคญั : พัฒนาอาชพี , พัฒนาผลิตภณั ฑ,์ นา้ พริก Abstract This study was aimed to develop careers and promote the conservation of the community environment. Also, to enhance the capacity and to create transformational and community participation leaders for enhancing the quality of the community life in Khu Khwang sub district. This project focuses on the participation of people in the community, interviewing, small group chat and workshop were used for research tools. The procedure was guided to promote the establishment of 2 occupational groups, 1) red curry paste and seasoned curry paste occupational class and 2) chili paste fish meal occupational class, which consist of product development workshop, develop eco-friendly brands and packaging to attract consumers workshop, and brainstorming. Nowadays, the red curry pastes occupational groups have been established in community enterprise group namely “Prig-kang-por-kamnan”. The chili pastes occupational class, this project guidelines for 1 หลกั สูตรคหกรรมศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั ราชภฏั วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถัมภ์ 2 สานกั สง่ เสรมิ การเรียนรแู้ ละบรกิ ารวิชาการ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถมั ภ์ 3, 4, 5 หลกั สตู รนวัตกรรมชีวผลิตภัณฑ์ คณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั ราชภฏั วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถมั ภ์ Success story 1

developing fish meal chili paste to standard formula to solve the greasy oil problem and adjust the texture of the chili paste to increase enjoyment of eating as well as having a high nutritional value (high protein) to create a distinctive feature for fish meal chili paste. On the other hand, 2 groups were in the process of applying for registration of the right livelihood group. 33 participants were jointed the project, the average monthly income increased by 12.30 percent, which was considered to achieve the target. This will be a guideline for professional development and promoting the potential of the community, and creating transformational leaders with community participation. Keywords: Career Development, Product Development, Curry Pastes บทนา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นมหาวิทยาลัยท่ีพระราชาประสงค์ให้เป็น มหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาท้องถ่ิน มีประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี 3 การพัฒนางานพันธกิจสัมพันธ์ และถ่ายทอด เผยแพร่โครงการ อนั เน่ืองมาจากพระราชดาริ โดยมีกลยุทธ์ในการสรา้ งเครือขา่ ยชมุ ชนนักปฏบิ ัติจากภายในและภายนอกเพ่ือร่วมกันศึกษาแก้ไขปัญหา ของชุมชนท้องถ่ินและเสริมพลังให้ชุมชนท้องถ่ินสามารถดารงอยู่ได้อย่างยั่งยืน โครงการนี้จึงได้มีการสร้างความร่วมมือกับหน่วยงาน ราชการท่ีเก่ียวข้องในพ้ืนท่ีตาบลคูขวาง อาเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี โดยดาเนินการศึกษาชุมชนและจัดทาฐานข้อมูลตาบล เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการวิเคราะห์แนวทางพัฒนาและยกระดับคุณภาพชีวิตชุมชนและท้องถิ่น โดยการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน เน่ืองจากชุมชนมีทรัพยากรธรรมชาติท่ีเป็นวัตถุดิบอาหารมากมาย อาทิ ปลูกข้าว และผักสวนครัว เช่น ตะไคร้ ใบมะกรูด กล้วย ตามครัวเรือนทั่วไป มีสัตว์น้าตามธรรมชาติ ตลอดจนมีการเพาะเล้ียงปลาดุกเพ่ือจาหน่าย สามารถนาไปสู่พัฒนาด้านผลิตภัณฑ์ อาหารได้ ตลอดจนมีตลาดอุดมทรัพย์ (เอกชน) ซึ่งมีนโยบายสนับสนุนผลิตภัณฑ์ของกลุ่มชุมชนให้วางขายโดยไม่คิดค่าเช่าสถานท่ี ซ่ึงสามารถเป็นช่องทางในการพัฒนาให้ชุมชนได้มีการสร้างผลิตภัณฑ์ชุมชนเพ่ือให้วางจาหน่ายในตลาดได้ จึงเกิดแนวคิดพัฒนาเกิด เป็นอาชีพจากผลิตภัณฑ์อาหารจากชุมชนข้นึ เพอ่ื รายได้เสริมจากทรัพยากรทม่ี ใี นครวั เรือน ท้องถนิ่ และบรเิ วณใกลเ้ คียง วิธกี ารดาเนนิ งาน โครงการนีม้ รี ายละเอียดดาเนินงานดังน้ี 1. การวิเคราะห์บริบทชุมชน โดยการสร้างความร่วมมือกับหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง ศึกษาชุมชนและ วเิ คราะห์หาแนวทางการพฒั นาชุมชนนวตั กรรมตาบลคูขวางร่วมกบั ชุมชน 2. การพัฒนาสินค้าชุมชน โดยมุ่งเน้นการดาเนินงานแบบมีส่วนร่วมกับให้เกิดการพึ่งพาตนเอง ด้วยการจัดการ ทรพั ยากร ความรู้ ภูมิปัญญา ทนุ ทางวัฒนธรรม สังคม และรกั ษาสิ่งแวดล้อมของชมุ ชนให้เกดิ ประโยชน์และย่ังยนื โดยการประชมุ เชิง ปฏบิ ตั กิ ารพฒั นาผลติ ภัณฑ์ พัฒนาตราสินค้าและบรรจภุ ณั ฑ์รกั ษ์สง่ิ แวดล้อม 3. การประชุมหาแนวทางการจัดต้งั กล่มุ อาชพี การจดทะเบียนจดั ต้ังกลมุ่ อาชพี 4. การติดตามประเมินผลการดาเนินงาน เพ่ือสรุปผลการดาเนินงานและวิเคราะห์บทเรียนที่ได้รับในการดาเนิน โครงการ ผลการดาเนนิ งาน มีการดาเนินการส่งเสริมการยกระดับขีดความสามารถของกลุ่มอาชีพ จานวน 2 กลุ่มได้แก่ กลุ่มอาชีพน้าพริกแกง น้าพริกแกงปรุงรส และกลุ่มอาชพี นา้ พริกปลาปน่ โดยมีผู้เขา้ ร่วมกจิ กรรม 33 คน 1. กลุ่มอาชีพน้าพรกิ แกง น้าพริกแกงปรุงรส พบว่า แต่เดิมยังไม่มีการรวมตัวกลุ่มอาชีพ ต้องการมีผลิตภัณฑ์ของ ชุมชน และเป็นนวัตกรรมชุมชนท่ีมเี อกลักษณเ์ ฉพาะ รวมท้ังตั้งกลมุ่ อาชพี เพือ่ สร้างรายไดเ้ พมิ่ จากความรภู้ ูมิปัญญาท้องถ่นิ ในด้านการตา นา้ พรกิ แกงรบั ประทานเองตามครัวเรือนมาพฒั นาเป็นนา้ พริกแกง น้าพริกแกงปรุงรส จานวน 6 ชนดิ ไดแ้ ก่ นา้ พริกแกงเผ็ด น้าพรกิ แกง เผ็ดปรงุ รส น้าพรกิ แกงสม้ น้าพรกิ แกงสม้ ปรุงรส นา้ พรกิ แกงเขียวหวานปรงุ รส และนา้ พริกแกงเขียวหวานปรงุ รส แนวทางการพฒั นาประกอบดว้ ย 1) การประชมุ เชงิ ปฏิบัติการพฒั นาผลิตภัณฑน์ า้ พรกิ แกงและน้าพรกิ แกงปรุงรส 2) การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาตราสินค้าและบรรจุภัณฑ์รักษ์สิ่งแวดล้อมให้ดึงดูดผู้บริโภคและการระดม ความคิดเหน็ Success story 2

3) การประชุมหาแนวทางการจัดต้ังกลุ่มอาชีพน้าพริกแกง ซ่ึงได้รับความร่วมมือจากสานักงานเกษตร และ สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอลาดหลุมแก้ว ขณะน้ีได้จัดต้ังกลุ่มวิสาหกิจชุมชนน้าพริกแกงพ่อกานันเรียบร้อยแล้วและกาลังอยู่ในช่วง ย่ืนขอการจดทะเบียนกล่มุ สมั มาชีพน้าพริกเเกงพอ่ กานนั 2. กลุ่มอาชีพน้าพริกปลาป่น พบว่า มีการรวมกลุ่มไม่เป็นทางการเพื่อจาหน่ายน้าพริกปลาป่น แต่พบปัญหา น้ามันเยิ้ม ส่งผลให้มีผลกระทบต่ออายุการเก็บรักษาและภาพลักษณ์ความน่ารับประทานของน้าพริก จึงได้มีแนวทางการพัฒนาสูตร น้าพริกปลาป่นให้ได้สูตรมาตรฐาน และแก้ปัญหาดังกล่าว ตลอดจนการปรับเน้ือสัมผัสของน้าพริกเพ่ือเพิ่มปริมาตร ตลอดจนรวมทั้ง ปรับใหม้ คี ุณคา่ ทางโภชนาการ (โปรตีนสงู ) เพอื่ สร้างเปน็ จดุ เด่นของผลิตภัณฑน์ า้ พรกิ ปลาป่นให้ เป็นจุดขายหรือเปน็ ข้อมูลผลิตภัณฑ์ที่ สง่ เสริมการโฆษณา และการตลาดไดเ้ ป็นอย่างดี แนวทางการพฒั นาประกอบดว้ ย 1) การประชุมเชงิ ปฏิบตั ิการพัฒนาผลติ ภณั ฑ์น้าพริกปลาปน่ 2) กิจกรรมการอบรมการคานวณคณุ คา่ ทางโภชนาการอยา่ งง่าย 3) การวเิ คราะห์หาสารอาหารของผลิตภัณฑน์ า้ พรกิ ปลาปน่ 4) การประชุมเชิงปฏบิ ัติการเพ่ือพฒั นาตราสนิ คา้ และบรรจภุ ัณฑ์รักษ์สง่ิ แวดลอ้ มให้ดึงดูดผู้บรโิ ภคและการระดม ความคิดเห็น 5) การประชุมหาแนวทางการจัดตั้งกลุ่มอาชีพน้าพริกปลาป่น ซ่ึงได้รับความร่วมมือจากสานักงานพัฒนาชุมชน อาเภอลาดหลุมแกว้ ขณะน้ีกาลงั อยู่ระหว่างการขอจัดตั้งกล่มุ สัมมาชีพเเปรรปู ปลาคลองบางโพธิ์ ปัจจุบันได้มีการจัดจาหน่ายสินค้าภายในท้องถ่ิน เช่น ตลาดอุดมทรัพย์ ตลาดบางเตย ชุมชนมัสยิดแก้วนิมิต ทา ตามออรเ์ ดอรส์ ่ังซือ้ ตลอดจนการจาหน่ายตามงานต่างๆ สรุปผลการดาเนินงาน 1. สรุปรายได้เพม่ิ ขนึ้ ร้อยละ จากภูมิปัญญาท้องถ่ิน การทาอาหารไทย น้าพริกแกง น้าพริกเคร่ืองจ้ิม สามารถนามาพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่มี จดุ เด่นของผลิตภัณฑ์ สามารถเกดิ เป็นอาชีพ จาหน่ายและสามารถก่อเกิดรายได้เพิ่มขึ้นได้ โดยกลุ่มเป้าหมายมีรายได้เฉลีย่ ต่อเดือน เพ่ิมข้นึ ร้อยละ 12.30 ประกอบด้วย 2 กลุ่มอาชพี ไดแ้ ก่ 1) กลุ่มอาชีพน้าพริกแกง น้าพริกปรุงรส หรือกลุ่มวิสาหกิจชุมชนน้าพริกพ่อกานัน จากเดิมมีรายได้ ครัวเรอื นเฉลย่ี 14,500 บาท/เดอื น ภายหลังดาเนินโครงการมีรายไดค้ รวั เรือนต่อเดือนเพ่ิมขึ้นเฉลย่ี 1,875 บาท คดิ เปน็ รายไดท้ ี่เพ่ิมขนึ้ ร้อยละ 12.93 2) กลุ่มอาชีพน้าพรกิ ปลาป่น หรอื กลุ่มสัมมาชพี เเปรรปู ปลาคลองบางโพธิ์ (กาลงั อยใู่ นระหว่างการขอจดั ตง้ั ) จากเดิมมีรายได้เฉล่ีย 10,000 บาท/เดือน ภายหลังดาเนินโครงการมีรายได้เพิ่มขึ้นเฉลี่ย 1,168 บาท/เดือน คิดเป็นรายได้ต่อเดือน เพิ่มขึ้นรอ้ ยละ 11.68 2. นวตั กรรมท่ีเกดิ ขึ้น/นวัตกรรมทีไ่ ดร้ ับ โครงการนี้ไดด้ าเนินการมเี สร็จส้นิ มนี วตั กรรมที่เกิดขึ้นจานวน 2 ผลิตภณั ฑ์หลัก ได้แก่ 1) น้าพริกแกง และน้าพริกแกงปรุงรสชนิดต่างๆ6 ชนิด ได้แก่ น้าพริกแกงเผ็ด น้าพริกแกงเผ็ดปรุงรส นา้ พรกิ แกงสม้ น้าพริกแกงส้มปรุงรส น้าพริกแกงเขยี วหวานปรุงรส และนา้ พรกิ แกงเขยี วหวานปรงุ รส โดยผู้บรโิ ภคซือ้ ไปสามารถนามา ใส่ในอาหารประเภทผัดหรือประเภทแกง โดยไม่ต้องปรุงรสเพิ่ม สอดคล้องกับวิถีชีวิตของผู้บริโภคในยุคปัจจุบันที่ต้องการ ความสะดวกสบายและรวดเรว็ ในการประกอบอาหาร 2) นา้ พรกิ ปลาป่น ซ่ึงน้าพริกปลาปน่ ที่มีโปรตนี 22.86 กรัม ถอื วา่ เป็นปรมิ าณทค่ี อ่ นข้างสูง และเป็นน้าพริก ท่ใี ชป้ ลาดุกท่ีเปน็ ทรพั ยากรชมุ ชนท่มี ีมากและมีการเพาะเล้ยี งในทอ้ งถิน่ ขอ้ เสนอแนะเชงิ การพัฒนาตอ่ ยอด 1. สนับสนุนให้มีการจัดทาแผนการตลาด หรือเพิ่ มช่องทางการตลาดออกไปภายนอกชุมชนและ การประชาสัมพนั ธ์ในหลายหลายช่องทางใหม้ ากข้นึ 2. ควรมีการเข้ารับอบรมจากส่วนงานทั้งภาครัฐและเอกชนในเร่ืองที่เก่ียวกับคุณภาพผลิตภัณฑ์ การยืดอายุ การเก็บรักษา ตลอดจนการจดั ทาบัญชีรายรับรายจา่ ย การคิดกาไรต้นทุนราคาขาย เปน็ ตน้ Success story 3

กิตติกรรมประกาศ ขอกราบขอบพระคุณผู้ว่าราชการจังหวัด นายอาเภอ องคก์ ารบริหารส่วนตาบล สานักงานพฒั นาชมุ ชน สานักงาน เกษตรอาเภอลาดหลุมแก้ว ตลอดจนกานันตาบลคูขวาง ผู้นาชุมชนที่ให้สนับสนุน และขอขอบคุณประชาชนตาบลคูขวางท่ีให้ ความรว่ มมือในการทากิจกรรม ทาให้โครงการสาเรจ็ ลุล่วงไปดว้ ยดี เอกสารอ้างอิง กนกวรรณ ปณุ ณะตระกลู , ยศพร พลายโถ และอจั จิมา ม่ันทน. 2016. การพฒั นาผลิตภณั ฑ์นา้ พริกแห้งจากเมด็ บวั . วารสารวิจัยและ พฒั นา วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถัมภ์ สาขาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย,ี 11(1), 109-117. กองโภชนาการ กระทรวงสาธารณสุข. 2544. ตารางแสดงคุณค่าทางโภชนาการของอาหารไทย. กรุงเทพฯ: องค์การทหารผา่ นศกึ . องค์การบริหารสว่ นตาบลคขู วาง. 2562. ขอ้ มลู พื้นฐานตาบล. เข้าถงึ เมอ่ื 15 ธนั วาคม 2562, เขา้ ถงึ ได้จาก http://khukwang.go.th/public/history/data/index/menu/22. องค์การบริหารส่วนตาบลคูขวาง. 2562. แผนพัฒนาท้องถ่ิน. เขา้ ถึงเมื่อ 15 ธันวาคม 2562, เขา้ ถึงไดจ้ าก http://khukwang.go.th/public/plan/data/plan/plan_category_id/6/menu/58 Success story 4

ก า ล ะ แ ม โ บ ร า ณ สื บ ส า น เ อ ก ลั ก ษ ณ์ ม อ ญ โ ค ร ง ก า ร ย ก ร ะ ดั บ คุ ณ ภ า พ ชี วิ ต ชุ ม ช น แ ล ะ ท้ อ ง ถ่ิ น ตำบลคูบางหลวง อำเภอลาดหลุมแก้ว จงั หวดั ปทุมธานี 1*อภชิ ยั คุณีพงษ,์ 2ศศธิ ร ตนั ติเอกรตั น์, 3อภญิ ญา อุตระชัย, 4เฟอ่ื งฟา้ รตั นาคณหตุ านนท์ และ 5วิณากร ที่รัก *Corresponding author: E-mail [email protected] ……………………………………………………………………………………………. บทคดั ย่อ การสร้างการเรียนรู้พัฒนาอาชีพยกระดับผลิตภัณฑ์ ของชุมชนวิสาหกิจชุมชนท้องถิ่น ตำบลคูบางหลวง อำเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี ประเด็นการพัฒนาและยกระดับกลุ่มประกอบอาชีพกา ละแมมอญโบราณ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ยกระดับคุณภาพชีวิตกลุ่มอาชีพ กาละแมมอญโบราณ 2) พัฒนาองค์ความรู้ทักษะในเรื่องข้อกำหนดคุณภาพ และมาตรฐานของผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อผ่านรับรองมาตรฐานจาก อย. และ 3) ปรับปรุงพัฒนากล่องบรรจุภัณฑ์ด้านความสวยงามและความถูกต้อง ของรายละเอียดส่วนผสมของกาละแมเพ่ือให้ได้มาตรฐาน การดำเนินงาน โดยอาจารยแ์ ละมหาวิทยาลยั เขา้ ไปเตมิ เต็มในการสร้างภาวะผู้นำและ เครือข่ายชุมชนให้ได้รับการพัฒนาศักยภาพด้านมาตรฐาน และส่งเสริมผลิตภัณฑ์กาละแมมอญโบราณให้มีความพร้อมเพื่อขอ รับรองมาตรฐาน อย. รวมท้ังได้สะท้อนเอกลักษณ์ ชาวมอญบนผลิตภัณฑ์กาละแมมอญโบราณ โดยมีโลโก้ท่ีเน้นวัฒนธรรมมอญ โบราณ และประชาชนท่ีเข้าร่วมโครงการ มีรายได้เพ่ิมขึ้น ผลการดำเนินงานกลุ่มอาชีพได้มีการปรับรูปแบบบรรจุภัณฑ์ท่ีเหมาะสม ถูกต้องตามมาตรฐาน ได้เพ่มิ ช่องทางการตลาด และสามารถเพมิ่ ยอดการจำหน่ายสินค้าเพิ่มข้ึนจากเดิมมรี ายได้ คนละ 4,500 บาทต่อ เดือน เพิ่มขึ้นเปน็ 5,300 บาทตอ่ เดือน หรอื จากเดมิ 150 บาท/คน/วนั เปน็ 177 บาท/คน/วนั คดิ เปน็ รอ้ ยละ 18 คำสำคัญ: การยกระดบั ผลิตภณั ฑ์, การสร้างการเรยี นร,ู้ พฒั นาอาชพี , ยกระดบั ผลติ ภัณฑ์, กาละแมมอญโบราณ Abstract Creating learning, career development, upgrading products of the community, local community enterprises Khu Bang Luang Subdistrict, Lat Lum Kaeo District, Pathumthani Province. This project were to develope and upgrading of the Ancient Caramel occupation group. The objectives were to 1) upgrade the quality of life of the Ancient Caramel occupation group 2) develop knowledge and skills in terms of quality and standard of food products in order to pass the certification from the FDA and 3) improve and develop packaging boxes. The correctness of the ingredients details Caramel to meet the standard. 1สาขาวิชาการจดั การสถานพยาบาล คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถัมภ์ 2สาขาวชิ าสขุ ภาพและความงาม คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถัมภ์ 3,4สาขาวชิ าอนามยั ส่งิ แวดล้อม คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถัมภ์ 5สำนกั สง่ เสรมิ การเรยี นรู้และบรกิ ารวชิ าการ มหาวิทยาลยั ราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ Success story 5

This project operation by teachers and universities to fill in building leadership and community networks to be developed in the standard and promote products of ancient Caramel to be ready to request the certification of FDA standards. As well as reflect its identity Mon people on ancient Caramel products with a logo that emphasizes the ancient Mon culture and people participating in the project earn more income. For the performance of the professional group, the packaging has been adapted to suit and added marketing channels. For this development can increase the number of product sales increased from 4,500 baht / person / month to 5,300 baht / person / month or 150 baht / person / day to 177 baht / person / day (18 percent). Keywords: Product enhancement, learning creation, career development, product enhancement, Ancient Caramel บทนำ ตามยุทธศาสตรเ์ พือ่ ยกคณุ ภาพมาตรฐานมหาวทิ ยาลยั ราชภัฎสคู่ ณุ ภาพเป็นเลศิ มุ่งเนน้ การพัฒนาคุณภาพบณั ฑติ สู่ นักปฏิบัติอย่างมืออาชีพ การยกคุณภาพมาตรฐานชีวิตของชุมชน ท้องถิ่น และพ้ืนท่ีให้มีความเข้มแข็งและยั่งยืน โดยยุทธศาสตร์ ดังกล่าวได้ถูกนำมาเป็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ในประเด็นยุทธศาสตรท์ ี่ 3 การพัฒนา งานพันธกิจสัมพันธ์ และถ่ายทอดเผยแพร่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ โดยมีกลยุทธ์ในการสร้างเครอื ขา่ ยชมุ ชนนักปฏิบัติจาก ภายในและภายนอก เพ่ือร่วมกันศึกษาแก้ไขปัญหาของชุมชนท้องถิ่นและเสริมพลังให้ชุมชนท้องถิ่นสามารถดำรงอยู่ได้อย่างยั่งยืน ให้ความสำคญั ในการพฒั นาชมุ ชนและทอ้ งถิ่น ดังนั้น จึงได้จัดทำโครงการยกระดับพัฒนาคุณภาพชีวิตชุมชนและท้องถิ่น (โครงการระยะที่ 2) กิจกรรมสร้าง การเรยี นรู้ พัฒนาอาชพี ยกระดับผลิตภัณฑ์ของชุมชน วิสาหกิจชุมชนท้องถ่นิ (OTOP) ตำบลคูบางหลวง อำเภอลาดหลุมแกว้ จังหวัด ปทุมธานี โดยมีประเด็นการพัฒนาและยกระดับกลมุ่ ประกอบอาชีพกาละแมมอญโบราณ เพ่ือให้ประชาชนไดร้ ับการยกระดบั คุณภาพ ชีวิตโดยการประกอบอาชีพกาละแมมอญโบราณ ตลอดจนได้รับการพัฒนาองคค์ วามรู้ทักษะในเร่ืองข้อกำหนดคุณภาพและมาตรฐาน ของผลติ ภัณฑ์อาหาร เพ่อื ผา่ นรบั รองมาตรฐานจากสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) และปรับปรงุ พัฒนากล่องบรรจภุ ัณฑ์ ด้านความสวยงามและความถกู ต้องของรายละเอียดสว่ นผสมของกาละแมเพือ่ ให้ได้มาตรฐาน วธิ กี ารดำเนนิ งาน 1. การสำรวจชมุ ชนและครวั เรอื นเป้าหมาย และจัดลำดับความสำคัญของปัญหาในพน้ื ที่เปา้ หมาย 2. การประชุมเย่ียมครัวเรือนสร้างแรงบันดาลใจ/ตรวจสอบความมุ่งม่ันในการดำเนินกิจกรรมพัฒนา/แก้ไข ปัญหาร่วมกัน 3. การประชุมเชิงปฏิบัติการฝึกอบรมเสริมสรา้ งความรเู้ กี่ยวกับข้อกำหนดคณุ ภาพและมาตรฐานของผลิตภัณฑ์ อาหาร ข้อกำหนดสุขลกั ษณะที่ดแี ละการใช้วัตถุเจอื ปนอาหารของผลิตภัณฑก์ าละแม 4. การประชุมเชิงปฏิบัติการฝึกอบรมเสริมสร้างความรู้และทักษะด้านเทคโนโลยีบรรจุภัณฑ์ การเลือกใช้และ การออกแบบภาชนะบรรจุผลิตภัณฑก์ าละแม 5. การประชมุ เชิงปฏบิ ัติการฝึกอบรมเสริมสรา้ งความรู้และทักษะด้านการพัฒนาเทคนิคการประชาสมั พันธ์ และ สรา้ งแผนการตลาดของผลติ ภณั ฑ์กาละแม 6. การประชุมติดตาม ประเมินผลการดำเนนิ งานปรับปรงุ คณุ ภาพและมาตรฐานของผลติ ภัณฑ์กาละแม 7. การประชมุ ปรึกษาหารอื กบั คณะผูบ้ รหิ ารของอำเภอลาดหลุมแก้ว Success story 6

8. การประชุมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับหน่วยงานท้องถิ่นเพ่ือค้นหาภาคีเครือข่ายในการดำเนินโครงการกับ คณะผู้บริหารขององค์การบรหิ ารส่วนตำบลคบู างหลวง อำเภอลาดหลุมแก้ว จงั หวัดปทมุ ธานี 9. การจัดเวทีประชาคมเพื่อรับฟังปัญหาและข้อเสนอแนะในการดำเนินโครงการจากแกนนำชุมชน และ ประชาชนตำบลคูบางหลวง อำเภอลาดหลุมแกว้ จงั หวัดปทุมธานี 10. การพัฒ นาผู้นำและเครือข่ายจิตอาสาพัฒ นาชุมชนวิสาหกิจชุมชนเข้มแข็ ง ตำบลคูบางหลวง อำเภอลาดหลุมแก้ว จงั หวัดปทุมธานี 11. การสง่ เสรมิ การยกระดับขดี ความสามารถของกลมุ่ สมั มาชีพกาละแมมอญโบราณ หมูท่ ี่ 7 ตำบลคบู างหลวง 12. การติดตามและประเมินผลการดำเนินการพัฒนาชุมชนนวัตกรรมวิสาหกิจชุมชนเข้มแข็งกลุ่มสัมมาชีพ กาละแมมอญโบราณ หมู่ที่ 7 ตำบลคูบางหลวง ผลการดำเนินงาน จากผลการดำเนินงานครง้ั นี้ สามารถสรปุ ผลการดำเนนิ โครงการ ดงั นี้ 1. ผนู้ ำและเครอื ข่ายชมุ ชนได้รบั การพัฒนาศกั ยภาพด้านจติ อาสา จำนวน 30 คน 2. ผลิตภัณฑ์กาละแมมอญโบราณได้รับการปรับปรุงพัฒนาคุณภาพมาตรฐานในด้านของบรรจุภัณฑ์ที่ถูกต้อง เปน็ ไปมาตรฐานของ อ.ย. ท้งั ในด้านสัญลักษณใ์ หม่ เป็นรูปของผู้ชายและผหู้ ญงิ แต่งกายด้วยชดุ มอญ กำลังกวนกาละแม รวมท้ังมสี ีสัน ทสี่ ะดดุ ตา น่าซอื้ 3. ได้เอกลกั ษณ์ผลิตภัณฑ์กาละแมมอญโบราณ จำนวน 1 รายการ 4. ประชาชนท่ีเขา้ ร่วมโครงการมีรายได้เพมิ่ ขึน้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 กลุม่ สมั มาชีพกาละแมมอญโบราณ มชี ่องทางการตลาดเพ่มิ ข้ึนจากเดมิ โดยในวนั จันทร์-อังคาร จำหนา่ ยท่ฟี ิวเจอร์- ปาร์ค รังสิต ชั้น 1 และวันหยุด จำหน่ายที่ทุ่งนามอญ นอกจากนี้ยังมีงาน OTOP สินค้าต่าง ๆของชุมชน โดยสามารถเพ่ิมยอด การจำหน่ายสินค้าเพ่ิมข้ึนจากเดิม มีรายได้เพิ่มขึ้นจากเดิมคนละ 4,500 บาทต่อเดือน เพิ่มข้ึนเป็น 5,300 บาทต่อเดือน หรือจากเดิม 150 บาท/คน/วนั เป็น 177 บาท/คน/วนั คิดเป็นร้อยละ 18 สรปุ ผลการดำเนินงาน โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตชุมชนและท้องถ่ินตำบลคูบางหลวง อำเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานีคร้ังนี้ สามารถพัฒนาศักยภาพด้านจิตอาสาให้แก่ผู้นำและเครือขา่ ยชุมชน จำนวน พัฒนา 30คุณภาพมาตรฐานของบรรจภุ ณั ฑ์กาละแมมอญ โบราณให้เปน็ ไปมาตรฐานของ อ.ย. ปรบั ปรุงสญั ลกั ษณ์ใหมเ่ ป็นรูปของผู้ชายและผู้หญงิ แตง่ กายดว้ ยชุดมอญกำลังกวนกาละแม รวมทงั้ มีสีสนั ทีส่ ะดุดตา น่าซ้ือ รวมท้ังสรา้ งเอกลกั ษณผ์ ลติ ภัณฑก์ าละแมมอญโบราณขึ้นใหม่ ส่งผลทำให้กลมุ่ สมั มาชีพกาละแมมอญโบราณมี ช่องทางการตลาดเพ่ิมข้ึนจากเดมิ มยี อดการจำหน่ายสนิ คา้ เพิ่มข้นึ จากเดมิ สง่ ผลทำให้มีรายไดเ้ พมิ่ ข้ึนจากเดิมรอ้ ยละ 18 ขอ้ เสนอแนะเชงิ การพัฒนาต่อยอด 1) หน่วยงานท้องถิ่นหรือภาคเอกชนสามารถเข้าไปดำเนินการพัฒนาศักยภาพกลุ่มอาชีพกาละแมมอญให้เป็น ศูนย์เรียนรู้การทำกาละแมมอญโบราณ ให้มีความพร้อมในการเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านวัฒนธรรมชาวมอญ รวมทั้งให้มีการเช่ือมโยง เครือข่ายและจดุ เรยี นร้ตู า่ งๆ ในชุมชน เพ่อื ใหม้ ีการเสริมหนุนซึ่งกันและกันในการถ่ายทอดความรู้ 2) หนว่ ยงาน กศน. ในพนื้ ท่สี ามารถเข้าไปพัฒนาตอ่ ยอดกลุ่มอาชพี ให้เปน็ หลักสูตรเรยี นรูเ้ พอื่ สืบสานเอกลกั ษณ์ มอญและวธิ กี ารทำกาละแมมอญโบราณและสามารถสร้างรายได้เสรมิ แก่ประชาชนผสู้ นใจ Success story 7

กิตติกรรมประกาศ โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตชุมชนและท้องถิ่นตำบลคูบางหลวง อำเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี คณะ ผู้ดำเนินโครงการขอกราบขอบพระคุณท่านผู้ว่าราชการจังหวัด พัฒนาชุมชนจังหวัด และหน่วยงานราชการระดับจังหวัดปทุมธานี นายอำเภอลาดหลุมแก้ว สำนักงานพัฒนาชุมชน สำนักงานเกษตรอำเภอ และหน่วยงานราชการระดับอำเภอลาดหลุมแก้ว คณะ ผู้บริหารมหาวิทยาลัย ผู้บริหาร คณาจารย์และเจ้าหน้าที่สำนักส่งเสริมการเรียนรู้และบริการวิชาการ องค์การบริหารส่วนตำบล คูบางหลวง กำนันตำบลคูบางหลวง ผู้นำชุมชนที่ให้คำแนะนำ และสนับสนุนการดำเนินโครงการ และขอขอบคุณประชาชนตำบล คูบางหลวงที่ให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม ทำให้โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตชุมชนและท้องถิ่น ตำบลคูบางหลวง อำเภอ ลาดหลมุ แก้ว จงั หวัดปทุมธานี สำเรจ็ ลุลว่ งไปด้วยดี เอกสารอา้ งองิ อ งค์ ก าร บ ริ ห าร ส่ ว น ต ำบ ล ล า ด ห ลุ ม แ ก้ ว , 2 5 6 1 , ลั ก ษ ณ ะ ที่ ต้ั ง, เข้ า ถึ งเม่ื อ พ ฤ ษ ภ า ค ม 2562, เข้ า ถึ งได้ จ า ก http://ladlumkaew.go.th/ Success story 8

“ บ่ อ เ งิ น ” เ ก ษ ต ร พ อ เ พี ย ง โ ค ร ง ก า ร ย ก ร ะ ดั บ คุ ณ ภ า พ ชี วิ ต ชุ ม ช น แ ล ะ ท้ อ ง ถ่ิ น ตำบลบอ่ เงนิ อำเภอลาดหลมุ แก้ว จงั หวดั ปทุมธานี 1*พัชรนิ ทร์ ร่มโพธ์ชิ น่ื และ 2ปรยี าภา เมืองนก *Corresponding author: [email protected] ………………………………………………………………………………. บทคัดย่อ โค ร งก าร ย ก ร ะ ดั บ คุ ณ ภ าพ ชี วิ ต ชุ ม ช น แ ล ะ ท้ อ งถิ่ น ตำบลบ่อเงิน อำเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี กิจกรรมสร้าง การเรียนรู้ พัฒนาอาชพี ยกระดบั ผลิตภัณฑ์ของชุมชน วิสาหกิจชุมชนท้องถ่ิน (OTOP) ตำบลบ่อเงิน อำเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี ได้มีการดำเนิน กิจกรรม ดงั นี้ ขัน้ ตอนที่ 1 เสรมิ ศกั ยภาพกลมุ่ ประชุมเพอื่ สรา้ งความรว่ มมอื พรอ้ มทั้งจัดตง้ั คณะดำเนนิ การศูนยเ์ รยี นรูเ้ กษตรพอเพียง โรงเรยี นสุนทโร- เมตตาประชาสรรค์ กับ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ และตราสินค้า ผลิตสื่อนวัตกรรมเผยแพร่องค์ความรู้ด้านเกษตรปลอดภัย และ ขั้นตอนท่ี 2 การเผยแพร่องค์ความรู้ ด้านการเกษตรปลอดภัย จนเกิดเป็นความสำเร็จในการดำเนินโครงการ ดังนี้ คือ 1) เกิด ความร่วมมือกันระหวา่ งมหาวิทยาลยั ราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถมั ภ์ กบั หน่วยงานภาครัฐของพ้ืนที่ ตำบลบ่อเงนิ อำเภอ ลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี 2) ศูนย์เรียนรู้เกษตรพอเพียง โรงเรียนสุนทโรเมตตาประชาสรรค์ มีศักยภาพเผยแพร่องค์ความรู้ ด้านการเกษตรปลอดภัย 3) ได้พัฒนาผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ และตราสินค้า ของศูนย์เรียนรู้เกษตรพอเพียง โรงเรียนสุนทโรเมตตา ประชาสรรค์ และกลุ่มขนมไทย หมู่ 7 4) ได้นวัตกรรมสื่อวีดีทัศน์ ศูนย์เรียนรู้เกษตรพอเพียง โรงเรียนสุนทโรเมตตาประชาสรรค์ จำนวน 3 เร่อื ง และส่อื สิง่ พิมพ์ 1 เรือ่ ง 5) เกดิ ผนู้ ำการเปล่ยี นแปลงดา้ นการเกษตรปลอดภยั คำสำคญั : บ่อเงิน, ศนู ย์เรียนรเู้ กษตรพอเพยี ง, เสริมศักยภาพกลมุ่ , สร้างความร่วมมือ, เกดิ ผู้นำการเปลย่ี นแปลง Abstract Enhancing the quality of life of communities and localities in Bo Ngoen sub-district, Lat Lum Kaeo district Pathumthani province. Activities to create learning, career development, enhance community products local community enterprise, Bo Ngoen Subdistrict, Lat Lum Kaeo District Pathumthani Province. The activities are as follows: 1. Strengthen the group potential, meeting to build cooperation, as well as establishing a working group of the sufficiency agriculture learning center Suntharo Metta Prachasan School, with product development,packaging and branding, producing innovative media, disseminating knowledge on non-agricultural and 2. Dissemination of knowledge on safe agriculture. Until it became a success in implementing the following projects: 1) Created a collaboration between Valaya Alongkorn Rajabhat University Under the royal patronage with government agencies in Bo Ngoen Subdistrict, Lat Lum Kaeo District Pathumthani Province 2) Sufficiency Agriculture Learning Center Suntharo Metta Prachasan School has the potential to disseminate knowledge on 1สาขาวชิ าศลิ ปะการแสดง คณะมนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถมั ภ์ 2สำนักสง่ เสรมิ การเรียนรูแ้ ละบรกิ ารวชิ าการ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถัมภ์ Success story 9

safe agriculture 3) Developed packaging products and brands of Sufficiency Agriculture Learning Center Suntharo Metta Prachasan School and Thai Dessert Group, Moo 7 4) Get innovative media video and print media 5) Leading to change in agriculture. Keywords Bo Ngoen, the sufficiency agriculture learning center, strengthen the group potential, build cooperation, leading to chang บทนำ ตามที่ภาครัฐได้เช่ือมโยงเป้าหมายการพัฒนาท่ีย่ังยืนของสหประชาชาติเข้ากับแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ของ ประเทศไทย และยุทธศาสตร์เกษตรและสหกรณ์ 20 ปี ระหว่างปี 2560 ถึง ปี 2579 โดยน้อมนำเอาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ท่ีเนน้ การพัฒนาแบบยงั่ ยนื โดยคำนงึ ถึงส่ิงแวดล้อมที่อยู่ และใช้หลกั การทรงงานของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ล อดุลยเดชบรมนาถบพิตร มาเป็นแนวทางในการดำเนินนโยบาย เพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิต และยกระดับรายได้ของประชาชน แก้ไข ปัญหาเชิงโครงสร้างการผลิตภาคเกษตร เสริมสร้างความมั่นคงทางอาหาร พัฒนาโภชนาการ และความปลอดภัยด้านอาหาร เพ่ือ นำไปสู่ความมนั่ คง ม่ังค่ัง และย่ังยืน ของประชาชน และประเทศชาติ ซ่ึงสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร รชั กาลที่ 10 ทรงมพี ระปณิธานแน่วแน่ท่ีจะสานต่อโครงการในพระราชดำริของพระราชบดิ า เพ่ือช่วยเหลือประชาชนให้มีคณุ ภาพชวี ิต ทด่ี ขี ึน้ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นมหาวิทยาลัยที่พระราชา ประสงค์ให้เป็น มหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาท้องถ่ิน ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฎ พ.ศ. 2547 มาตรา 7 ที่ระบุให้มหาวิทยาลัยเป็น สถาบันอุดมศึกษา เพ่ือการพัฒนาท้องถิ่น เสริมพลังปัญญาของแผ่นดิน ซึ่งสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์เพ่ือยกคุณภาพมาตรฐาน มหาวิทยาลัยราชภฎั สู่คุณภาพเปน็ เลิศ โดยมงุ่ เน้นการพฒั นาคุณภาพบัณฑิต สู่นกั ปฏิบตั ิอย่างมืออาชีพ การยกคุณภาพมาตรฐานชีวิต ของชุมชน ท้องถิ่น และพื้นที่ให้มีความเข้มแข็งและยั่งยืน พร้อมท้ังสอดคล้องกับยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ในประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนางานพันธกิจสัมพันธ์ และถ่ายทอด เผยแพร่โครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดำริ โดยมีกลยุทธ์ในการสร้างเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติจากภายในและภายนอก เพื่อร่วมกันศึกษาแก้ไขปัญหาของชุมชน ท้องถน่ิ และเสรมิ พลงั ให้ชมุ ชนท้องถนิ่ สามารถดำรงอยู่ไดอ้ ยา่ งย่งั ยนื ใหค้ วามสำคญั ในการพัฒนาชมุ ชนและท้องถ่นิ ดังน้ัน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ จึงได้จัดทำโครงการยกระดับคุณภาพชีวิตชุมชนและท้องถ่ิน ในพื้นที่ ตำบลบ่อเงิน อำเภอลาดหลุมแก้ว จงั หวัดปทุมธานี โดยมีเป้าหมายเพื่อให้คนในชุมชนสามารถบริหารจัดการชวี ิตตนเองไดอ้ ย่างสมดุล และมคี วามเหมาะสม สามารถดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ร่วมกับการสง่ เสริมภูมิปัญญาท้องถ่ิน เพ่ิมคุณค่าและ มูลค่า เสรมิ เศรษฐกจิ ฐานรากในชมุ ชนให้มคี วามเขม้ แขง็ ม่ันคง นำไปสู่การพง่ึ พาตนเอง และชว่ ยเหลอื เก้ือกูลกันในชมุ ชนได้อย่างยงั่ ยนื ส่งผลให้ชมุ ชนหม่บู ้านมีคณุ ภาพชวี ิตและรายได้ทเ่ี พิม่ ขนึ้ วธิ กี ารดำเนนิ งาน การดำเนินโครงการคณะผู้ดำเนินการมุ่งเน้นการสร้างกรอบปัญหาและความต้องการของชุมชนระดับตำบล เพื่อ กำหนดแผนปฏิบัตกิ ารแบบมีส่วนร่วมของชมุ ชนในการวางแนวทางลดปญั หาความยากจนของประชาชนและยกระดับขดี ความสามารถ ของเศรษฐกิจรากฐาน การจัดการส่ิงแวดล้อม และวัฒนธรรม ตำบลบ่อเงิน อำเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี วิธีการการดำเนิน แผนงานเน้นไปที่การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research) ซ่ึงเป็นการบูรณาการการวิจัยแบบมีส่วน รว่ ม (Participatory Research) และการวจิ ยั เชิงคณุ ภาพ (Quantitative Research) เพื่อใหไ้ ดม้ าซงึ่ แผนพัฒนาชุมชนทจ่ี ะสามารถลด ความเหลือ่ มล้ำในการยกระดบั รายไดข้ องประชาชนนวตั กรรมและกระบวนการทางความคดิ สร้างสรรคท์ ่จี ะเพ่ิมมลู คา่ ทรพั ยากรทไ่ี ม่กอ่ ประโยชนใ์ นชมุ ชนให้เกิดประโยชนอ์ ันส่งผลใหป้ ระชาชนมีรายได้ที่เพม่ิ สงู ขึ้นกระบวนการลดปัญหาความยากจนท่ีเหมาะกับการเข้าถึง ของประชาชนทกุ วัยไดอ้ ย่างท่ัวถึงและยั่งยืนและเผยแพรอ่ งคค์ วามรู้สู่ประชาชนกล่มุ อ่นื ๆ Success story 10

ขั้นตอนการศกึ ษาชุมชนตำบลบ่อเงนิ 1. สรา้ งความร่วมมอื กับหนว่ ยงานราชการทเ่ี ก่ยี วข้อง 2. ศกึ ษาชมุ ชนและจัดทำฐานข้อมลู ตำบล 3. จัดทำแผนปฏิบัติการการเผยแพร่องค์ความรู้ด้านการเกษตรปลอดภัย เพ่ือเพิ่มรายได้ และยกระดับคุณภาพ ชวี ิตของคนในชมุ ชน ผลการดำเนินงาน รูปแบบกิจกรรมการพัฒนาชมุ ชนนวัตกรรมตำบลบ่อเงิน จึงได้มกี ารจัดทำแผนการดำเนินโครงการในระยะท่ี 2 ใน เดอื นพฤษภาคม 2563 ถึง เดอื นสิงหาคม 2563 ผลการดำเนินงานดังตอ่ ไปน้ี 5.1.1 เสริมศักยภาพกลุ่ม ประชุมเพื่อสร้างความร่วมมือพร้อมท้ังจัดตั้งคณะดำเนินการศูนย์เรียนรู้เกษตร พอเพียง โรงเรียนสุนทโรเมตตาประชาสรรค์ กับการพัฒนาผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ และตราสินค้า ผลิตสื่อนวัตกรรมเผยแพร่องค์ ความร้ดู า้ นเกษตรปลอดภัย กิจกรรมสร้างการเรียนรู้ พัฒนาอาชีพ ยกระดับผลิตภัณฑ์ของชุมชน วิสาหกิจชุมชนท้องถิ่น (OTOP) ตำบลบ่อเงิน อำเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี โดยดำเนินการจัดกิจกรรม ขั้นตอนท่ี 1 เสริมศักยภาพกลุ่ม ประชุมเพ่ือสร้างความร่วมมือ พร้อมท้ัง จัดตง้ั คณะดำเนินการศูนย์เรียนรเู้ กษตรพอเพียง โรงเรยี นสนุ ทโรเมตตาประชาสรรค์ กับการพัฒนาผลิตภัณฑ์ บรรจุภณั ฑ์ และตราสนิ ค้า ผลิต ส่ือนวัตกรรมเผยแพร่องค์ความรู้ด้านเกษตรปลอดภัย โดยจัดกิจกรรมในวันพฤหัสบดีที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 ณ องค์การบริหารส่วน ตำบลบ่อเงนิ อำเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี มีอาจารย์พัชรนิ ทร์ รม่ โพธ์ิช่ืน ผู้จัดการพื้นท่ี (Area Manager) และอาจารยป์ รียาภา เมืองนก กรรมการและผู้ประสานงาน เป็นผู้ดำเนินงาน มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 25 คน ประกอบด้วย นักพัฒนาชุมชนอำเภอ ลาดหลุมแกว้ นกั พัฒนาชุมชนตำบลบ่อเงิน กำนัน ผูใ้ หญ่บ้านหมู่ท่ี 1 – 7 ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน ตัวแทนจากวัดลำมหาเมฆ (หมู่ท่ี 5) ผู้อำนวยการ โรงเรยี นและตัวแทนคณุ ครจู ากโรงเรียนสนุ ทโรเมตตาประชาสรรค์ ตวั แทนคุณครูจากโรงเรยี นวดั บอ่ เงิน เปน็ ต้น ผลของการดำเนินกิจกรรมสร้างการเรียนรู้ พัฒนาอาชีพ ยกระดับผลิตภัณฑ์ของชุมชน วิสาหกิจชุมชนท้องถิ่น (OTOP) ตำบลบ่อเงิน อำเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี ในขั้นตอนที่ 1 เสริมศักยภาพกลุ่ม ประชุมเพ่ือสร้างความร่วมมือ พร้อมท้ังจัดต้ังคณะ ดำเนินการศูนย์เรียนรู้เกษตรพอเพียง โรงเรียนสุนทโรเมตตาประชาสรรค์ กับการพัฒนาผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ และตราสินค้า ผลิตสื่อ นวัตกรรมเผยแพร่องคค์ วามรดู้ ้านเกษตรปลอดภัย มีรายละเอยี ดดังนี้ 1) สร้างความร่วมมือกันระหว่างมหาวิทยาลยั ราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถัมภ์ กับหน่วยงานภาครัฐ ของพน้ื ที่ ตำบลบ่อเงนิ อำเภอลาดหลุมแกว้ จงั หวดั ปทมุ ธานี 2) สง่ เสรมิ ศกั ยภาพของศูนยเ์ รียนรเู้ กษตรพอเพียง โรงเรียนสุนทโรเมตตาประชาสรรค์ 3) ยกระดับทางด้านเศรษฐกิจ พัฒนาบรรจุภัณฑ์สินค้าและออกแบบตราสินค้า ของศูนย์เรียนรู้เกษตรพอเพียง โรงเรยี นสุนทโรเมตตาประชาสรรค์ และกลมุ่ ขนมไทย หมทู่ ี่ 7 4) ผลิตส่ือนวตั กรรมเผยแพร่องค์ความร้ดู ้านเกษตรปลอดภัย โดยทำเป็นวดี ที ศั น์และส่ิงพมิ พ์ 5.1.2 การเผยแพร่องคค์ วามรดู้ ้านการเกษตรปลอดภยั กิจกรรมสร้างการเรียนรู้ พัฒนาอาชีพ ยกระดับผลิตภัณฑ์ ของชุมชน วิสาหกิจชุมชนท้องถิ่น (OTOP) ตำบลบ่อเงิน อำเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี โดยดำเนินการจัดกิจกรรม ข้ันตอนท่ี 2 การเผยแพร่องค์ความรู้ด้านการเกษตร ปลอดภัย 1) เกิดผูน้ ำการเปล่ยี นแปลงด้านเกษตร 2) มีสอื่ วีดที ัศนแ์ ละสือ่ สิง่ พมิ พเ์ พอ่ื เผยแพร่ Success story 11

สรปุ ผลการดำเนินงาน สรุปรายได้ที่เพ่ิมข้ึน: ครัวเรือนกลุ่มเป้าหมายจำนวน 25 ครัวเรือน มีรายได้เฉลี่ยเดิม 2,160 บาท หลังจาก ดำเนินการพัฒนาได้รายได้จากการขายไข่เป็ด (600 ใบต่อเดือน) เป็นเงิน 2,400 บาทต่อเดือน คิดเป็นร้อยละ 10 นวัตกรรมท่ีได้รับ สื่อวีดีทัศน์ 1) เรื่องปลูกผักบนแคร่ 2) เรื่องระบบน้ำวนอควาโปนกิ ส์ (Aquaponics) 3) เร่ือง การเรยี นรวู้ ิถีการอยู่กบั ธรรมชาติอยา่ งย่ังยนื (Permaculture) และส่ือสิ่งพิมพ์เร่ือง “6 ขั้นความสำเร็จการเกษตรบ่อเงิน” ข้อเสนอแนะเชงิ การพัฒนาตอ่ ยอด โรงเรียนสุนทโรเมตตาประชาสรรค์ เป็นตัวอยา่ งและต้นแบบของโรงเรียนพอเพียง ที่ยึดตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจ พอเพยี ง และสามารถนำไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นครัวเรอื นของเด็กนักเรยี น โดยมเี ครอื ข่ายความร่วมมือกบั วัด และหนว่ ยงานราชการใกล้เคียง กิตตกิ รรมประกาศ คณะผู้ดำเนินโครงการขอกราบขอบพระคุณผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการดำเนินโครงการ ได้แก่ ผู้ว่าราชการจังหวัด ปทุมธานี องค์การบริหารส่วนจังหวัดปทุมธานี สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดปทุมธานี นายอำเภอ ลาดหลุมแก้ว สำนักงานเกษตร อำเภอ และหน่วยงานราชการระดับอำเภอลาดหลุมแก้ว องคก์ ารบรหิ ารส่วนตำบลบ่อเงิน กำนันตำบลบ่อเงิน ผู้นำชุมชนหมู่ท่ี 1 – 7 โรงเรยี นสนุ ทโรเมตตาประชาสรรค์ และประชาชนตำบลบ่อเงนิ ทใ่ี หค้ วามรว่ มมอื ในการทำกิจกรรมได้สำเร็จลลุ ่วงไปด้วยดี ขอขอบคุณ ผู้บริหารมหาวิทยาลัยราชภัฎวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จั งหวัดปทุมธานี สำนกั ส่งเสริมการเรียนร้แู ละบรกิ ารวชิ าการ และคณะมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ที่ใหค้ ำแนะนำ รวมท้ังใหก้ ารสนับสนนุ การดำเนิน โครงการเป็นอย่างดี เอกสารอา้ งอิง แผนยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนา (พ.ศ. 2558 - 2562) องค์การบริหารส่วนตำบลบ่อเงิน อำเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี, เข้าถงึ เม่ือ มกราคม 2562, เขา้ ถึงไดจ้ าก http://www.borngern.go.th2pj_dvl.php โรงเรียนสุนทโรเมตตาประชาสรรค์, เขา้ ถึงเมอ่ื มีนาคม 2562, เข้าถึงไดจ้ าก http://www.soontharo.ac.th Success story 12

ชุ ม ช น น วั ต ก ร ร ม เ ก ษ ต ร ป ล อ ด ภั ย โ ค ร ง ก า ร ย ก ร ะ ดั บ คุ ณ ภ า พ ชี วิ ต ชุ ม ช น แ ล ะ ท้ อ ง ถิ่ น ตำบลหนา้ ไม้ อำเภอลาดหลมุ แกว้ จงั หวัดปทมุ ธานี 1*บษุ ยา จูงาม 2อรวรรณ ชำนาญพดุ ซา 3ลัดดาวัลย์ กงพลี 4พชรกมล กลนั่ บศุ ย์ 5 เยาวภา แสงพยบั 6 ไพรินทร์ มศี รี 7 วิศรุต ขวญั คุ้ม และ8ปรียาภา เมอื งนก *Corresponding author: [email protected] ………………………………………………………………………………. บทคดั ยอ่ โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตชุมชนและท้องถิ่นใน พ้ืนท่ีตำบลหน้าไม้ อำเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี มีเป้าหมาย เพ่ือให้คนในชุมชนมีคุณภาพชีวิตท่ีดีข้ึน โดยโครงการมีการดำเนินการใน ระยะท่ี 1 คือ การสร้างความร่วมมือกับหน่วยงานราชการท่ีเก่ียวข้อง ศึกษาชุมชนและจดั ทำฐานขอ้ มูลตำบล และจัดทำแผนปฏิบตั ิการยกระดับ คุณภาพชีวิตให้ตรงกับความต้องการและศักยภาพของชุมชน จาก การศึกษาพบประเด็นการพัฒนาดงั น้ี 1. การสร้างชุมชนนวัตกรรมเกษตร ปลอดภยั 2. ส่งเสริมสิ่งแวดล้อมชุมชนเพื่อการต่อยอดสู่การท่องเท่ียว ชุมชน โครงการระยะท่ี 2 คือ การสร้างความร่วมมือจัดต้ังคณะกรรมการชุมชนนวตั กรรมเกษตรปลอดภัย ส่งเสริมองค์ความรู้ พัฒนา ต้นแบบชุมชนนวัตกรรมเกษตรปลอดภัย และต้นแบบส่งเสริมสิ่งแวดล้อมชมุ ชน ผลการดำเนนิ โครงการ คือ เกิดการมีสว่ นร่วมและจิต อาสาระหว่างภาครัฐ โรงเรียน เยาวชน ผู้นำหมู่บ้าน และประชาชน และกลุ่มผู้นำการเปล่ียนแปลง จำนวน 1 กลุ่ม เกิดต้นแบบ นวัตกรรมชุมชนเกษตรปลอดภัย คือ ต้นแบบการปลูก ถั่วงอก เมล็ดทานตะวันงอก และผักบุ้งปลอดภัย เพ่ือลดรายจ่ายในครัวเรือน พบว่า เดิมรายจ่ายเก่ียวกเเับผนกทาร่ี ตบำรบิโภลคอาหารของครัวเรือนเป้าหมายโดยเฉล่ีย คิดเป็นเงิน 9,000 บาทต่อเดือน หลังจากเข้าร่วม โครงการโดยการนำผกั ปลอดภยั ไปบริโภคในครวั เรอื น ทำใหค้ รัวเรอื นกลมุ่ เปา้ หมายสามารถลดรายจ่ายลงเฉลย่ี เปน็ เงนิ 3,000 บาทต่อ เดือน โดยคดิ เป็นรอ้ ยละ 33.33 คำสำคญั : ชุมชน, นวตั กรรม, เกษตรปลอดภยั Abstract Improving the quality of life of communities and localities in the Na Mai Subdistrict, Lat Lum Kaeo District Pathum Thani Province had a destination for the people in the community who had a better quality of life. The project has been implemented in phase 1, which is to building cooperation in the relevant government agencies. Study the community and create a sub-district database and develop an action plan to improve the quality of life to meet the needs and abilities of the community. The study found the following development issues: 1. Creating an Innovative Community for Safe Agriculture and 2. Promote the community environment for furthering community tourism. The second phase of the project is to build cooperation in establishing a community committee for agricultural safety innovation. Promote knowledge, develop a model for community innovation in safe agriculture, and model to promote a community environment. 1-7คณะวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั ราชภัฎวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ 8 สำนักส่งเสรมิ การเรียนร้แู ละบรกิ ารวชิ าการ มหาวิทยาลยั ราชภฎั วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถัมภ์ Success story 13

The results of the project found the following: Participation and volunteerism between the government, schools, youth, village leaders and people, and one group of transformational leaders, the model of innovation in the safe agriculture community was a model of planting sprouts, sprouted sunflower seeds and morning glory to reduce household expenses. It was found that the original average target household's food consumption expenditure was 9,000 baht per month. As a result, target households can reduce their expenditures by 3,000 baht per month, accounting for 33.33 percent. Keywords: Community, Innovation, Safe agriculture บทนำ ตามที่ภาครัฐได้เช่ือมโยงเป้าหมายการพัฒนาที่ย่ังยืนของสหประชาชาติเข้ากับแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ของ ประเทศไทย และยุทธศาสตร์เกษตรและสหกรณ์ 20 ปี ระหวา่ งปี 2560 ถึง ปี 2579 โดยนอ้ มนำเอาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ท่ีเน้นการพัฒนาแบบย่ังยืน โดยคำนึงถึงสิ่งแวดล้อมท่ีอยู่ และใช้หลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดชบรมนาถบพิตร มาเป็นแนวทางในการดำเนินนโยบาย เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต และยกระดับรายได้ของประชาชน แก้ไข ปญั หาเชงิ โครงสรา้ งการผลติ ภาคเกษตร เสริมสร้างความมนั่ คงทางอาหาร พัฒนาโภชนาการและความปลอดภยั ดา้ นอาหาร เพอ่ื นำไปสู่ ความมน่ั คง มงั่ ค่งั และยง่ั ยืน ของประชาชนและประเทศชาติ ซึง่ สมเด็จพระเจ้าอย่หู วั มหาวชริ าลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร รชั กาลที่ 10 ทรงมีพระปณิธานแน่วแน่ที่จะสานต่อโครงการในพระราชดำริของพระราชบิดา เพ่ือช่วยเหลือประชาชนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นมหาวิทยาลัยท่ีพระราชาประสงค์ให้เป็นมหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนา ท้องถิ่น ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฎ พ.ศ. 2547 มาตรา 7 ที่ระบุให้มหาวิทยาลัยเป็นสถาบันอุดมศึกษา เพ่ือการพัฒนา ท้องถ่ินเสริมพลังปัญญาของแผน่ ดิน ซึ่งสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์เพ่ือยกคณุ ภาพมาตรฐานมหาวิทยาลยั ราชภฎั สู่คุณภาพเป็นเลิศ โดยมุ่งเน้น การพัฒนาคุณภาพบัณฑิตสู่นักปฏิบัติอย่างมืออาชีพ การยกคุณภาพมาตรฐานชีวิตของชุมชน ท้องถิ่น และพ้ืนท่ีให้มี ความเข้มแข็งและย่ังยืน พร้อมทั้งสอดคล้องกับยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ในประเด็น ยุทธศาสตรท์ ี่ 3 การพัฒนางานพันธกิจสัมพันธ์ และถ่ายทอด เผยแพร่โครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดำริ โดยมีกลยทุ ธ์ในการสร้าง เครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติจากภายในและภายนอกเพื่อร่วมกันศึกษาแก้ไขปัญหา ของชุมชนท้องถิ่นและเสริมพลังให้ชุมชนท้องถิ่น สามารถดำรงอย่ไู ดอ้ ยา่ งยงั่ ยนื ให้ความสำคัญในการพฒั นาชมุ ชน และท้องถนิ่ ดังนั้น คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมถ์ จึงได้จัดทำ โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตชุมชนและท้องถ่ินในพ้ืนที่ตำบลหน้าไม้ อำเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี โดยมีเป้าหมายเพื่อให้ คนในชุมชนสามารถบริหารจัดการชีวิตตนเองได้อย่างสมดุลและมีความเหมาะสม สามารถดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง รว่ มกับการสง่ เสรมิ ภูมปิ ัญญา ท้องถิ่น เพิม่ คณุ ค่าและมูลค่า เสรมิ เศรษฐกิจฐานรากในชมุ ชนใหม้ คี วาม เขม้ แขง็ มนั่ คง นำไปสู่ การพึง่ พา ตนเองและชว่ ยเหลอื เก้อื กลู กนั ในชุมชนได้อย่างยง่ั ยนื สง่ ผลให้ชุมชนหมบู่ ้านมคี ณุ ภาพชีวติ ทด่ี ี วิธีการดำเนนิ งาน วธิ ีการและขนั้ ตอนการศึกษาบริบทชุมชน ตำบลหน้าไม้ อำเภอลาดหลมุ แกว้ จังหวัดปทุมธานี แบ่งการศึกษาและ ดำเนินการกิจกรรมเปน็ 2 ระยะ และมีรายละเอยี ดของกจิ กรรมย่อยดังต่อไปนี้ 1. กิจกรรมสร้างความรว่ มมือกับหน่วยงานราชการทีเ่ กี่ยวข้อง ศึกษาชมุ ชนและจัดทำฐานข้อมลู ตำบลและจดั ทำ แผนปฏบิ ตั ิการเพ่มิ รายได้ยกระดบั คณุ ภาพชีวติ ของคนในชมุ ชน ในพืน้ ทต่ี ำบลหนา้ ไม้ โครงการระยะที่ 1 2. กิจกรรมสร้างการเรียนรู้ พัฒนาอาชีพ ยกระดับผลิตภัณฑ์ของชุมชน วิสาหกิจชุมชนท้องถิ่น (OTOP) ตำบล หน้าไม้ อำเภอลาดหลมุ แก้ว จงั หวดั ปทุมธานี โครงการระยะที่ 2 Success story 14

ผลการดำเนินงาน ผลที่ได้รับจากการดำเนินโครงการดังนี้ คือ ในเชิงปริมาณ คือ ร้อยละ 80 ของจำนวนครัวเรือนหมู่บ้านเป้าหมาย ในตำบลหน้าไม้ อำเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี ที่เข้าร่วมกิจกรรม บรรลุตามเป้าหมาย โดยผู้เข้ารวมกิจกรรมคือตัวแทนคร้ัว เรือน ตำบลหนา้ ไม้ อำเภอลาดหลมุ แก้ว จังหวัดปทุมธานีหมู่ที่ 1-11 เข้าร่วมกิจกรรมมากกวา่ 80 ครัวเรอื น และรายจ่ายของครัวเรือน กลุ่มเป้าหมายลดลงร้อยละ 10 บรรลุเป้าหมาย เดิมรายจ่ายเก่ียวกับการบริโภคอาหารของครัวเรือนเป้าหมายโดยเฉลี่ย คิดเป็นเงิน 9,000 บาทต่อเดือน หลังจากเข้าร่วมโครงการโดยการนำผกั ปลอดภัยไปบริโภคในครัวเรอื น ทำให้ครัวเรอื นกลุ่มเป้าหมายสามารถลด รายจ่ายลงเฉล่ียเป็นเงิน 3,000 บาทต่อเดือน โดยคิดเป็นร้อยละ 33.33 และในเชิงคุณภาพ เกิดภาคีเครือข่ายความร่วมมือประชารัฐ และกลุ่มผ้นู ำการเปลี่ยนแปลง จำนวน 1 กลมุ่ เกิดต้นแบบนวัตกรรมชุมชนเกษตรปลอดภัย คือ ต้นแบบการปลูกผักปลอดภัย ถ่ัวงอก เมล็ดทานตะวันงอก และผักบุ้ง เพือ่ ลดรายจ่ายในครวั เรอื น และเกิดต้นแบบการสง่ เสริมสิ่งแวดล้อมชุมชน คือ ต้นแบบหนา้ บ้านหน้า มองดว้ ยผกั ปลอดภัย สรุปผลการดำเนนิ งาน เป้าประสงค์ของโครงการคือ การลดรายจ่ายของครัวเรือน โดยการปลูกผักปลอดภัยท่ีโตเร็วมีคุณค่าทางอาหาร และเป็นท่ีต้องการของท้องตลาด การบริโภคผักปลอดภัยเพ่ือสุขภาพพร้อมลดรายจ่ายต่อมื้ออาหาร พบว่า เดิมรายจ่ายเก่ียวกับการ บริโภคอาหารของครัวเรือนเป้าหมายโดยเฉลี่ย คิดเป็นเงิน 9,000 บาทต่อเดือน หลังจากเข้าร่วมโครงการโดยการนำผักปลอดภัยไป บรโิ ภคในครวั เรือน ทำใหค้ รวั เรอื นกลุ่มเปา้ หมายสามารถลดรายจ่ายลงเฉลี่ยเปน็ เงนิ 3,000 บาทต่อเดอื น โดยคิดเปน็ ร้อยละ 33.33 นอกจากนี้ผลพลอยได้จากการดำเนินโครงการ คอื หลังจากท่คี รัวเรือนนำร่องปลกู ผักปลอดภัยและมีผกั เปน็ จำนวน มาก รับประทานในครัวเรือนไม่หมด ก็นำไปแจกจ่ายให้กับเพื่อนบ้าน พร้อมทั้งนำไปจำหน่าย ยกตัวอย่างเมล็ดทานตะวันงอก โดย ครัวเรือนนำไปขายเฉลี่ยกิโลกรัมละ 120 บาท และเมื่อหักต้นทุนแล้ว จะได้กำไรกิโลกรัมละประมาณ 60 บาท จึงสรุปได้ว่าหากมี การจำหน่ายอย่างต่อเนื่องในระยะเวลา 1 เดือน ครัวเรือนสามารถเพิ่มรายได้โดยประมาณ จำนวน 600 บาทต่อเดือน ท้ังนี้ขึ้นอยู่กับ จำนวนของการปลกู แตล่ ะครง้ั ข้อมูลดงั กลา่ วอา้ งองิ จากการสนบั สนนุ งบประมาณและอุปกรณส์ ำหรับการเขา้ ร่วมโครงการ นวตั กรรมท่ีเกดิ ข้ึนในการดำเนินโครงการ 1) เกิดต้นแบบนวัตกรรมชุมชนเกษตรปลอดภัย คือ ต้นแบบการปลูกผักปลอดภัย ถ่ัวงอก เมล็ดทานตะวันงอก และผักบงุ้ เพอ่ื ลดรายจา่ ยในครัวเรอื น 2) เกิดต้นแบบการสง่ เสริมสง่ิ แวดลอ้ มชุมชน คือ ตน้ แบบหนา้ บ้านหน้ามองด้วยผักปลอดภยั ข้อเสนอแนะเชงิ การพัฒนาตอ่ ยอด 1. การเข้าไปต่อยอดโครงการชุมชนนวตั กรรมเกษตรปลอดภัย ให้ไปสู่ความสำเร็จท่เี กี่ยวเน่ืองกับการท่องเที่ยว เชงิ ชุมชนด้วยเอกลักษณ์เกษตรปลอดภัย ซง่ึ เป็นความตอ้ งการของชุมชนอย่างแทจ้ ริง 2. การสนับสนุนต่อยอดและเป็นส่ือกลางระหว่างภาครัฐ กับผู้นำชุมชน ให้มีแนวคิดและร่วมแรงร่วมใจ พฒั นาการทอ่ งเท่ียวเชิงชมุ ชนดว้ ยเอกลักษณเ์ กษตรปลอดภัยไปส่คู วามสำเรจ็ 3. การหาตลาด และการส่งเสริมมาตรฐานสินค้าเกษตรปลอดภัย สู่ตลาดสากลอย่างเป็นรูปธรรม ซ่ึงเป็นช่อง ทางการเพิ่มรายได้ ยกระดับคณุ ภาพชีวติ ของคนในชมุ ชน กติ ตกิ รรมประกาศ คณะผู้ดำเนินโครงการขอกราบขอบพระคุณ องค์การบริหารส่วนตำบลหน้าไม้ ผู้นำหมู่บ้าน หมู่ท่ี 1-11 รวมถึง ประชาชนตำบลหน้าไม้ ที่ให้ความร่วมมือและสนับสนนุ คณะผูด้ ำเนินโครงการ จนกระท่งั โครงการได้ดำเนินการสำเร็จลุล่วงไปไดด้ ้วยดี Success story 15

ขอขอบพระคณุ มหาวทิ ยาลัย ราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถัมภ์ คณาจารยแ์ ละนกั ศึกษาท่ีร่วมลงพื้นทีด่ ้วยความมงุ่ ม่นั ตัง้ ใจ และมจี ิตอาสามุ่งเนน้ การพัฒนาชุมชนและท้องถนิ่ คณะผู้ดำเนนิ โครงการจึงขอขอบพระคณุ ทุกทา่ นเป็นอย่างสงู มา ณ โอกาสนีด้ ้วย เอกสารอา้ งองิ องค์ การบ ริห ารส่ วน ต ำบ ล ห น้ าไม้ , 2562, ป ระวัติ ต ำบ ล ห น้ าไม้ , เข้าถึงเม่ื อ พ ฤศ จิ กาย น 2562 , เข้าถึงได้ จ าก http://namaipathum.go.th/public/history/data/index/menu/22. อ ง ค์ ก า ร บ ริ ห า ร ส่ ว น ต ำ บ ล ห น้ า ไม้ , 2 5 6 2 , ลั ก ษ ณ ะ ท่ี ตั้ ง , เข้ า ถึ งเม่ื อ พ ฤ ศ จิ ก า ย น 2 5 6 2 , เข้ า ถึ ง ได้ จ า ก http://namaipathum.go.th/public/location/data/index/menu/24. อ งค์ ก า ร บ ริ ห า ร ส่ ว น ต ำ บ ล ห น้ า ไม้ , 2 5 6 2 , ลั ก ษ ณ ะ สั งค ม , เข้ า ถึ งเม่ื อ พ ฤ ศ จิ ก า ย น 2 5 6 2 , เข้ า ถึ งได้ จ า ก http://namaipathum.go.th/public/social/data/index/menu/25. อ งค์ ก าร บ ริห าร ส่ วน ต ำบ ล ห น้ าไม้ , 2 5 62 , ลั ก ษ ณ ะ เศ รษ ฐกิ จ , เข้ าถึ งเม่ื อ พ ฤ ศ จิ ก าย น 25 62 , เข้ าถึ งได้ จ า ก http://namaipathum.go.th/public/economy/data/index/menu/26. อ งค์ ก ารบ ริห ารส่ วน ต ำบ ล ห น้ าไม้ , 25 62 , ลั ก ษ ณ ะ ท รัพ ย าก ร , เข้าถึ งเม่ื อ พ ฤ ศ จิ ก าย น 2562 , เข้ าถึ งได้ จ าก http://namaipathum.go.th/public/resource/data/index/menu/126. อ งค์ ก าร บ ริห าร ส่ วน ต ำบ ล ห น้ าไม้ , 25 6 2 , โค ร งส ร้างพ้ื น ฐาน , เข้ าถึ งเมื่ อ พ ฤ ศ จิ ก าย น 2 56 2 , เข้ าถึ งได้ จ า ก http://namaipathum.go.th/public/infrastructure/data/index/menu/27. อ งค์ ก า ร บ ริ ห า ร ส่ ว น ต ำ บ ล ห น้ า ไม้ , 2 5 6 2 , ข้ อ มู ล ป ร ะ ช า ก ร , เข้ า ถึ งเม่ื อ พ ฤ ศ จิ ก า ย น 2 5 6 2 , เข้ า ถึ งได้ จ า ก http://namaipathum.go.th/public/communityinfo/data/index/menu/177. อ ง ค์ ก า ร บ ริ ห า ร ส่ ว น ต ำ บ ล ห น้ า ไม้ , 2 5 6 2 , ผู้ น ำ ห มู่ บ้ า น , เข้ า ถึ ง เม่ื อ พ ฤ ศ จิ ก า ย น 2 5 6 2 , เข้ า ถึ ง ได้ จ า ก http://namaipathum.go.th/public/person/data/mono/structure_id/17/menu/32. องค์การบริหารส่วนตำบลหน้าไม้, 2562, สถานที่สำคัญ, เข้าถึงเมื่อ พฤศจิกายน 2562, เข้าถึงได้จาก http://namaipathum.go.th/public/landmark/data/list/menu/138. Success story 16

ก า ร เ พ่ิ ม มู ล ค่ า สิ น ค้ า จ า ก ก า ร แ ป ร รู ป ไ ข่ เ ป็ ด เ ป็ น ไ ข่ เ ค็ ม ดิ น ร ะ แ ห ง แ ล ะ ก า ร ส ร้ า ง อั ต ลั ก ษ ณ์ สิ น ค้ า โ ค ร ง ก า ร ย ก ร ะ ดั บ คุ ณ ภ า พ ชี วิ ต ชุ ม ช น แ ล ะ ท้ อ ง ถ่ิ น ตำบลระแหง อำเภอลาดหลมุ แก้ว จังหวดั ปทุมธานี 1 *องอาจ ทับบุรี กันยารัตน์ เอกเอีย่ ม 2อำพล เทศดี 3กนกนาฎ พรหมนคร และ 4ภทั รเวช ธาราเวชรักษ์ *Corresponding author: [email protected] ………………………………………………………………………………. บทคดั ย่อ ปีงบประมาณ 2563 คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถมั ถ์ ไดจ้ ัดทำโครงการ ยกระดับพัฒนาคุณภาพชีวิตชุมชนและท้องถิ่น กิจกรรมสร้าง การเรียนรู้ พัฒนาอาชพี ยกระดับผลิตภัณฑ์ของชุมชน วสิ าหกิจชมุ ชนท้องถิ่น (OTOP) ในพ้ืนที่ ตำบลระแหง อำเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี โดยมี วัตถุประสงค์เพ่ือดำเนินงานตามรูปแบบชุมชนนวัตกรรมประเด็นชุมชน ภาพท่ี 1 แผนที่ตำบลระแหง วิสาหกิจเข้มแข็งตำบลระแหง โดยการรวมกลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดเพื่อ ดำเนินกิจกรรม การเพิ่มมูลค่าสินค้าจากการแปรรูปไข่เป็ดเป็นไขเ่ ค็ม และการสร้างอัตลักษณ์สินค้า โดยการนำไข่เป็ดท่ีได้จากเกษตรกรผู้เลี้ยงเป็ดในชุมชนมาแปรรูปเป็นไข่เค็มท่ีใช้ดินและวัสดุท้องถ่ินเป็น วัตถุดิบหลักในการหมักไข่เค็ม ตลอดจนการสร้างอัตลักษณ์สินค้า เพื่อสร้างบรรจุภัณฑ์ที่เป็นเอกลักษณ์และดึงดูดใจผู้บริโภค โดยการ สังเคราะห์แนวความคิดของผู้ผลิตและการใช้วัสดุที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อมมาจัดทำเป็นบรรจุภัณฑ์ และตราสินค้า จนทำให้รายได้ เฉล่ียตอ่ ครวั เรือนก่อนดำเนินโครงการเทา่ กับ 13,500 บาท/เดือน หลังจากดำเนนิ โครงการรายได้เฉลีย่ ต่อครวั เรือนเพ่มิ ข้ึน 1,820 บาท/ เดอื น คดิ เป็นร้อยละ 13.48 คำสำคัญ: ตำบลระแหง ไขเ่ ป็ด ไขเ่ คม็ Abstract In the fiscal year 2563, the faculty of industrial technology of Valaya Alongkorn Rajabhat University under the Royal Patronage implemented the project of quality improvement of community life and localities. In this project, the design learning process, career development, standards improvement of the local products and local community enterprises were operated at an area of Rahaeng sub-district, Lat Lum Kaeo district, Pathum Thani. The purpose of this project is the implement of Rahaeng innovation community model. The duck egg from the group of a local farmer is processed to the salted egg. Moreover, the packaging is designed and produced with local identity logo and environmentally friendly material. As a result, it shows that the household earning before the implementation was 1สาขาวชิ าเทคโนโลยีไฟฟา้ อตุ สาหกรรม คณะเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม มหาวทิ ยาลัยราชภฏั วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถมั ภ์ 2สาขาวิชาวศิ วกรรมการจดั การอตุ สาหกรรม คณะเทคโนโลยอี ุตสาหกรรม มหาวิทยาลยั ราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ 3สาขาวชิ าออกแบบผลติ ภณั ฑ์อุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยอี ุตสาหกรรม มหาวิทยาลยั ราชภฏั วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ 4สำนักสง่ เสรมิ การเรียนร้แู ละบริการวชิ าการ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ Success story 17

13,500 baht/month. After the project was implemented, the average household earnings increased 1,820 baht/month or 13.48%. Keywords: Rahaeng sub district, duck egg, salted egg. บทนำ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นมหาวิทยาลัยท่ีพระราชาประสงค์ให้เป็น มหาวิทยาลัยเพ่ือการพัฒนาท้องถ่ิน ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฎ พ.ศ. 2547 มาตรา 7 ที่ระบุให้มหาวิทยาลัยเป็น สถาบันอุดมศึกษา เพื่อการพัฒนาท้องถิ่นเสริมพลังปัญญาของแผ่นดิน ซ่ึงสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์เพ่ือยกคุณภาพมาตรฐาน มหาวิทยาลัยราชภัฎสู่คณุ ภาพเป็นเลิศ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพบณั ฑิตสู่นักปฏิบัติอย่างมอื อาชีพ การยกคุณภาพมาตรฐานชีวิต ของชุมชน ท้องถิ่น และพ้ืนที่ให้มีความเข้มแข็งและยั่งยืน พร้อมทั้งสอดคล้องกับยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ในประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนางานพันธกิจสัมพันธ์ และถ่ายทอด เผยแพร่โครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดำริ โดยมีกลยุทธ์ในการสร้างเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติจากภายในและภายนอก เพื่อร่วมกันศึกษาแก้ไขปัญหาของชุมชน ท้องถนิ่ และเสริมพลงั ให้ชมุ ชนท้องถ่นิ สามารถดำรงอยูไ่ ด้อย่างยง่ั ยืน ใหค้ วามสำคัญในการพัฒนาชุมชน และท้องถนิ่ ดงั น้ันคณะเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภฏั วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมถ์ จงึ ได้จดั ทำโครงการ ยกระดับพัฒนาคุณภาพชีวิตชุมชนและท้องถิ่น กิจกรรมสร้างการเรียนรู้ พัฒนาอาชีพ ยกระดับผลิตภัณฑ์ของชุมชน วิสาหกิจชุมชน ท้องถิ่น ในพ้ืนที่ ตำบลระแหง อำเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี โดยมีเป้าหมายเพื่อให้คนในชุมชนสามารถบริหารจัดการชีวิต ตนเองได้อย่างสมดุลและมีความเหมาะสม สามารถดำรงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ร่วมกับการส่งเสริมภูมิปัญญา ท้องถิ่น เพิ่มคุณคา่ และมูลคา่ เสริมเศรษฐกิจฐานรากในชมุ ชน เสริมสรา้ งและพัฒนาส่ิงแวดล้อมชมุ ชน และการจดั การชุมชนตามแนว ทางการพัฒนาสังคม ในรูปแบบการรวมกลุ่มทางสังคม สร้างผู้นำชุมชน และปลูกฝังจิตอาสาให้กับประชาชน เพื่อให้ชุมชนมีความ เขม้ แข็ง ม่ันคง นำไปสู่การพึง่ พาตนเองและชว่ ยเหลือเก้ือกูลกันในชุมชนไดอ้ ย่างยั่งยืน สง่ ผลใหช้ มุ ชนส่งิ แวดล้อมและคณุ ภาพชีวิตตาม แนวทางปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง วิธีการดำเนินงาน การดำเนินโครงการคณะผู้ดำเนินการมุ่งเน้นการสร้างกรอบปัญหาและความต้องการของชุมชนระดับตำบล เพ่ือ กำหนดแผนปฏิบัตกิ ารแบบมีสว่ นรว่ มของชุมชนในการวางแนวทางลดปัญหาความยากจนของประชาชนและยกระดบั ขีดความสามารถ ของเศรษฐกิจรากฐาน การจัดการสิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม ตำบลระแหง อำเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี วิธีการการดำเนิน แผนงานเน้นไปที่การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research) ซึ่งเป็นการบูรณาการการวิจัยแบบมีส่วน ร่วม และการวิจัยเชิงคุณภาพ (Quantitative Research) เพื่อให้ได้มาซ่ึงแผนพัฒนาชุมชนท่ีจะสามารถลดความเหลื่อมล้ำใน การยกระดับรายได้ของประชาชนนวัตกรรมและกระบวนการทางความคิดสร้างสรรค์ที่จะเพ่ิมมูลค่าทรัพยากรที่ไม่ก่อประโยชน์ใน ชุมชนให้เกิดประโยชน์อันส่งผลให้ประชาชนมีรายได้ที่เพิ่มสูงข้ึนกระบวนการลดปัญหาความยากจนท่ีเหมาะกับการเข้าถึงของ ประชาชนทุกวัยไดอ้ ย่างทว่ั ถงึ และยง่ั ยนื และเผยแพรอ่ งค์ความรู้สู่ประชาชนกลุ่มอ่นื ๆ ไดโ้ ดยมีขนั้ ตอนดงั ต่อไปนี้ 1. สร้างความร่วมมือกับหน่วยงานราชการที่เก่ียวข้อง ดำเนินการจัดทำปฏิทินการลงพื้นท่ีศึกษาข้อมูลและ ยกระดับพัฒนาคุณภาพชีวิตชุมชนและท้องถิ่นเข้าพบและแสวงหาความร่วมมือจากหน่วยงานภาครัฐและข้อปรึกษาหารือทิศทาง การพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนตำบลระแหง ไดแ้ ก่ นายอำเภอ สว่ นงานปกครองอำเภอ พัฒนาการอำเภอ เกษตรอำเภอ ณ ทีว่ ่า การอำเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี กำนันตำบลระแหง องค์การบริหารส่วนตำบลระแหง และเทศบาลตำบลระแหง เพื่อขอ ปรึกษาหารอื เกีย่ วกับทิศทางการดำเนนิ โครงการ และขอฐานขอ้ มูลตำบลเบอ้ื งต้น 2. ศึกษาชุมชนและจดั ทำฐานข้อมูลตำบลระแหง ดำเนินการประมวลผลรวบรวมขอ้ มูลจากเอกสารฐานขอ้ มูลท่ี เก่ยี วข้องของตำบลระแหง โดยใช้ข้อมูลจากบัตรสวัสดิการแหง่ รฐั และเกณฑ์ความจำเป็นข้ันพ้ืนฐาน (จปฐ.) ที่ตกเกณฑข์ องพัฒนาการ Success story 18

จังหวัดจัดประชุมผู้นำชุมชนท้ังตำบลระแหง ได้แก่ ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน และผู้นำชุมชน เพื่อวางกรอบในการพัฒนาร่วมกัน รวมท้ังคัดเลือกเป้าหมายในการพัฒนาศึกษาพื้นที่ เย่ียมชมรวบรวมข้อมูลภาคสนามจากพ้ืนท่ีของตำบลร่วมกับเครือข่ายประชารัฐ 3 คร้ัง ในการเก็บขอ้ มูล OP3 รวมทั้งศึกษาบริบทชุมชนในภาพรวม ศึกษา ประเมินศักยภาพ ปัญหา ทุนของชุมชนจัดเวทปี ระชมุ เสวนา คนื ข้อมูลให้กับชุมชนจัดทำรายงานผลการศึกษาชุมชน และครัวเรือนเป้าหมาย จัดทำฐานข้อมูลตำบล (OP2 และ OP3) และประชุม เชงิ ปฏบิ ัตกิ ารแบบมีส่วนร่วมเพือ่ (PAR) กำหนดแผนการพัฒนาชุมชนรว่ มกับคนในชมุ ชน และครัวเรอื นเป้าหมายในตำบลระแหง 3. จดั ทำแผนปฏิบัติการเพ่ิมรายไดย้ กระดับคณุ ภาพชีวติ ของคนในชุมชน 4. ประชุมเชิงปฏิบัติการแปรรูปไข่เป็ดเป็นไข่เค็มโดยใช้ทรัพยากรท้องถิ่น โดยการนำไข่เป็ดที่ได้จากเกษตรกร ผู้เล้ียงเปด็ ในชุมชนมาแปรรูปเปน็ ไขเ่ คม็ ทใ่ี ช้ดินและวัสดุท้องถ่นิ เปน็ วัตถดุ ิบหลกั ในการหมกั ไขเ่ ค็ม 5. ประชุมเชิงปฏิบัติการการสร้างอัตลักษณ์สินค้า เพ่ือสร้างบรรจุภัณฑ์ที่เป็นเอกลักษณ์และดึงดูดใจผู้บริโภค โดยการสงั เคราะห์แนวความคดิ ของผูผ้ ลติ และใชว้ สั ดุท่ีเป็นมติ รกบั สิ่งแวดลอ้ มมาจดั ทำเปน็ บรรจุภัณฑ์ และตราสินคา้ 6. กิจกรรมส่งเสริมผู้ผลิตให้เข้าสู่ตลาดออนไลน์ และตลาดนัดชุมชน โดยการสร้างช่องทางการโฆษณาสินค้า และการจำหน่ายสนิ ค้าผา่ นระบบออนไลน์ และตลาดนัดชมุ ชนทีด่ ำเนนิ การโดยจิตอาสาภายในตลาดนดั ชุมชน 7. สรปุ ผล และจัดทำรายงานความสำเร็จโครงการ ผลการดำเนนิ งาน หลังจากได้มกี ารศึกษาบรบิ ทชมุ ชนตำบลระแหง อำเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทมุ ธานี ในภาพรวม มกี ารประเมิน ศักยภาพ ศึกษาปัญหา ทุนของชุมชน รวมถึงจัดเวทีประชุมเสวนาคืนข้อมูลให้กับชุมชน จัดทำรายงานผลการศึกษาชุมชน และ ครัวเรือนเป้าหมาย จัดทำฐานข้อมูลตำบล และประชุมเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเพื่อกำหนดแผนปฏิบัติการเพิ่มรายได้ยกระดับ คณุ ภาพชีวติ ของคนในชุมชนร่วมกบั คนในชมุ ชน และครวั เรอื นเป้าหมายในตำบลระแหงนน้ั ได้เกิดนวตั กรรมขน้ึ ในชุมชุน คือ ไข่เค็มดิน ระแหง ซึ่งเป็นการแปรรปู ไข่เป็ดเป็นไข่เค็มโดยใชท้ รัพยากรท้องถ่ิน โดยการนำไข่เป็ดท่ีได้จากเกษตรกรผู้เล้ียงเปด็ ในชุมชนมาแปรรูป เป็นไข่เค็ม ท่ีใช้ดินและวัสดุ ท้องถิ่นเป็นวัตถุดิบหลักในการหมักไข่เค็ม อีกท้ังยังมีการสร้างบรรจุภัณฑ์ท่ีเป็นเอกลักษณ์และดึงดูดใจ ผู้บรโิ ภค โดยการสังเคราะห์แนวความคดิ ของผู้ผลิต และใชว้ ัสดุที่เปน็ มติ รกับสิง่ แวดล้อมมาจดั ทำเปน็ บรรจุภัณฑ์ และตราสินค้า จนทำ ใหร้ ายไดเ้ ฉล่ยี ต่อครัวเรือนก่อนดำเนนิ โครงการเท่ากบั 13,500 บาท/เดอื น หลังจากดำเนิน ภาพท่ี 2 การสำรวจความต้องการของชุมชนและอบรมเชิงปฏบิ ตั กิ าร ภาพท่ี 3 ผลการอบรมเชิงปฏิบตั ิการเพอื่ จดั ทำผลติ ภณั ฑ์ไขเ่ คม็ ดินระแหง Success story 19

โครงการรายได้เฉลี่ยต่อครัวเรือนเพ่ิมขึ้น 1,820 บาท/เดือน คิดเป็นร้อยละ 13.48 ทั้งน้ีผลิตภัณฑ์ไข่เค็มดินระแหงที่ได้จัดทำขึ้นมี ลักษณะเด่นคือเป็นไข่เค็มแบบแยกส่วนประกอบ โดยผู้ท่ีซ้ือผลิตภัณฑ์ไปสามารถผสมไข่เค็มและหมักท้ิงไว้ได้ด้วยตนเองตามคู่มือที่ จัดทำไว้ สรปุ ผลการดำเนนิ งาน เกษตรกรผู้เล้ยี งเปด็ และประชาชนผ้สู นใจเข้าร่วมกจิ กรรมการเพ่ิมมูลค่าสนิ ค้าจากการแปรรปู ไข่เป็ดเปน็ ไขเ่ ค็มดิน ระแหง และการสรา้ งอตั ลักษณ์สินค้าได้มีความรู้ ความเขา้ ใจ ตลอดจนมีทกั ษะในการนำดินระแหง และไข่เปด็ จากเกษตรกรในพน้ื ที่มา พฒั นาเปน็ ผลติ ภัณฑไ์ ขเ่ คม็ ดินระแหง ซงึ่ มีลกั ษณะเดน่ คอื เป็นไขเ่ ค็มแบบแยกส่วนประกอบ โดยผู้ท่ีซ้ือผลติ ภัณฑไ์ ปสามารถผสมไข่เค็ม และหมกั ทงิ้ ไวไ้ ดด้ ว้ ยตนเอง ครวั เรือนเป้าหมายท่ีเข้าร่วมกิจกรรมสามารถนำไข่เป็ดมาจัดจำหน่ายในรูปแบบไข่เค็มดินระแหง จนทำให้รายได้ เฉล่ียต่อครัวเรือนก่อนดำเนินโครงการเท่ากับ 13,500 บาท/เดือน หลังจากดำเนินโครงการรายได้เฉลี่ยต่อครัวเรือนเพ่ิมข้ึน 1,820 บาท/เดือน คดิ เป็นร้อยละ 13.48 นวัตกรรมไข่เค็มดินระแหง ซ่ึงเป็นการแปรรปู ไข่เป็ดเป็นไข่เคม็ โดยใชท้ รัพยากรทอ้ งถ่ิน โดยการนำไข่เปด็ ท่ีได้จาก เกษตรกรผ้เู ล้ียงเป็ดในชุมชนมาแปรรปู เปน็ ไขเ่ คม็ ทีใ่ ช้ดนิ และวสั ดุทอ้ งถ่ินเปน็ วัตถุดบิ หลกั ในการหมกั ไขเ่ ค็ม ขอ้ เสนอแนะเชงิ การพัฒนาตอ่ ยอด การนำสมุนไพรทมี่ ีอยูใ่ นพน้ื ทตี่ ำบลระแหง อำเภอลาดหลมุ แกว้ จงั หวัดปทุมธานี มาพฒั นาเป็นสูตรในการหมักไข่ เค็มดินระแหง กติ ติกรรมประกาศ การดำเนินโครงการยกระดับคุณภาพชวี ติ ชุมชนและท้องถ่ิน สง่ิ แวดลอ้ ม และวฒั นธรรม กจิ กรรม สร้างการเรียนรู้ พัฒนาอาชีพ ยกระดับผลิตภณั ฑข์ องชุมชน วิสาหกจิ ชมุ ชนท้องถิน่ (OTOP) ตำบลระแหง อำเภอลาดหลมุ แกว้ จังหวัดปทุมธานี ตำบล ระแหง อำเภอลาดหลมุ แก้ว จังหวดั ปทมุ ธานี คณะผูด้ ำเนินโครงการขอกราบขอบคุณท่านผวู้ ่าราชการจังหวดั ทา่ นพฒั นาชุมชนจงั หวัด และหน่วยงานราชการระดับจังหวัดปทุมธานี ท่านนายอำเภอลาดหลุมแก้ว สำนักงานพัฒนาชุมชน สำนักงานเกษตรอำเภอ และ หน่วยงานราชการระดับอำเภอลาดหลมุ แกว้ คณะผบู้ ริหารมหาวิทยาลัยและคณะเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม สำนกั สง่ เสรมิ การเรยี นรแู้ ละ บริการวชิ าการ องค์การบรหิ ารส่วนตำบลระแหง เทศบาลตำบลระแหง กำนนั ตำบลระแหง ผู้นำชุมชนทใี่ หค้ ำแนะนำและสนับสนุนการ ดำเนนิ โครงการ และขอขอบคุณประชาชนตำบลระแหงทุกทา่ นที่ให้ความรว่ มมือในการทำกจิ กรรม จนทำใหก้ ารดำเนินโครงการสำเร็จ ลุลว่ งไปดว้ ยดี Success story 20

วิ ถี วั ฒ น ธ ร ร ม ช า ว ม อ ญ ริ ม น้ ำ เ จ้ า พ ร ะ ย า โ ค ร ง ก า ร ย ก ร ะ ดั บ คุ ณ ภ า พ ชี วิ ต ชุ ม ช น แ ล ะ ท้ อ ง ถ่ิ น ตำบลบา้ นง้ิว อำเภอสามโคก จังหวดั ปทมุ ธานี *ศริ ิขวัญ บญุ ธรรม1 จิระศักด์ิ สงั เมฆ2 ประกาศติ ประกอบผล3 และรวธิ ร ฐานัสสกลุ 4 *Corresponding author: [email protected] ………………………………………………………………………………. บทคดั ยอ่ โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตชุมชนและทองถ่ินใน พื้นที่ตําบลบ้านง้ิว อําเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี มเี ปาหมายเพื่อใหคน ในชุมชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น เป็นโครงการที่มีวัตถุประสงค์เพ่ือส่งเสริม การยกระดับคุณภาพชีวิตชุมชนตำบลบ้านง้ิว อำเภอสามโคก จังหวัด ปทุมธานี โดย 1) การสง่ เสริมเศรษฐกิจฐานรากในชมุ ชน โดยการออกแบบ ผลิตภัณฑ์พริกแกง 2) การอนุรักษ์สืบสานวิถีวัฒนธรรมสไบมอญ โดยการทำสื่อวิดีทัศน์เพื่อเผยแพร่วัฒนธรรมชาวมอญ และ 3) การส่งเสริมการปลูกผักสวนครัวปลอดสาร โดยการส่งเสริมชักชวนให้ชุมชนร่วมกันปลูกผักปลอดสารไว้บริโภคภายในครัวเรือน บนฐานของความพออยู่ พอกิน และพอเพยี ง จากการดำเนินโครงการ มีผลการดำเนินการ ดังนี้ 1) มีการออกแบบบรรจุภัณฑ์พริกแกงให้ชุมชนเพื่อขยายฐาน รากเศรษฐกิจชุมชนให้มีความโดดเด่น และพัฒนาตลาดออนไลน์เพื่อให้สามารถพึ่งพาตนเองทางเศรษฐกิจได้อย่างเข้มแข็ง 2) มีการจัดทำส่ือวิดีทัศน์วิถีชีวิตชุมชนมอญหรือชาวไทยรามัญ ด้านวัฒนธรรมผ้าสไบมอญ ที่มีความสัมพันธ์เก่ียวข้องกับประเพณี สงกรานต์ การแห่หางหงส์ ธงตะขาบ การแต่งกายดว้ ยชุดมอญท่ถี ักทออยา่ งประณีตบรรจง มีศรัทธาในบวรพระพุทธศาสนาอยา่ งม่ันคง และ 3) มกี ารส่งเสรมิ ใหช้ าวชมุ ชนเข้ารว่ มโครงการปลกู ผักสวนครัวปลอดสารไว้บรโิ ภคเองภายในครวั เรอื น รายได้เฉล่ียของครัวเรือน 40 ครัวเรือนท่ีเข้าร่วมกิจกรรมการพัฒนาด้านเศรษฐกิจ ก่อนดำเนินโครงการเท่ากับ 9,096.25 บาท/เดอื น หลังจากดำเนนิ กจิ กรรมครัวเรอื นมรี ายได้เพมิ่ ข้นึ เปน็ 12,800 บาท/เดอื น คดิ เป็นรายได้เพม่ิ ขึ้นรอ้ ยละ 40.71 คำสำคัญ: วิถีวัฒนธรรม, ชาวมอญ, เศรษฐกิจฐานราก, ผกั ปลอดสาร Abstract \"Cultural way of the Mon people of the bank of the Chao Phraya\", it is a project aimed at enhancing the quality of life of people at Baan Ngio sub-district, Sam Khok District, Pathum Thani province by 1) Strengthen the foundational economy in the community by curry pastes product design 2) Conserve and carry on the way of \"Sabi - Mon\" cloth culture by making media to promote the culture 3) Promote the organic cultivation of vegetables by persuading the community to grow vegetables without using the chemical for consumption in the household, which approaching the basis of self-sufficiency. From the implementation of the project, the results of operations stand as follows: 1) The package designing and the online marketing for the pastes was developing, which will lead to the growth of the community's economy. 2) The media 1,2 สาขาวชิ าการพัฒนาชุมชน คณะมนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถัมภ์ 3 สาขาวชิ าจิตวทิ ยา คณะมนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถมั ภ์ 4 สำนกั สง่ เสริมการเรยี นรูแ้ ละบริการวิชาการ มหาวิทยาลยั ราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถัมภ์ Success story 21

for promoting the Mon (or the Thai Raman people) community lifestyle and \"Sabi -Mon\" cloth culture were created 3) the community was encouraged to participate in the project of growing organic vegetables for home consumption. The median income of 40 households that participate in the activities before/after implementing the project shows the growth of the median from 9,096.25 baht/month to 12,800 baht/month, which represents a surprisingly increase of 40.71%. Keywords: Cultural way, Mon people, foundational economy, organic vegetables บทนำ วิถีชีวิต เป็นแบบแผนการดำเนินชีวิตของชาติพันธุ์มนุษย์ ซ่ึงข้ึนอยู่กับวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี กฎระเบียบเฉพาะกลุ่มซ่ึงได้กำหนดกฎเกณฑ์ข้ึนมา และสืบสานตกทอดกันมาจากรุ่นสู่รุ่น อาจมีการเปล่ียนแปลงไปตามยุคสมัยหรือ ตามปัจจัยแวดล้อมของบริบทสังคมท่ีมีอิทธิพล ทำให้เกิดพลวัตขับเคล่ือนความเคล่ือนไหวภายในชุมชนหรือสังคมนั้น ๆ ท้ังทางตรง ทางออ้ ม ทง้ั รตู้ ัวหรืออาจไมร่ ตู้ ัว มอญหรือชาวไทยรามัญ เปน็ ชนชาติหนึ่งทมี่ ีอารยธรรมรงุ่ เรืองมาก เคยเป็นใหญ่อยู่ทางตอนใต้ของประเทศพม่า มี ภาษาพูดอยใู่ นตระกูลมอญ-เขมร และมอี ักษรของตนเองใช้ (ราชบณั ฑิตยสถาน, 2546 : 842) ซง่ึ ได้อพยพมาพึ่งพิงพระบรมโพธสิ มภาร ในสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ตัง้ แต่สมัยกรงุ ศรีอยธุ ยา กระจายอยูบ่ รเิ วณริมแม่น้ำเจา้ พระยา ต้งั บ้านเรือนอยู่ท่ัวไปตามท่ลี าบลุ่ม เช่น มอญเกาะเกร็ด จังหวัดนนทบุรี หรือมอญสามโคก จังหวัดปทุมธานีและจังหวัดอ่ืน ๆ มีวัฒนธรรมที่โดดเด่น เช่น ศิลปะดนตรี ไดแ้ ก่ มอญชมจันทร์ มอญรำดาบ หรอื มอญร้องไห้ มีประเพณีสงกรานต์ การแห่หางหงส์ ธงตะขาบ มีการแต่งกายด้วยชดุ มอญพงิ พาด ด้วยสไบมอญท่ีทักทออย่างประณีตบรรจง มีข้าวแช่ท่ีจัดทำด้วยความละเมียดละมัย มีอุ่นไอจิตท่ีศรัทธาในบวรพระพุทธศาสนา เพื่อ เป็นการนอ้ มรำลกึ บชู าถึงองค์พระสัมมาสมั พทุ ธเจา้ เสดจ็ กลับจากสวรรคโลกช้นั ดาวดึงส์ ดังนนั้ การจัดทำโครงการยกระดับคณุ ภาพชวี ิตชุมชนและท้องถิ่นนั้น จำเป็นตอ้ งเข้าใจ เข้าถึงบริบทของชุมชนหรือท้องถ่ิน ให้ถอ่ งแท้ ทัง้ ดา้ นทนุ ทางวฒั นธรรมทีท่ ำความเจริญงอกงามใหแ้ ก่ชมุ ชน และทนุ ทางสงั คมทม่ี คี วามสมั พันธต์ อ่ เนื่องกับตามระเบียบ กฎเกณฑ์ โดย มีวตั ถปุ ระสงคส์ ำคญั รว่ มกัน (ราชบัณฑิตยสถาน: 2546 : 1159) เพือ่ ศึกษาวิเคราะห์แนวทางการพฒั นาให้ตรงตามความต้องการของชุมชน ตลอด ถงึ การส่งเสรมิ การพ่ึงพาตนเองของชมุ ชนให้มคี วามเข้มแขง็ ย่งั ยนื วิธกี ารดำเนนิ งาน การดำเนนิ โครงการยกระดบั คุณภาพชวี ิตและท้องถิ่นครง้ั นี้ เบ้ืองต้นได้สำรวจคน้ หาศักยภาพเพื่อการพัฒนาใหต้ รง ตามบริบทของชุมชนอย่างแท้จริง ปรึกษาแนวทางการพัฒนากับชุมชนและเสนอแผนการพัฒนากับมหาวิทยาลัยเพื่อเห็นชอบกับ แผนพัฒนาดังกลา่ ว และได้เร่ิมดำเนนิ การตามแผนทกี่ ำหนดไว้ มีการแบ่งลกั ษณะการดำเนินงานเป็น 3 กจิ กรรม โดยมวี ธิ ีการดงั นี้ 1. การออกแบบบรรจุภัณฑพ์ ริกแกงและตราสินค้า 1.1 สำรวจบรรจภุ ัณฑ์เดิมทีช่ มุ ชนใช้บรรจพุ รกิ แกงและตราสนิ คา้ 1.2 เชญิ ชมุ ชนเข้าร่วมประชมุ เพ่อื สำรวจความตอ้ งการแบบบรรจุภณั ฑแ์ ละตราสนิ คา้ ใหม่ 1.3 ให้ชุมชนร่วมกันออกแบบบรรจุภัณฑ์และตราสนิ คา้ ใหม่ตามความตอ้ งการ 1.4 รว่ มกนั เสนอความคิดเห็นและลงมตคิ ดั เลือกรูปแบบบรรจุภัณฑแ์ ละตราสนิ คา้ 1.5 ดำเนนิ การให้จัดผลติ บรรจุภณั ฑแ์ ละตราสนิ ค้า 1.6 มอบบรรจภุ ัณฑ์พร้อมตราสินค้าใหแ้ กช่ มุ ชน 2. การจดั ทำส่ือวดิ ีทัศนเ์ กี่ยวกับวัฒนธรรมสไบมอญ 2.1 สำรวจศกึ ษาขอ้ มลู ความเป็นมาของวฒั นธรรมสไบมอญทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั วิถีชมุ ชน 2.2 จดั ทำเอกสารเน้อื หาสารคดีวฒั นธรรมสไบมอญ Success story 22

2.3 ติดตอ่ ประสานงานผนู้ ำชมุ ชน ปราชญ์ชมุ ชน เพือ่ นดั แนะการจดั ทำสอ่ื สารคดี 2.4 ดำเนินการลงพ้ืนที่ถา่ ยทำสอ่ื ตามสถานทีส่ ำคัญของชุมชนท่ีเกี่ยวข้องกบั เนอื้ หา 2.5 ดำเนนิ การตัดต่อ เรยี บเรียงปรบั แต่งให้สมบรู ณ์ตรงตามเน้อื หาทีก่ ำหนด 3. การสง่ เสริมการปลูกผกั สวนครวั ปลอดสารบริโภคภายในครัวเรือน 3.1 เชิญชุมชนเข้าร่วมประชุม เพ่ือสำรวจความต้องการชนิดผักสวนครัวโดยการแจกเอกสารเพ่ือบันทึกชนิด ผกั ท่ตี ้องการและมีกจิ กรรมอบรมเรื่องปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 3.2 จดั หาเมลด็ พันธุ์ผัก กล้าพนั ธุ์และอปุ กรณ์เพาะปลูกท่ีสอดคล้องกับความต้องการของชุมชน 3.3 ดำเนินการเพาะพันธุ์ผักบางส่วนและจัดกิจกรรมอบรมการทำปุ๋ยน้ำหมักชีวภาพจากผลไม้และจุลินทรยี ์ สังเคราะหแ์ สงให้แกช่ มุ ชน 3.4 นัดแนะวันเวลากับชาวชุมชนเพื่อรับมล็ดพันธุ์และกล้าพันธ์ุที่ได้เพาะไว้ที่มหาวิทยาลัยและ โรงเรือนเพาะชำของชมุ ชน ร่วมทัง้ อปุ กรณเ์ พาะปลกู เช่นกระถาง ดนิ สำหรบั เพาะปลกู 3.5 นำเมล็ดพันธุ์ กล้าพันธุ์และอุปกรณ์เพาะปลูกไปแจกจ่ายให้แก่ชุมชนตามครัวเรือนที่ได้สมัครเข้าร่วม โครงการ โดยผู้นำชุมชน (ผู้ใหญ่บ้าน) นำรถยนต์มารับอุปกรณ์เพาะปลูก กล้าพันธุ์และเมลด็ พนั ธ์ุไปส่งให้คนในหมู่บ้านของตน และให้ นกั ศกึ ษาช่วยงานปลูกกล้าพนั ธใุ์ หช้ าวบา้ นผู้สูงอายุบางสว่ น ผลการดำเนินงาน การดำเนนิ การโครงการยกระดบั คณุ ภาพชีวิตชุมชนและท้องถน่ิ มีการสำรวจศักยภาพชุมชนเพ่ือการพฒั นาให้ตรง ตามความตอ้ งการของชมุ ชน ตามแผนที่ได้กำหนดไว้ภายในระยะเวลา โดยไดแ้ บ่งย่อยกิจกรรม เป็น 3 สว่ น มผี ลการดำเนนิ งานดงั น้ี 1. การออกแบบบรรจุภัณฑ์พรกิ แกงและตราสินค้า จากการดำเนินกิจกรรมดังกลา่ ว มีผลการดำเนนิ การดงั นี้ ได้มีการออกแบบบรรจภุ ณั ฑส์ ำหรับพรกิ แกงส้มและ พริกแกงเผ็ด 2 ขนาดคือขนาดปานกลางและขนาดเล็กเพื่อให้ผู้ซ้ือมีทางเลือกในการซ้ือได้มากขึ้น และตราสินค้าท่ีกลุ่มผู้ทำพริกแกง และชุมชนได้ช่วยกนั ออกแบบเพื่อส่อื ถึงเอกลักษณ์ของชุมชน และได้มอบบรรจุภัณฑ์ให้แก่กลุม่ พริกแกงไว้บรรจุเองตามความตอ้ งการ ของตลาด 2. การจดั ทำสื่อวิดีทัศนเ์ กย่ี วกบั วัฒนธรรมสไบมอญ จากการดำเนินกิจกรรมดังกล่าว มีผลการดำเนินการดังน้ี ได้มีการจัดทำส่ือวิดีทัศน์เพ่ือสืบสานอนุรักษ์ วัฒนธรรมสไบมอญและวถิ ีชีวิตชุมชนมอญ โดยมีความยาวเนือ้ หาประมาณ 15 นาที 3. การส่งเสรมิ การปลูกผกั สวนครัวปลอดสารบริโภคภายในครัวเรอื น จากการดำเนินกิจกรรมดงั กล่าว มีผลการดำเนินการดังนี้ ได้มกี ารแจกจ่ายเมล็ดพนั ธ์ุและกล้าพันธ์ุตามความต้องการ ของชุมชนตามท่ีได้สำรวจมาแลว้ เบือ้ งตน้ เชน่ กะเพรา โหระพา ผักชี ผกั บุ้ง พริก และอปุ กรณ์เพาะปลกู ได้แก่ กระถาง ดนิ สำหรับปลกู จำนวน 30 ครวั เรือนทั้งไดช้ ่วยปลูกให้ชมุ ชนบางส่วน โดยเฉพาะครวั เรือนผสู้ งู อายุ สรุปผลการดำเนนิ งาน จากการดำเนนิ การโครงการยกระดบั คณุ ภาพชีวิตชมุ ชนและท้องถ่ิน โดยแบง่ การดำเนินงานเปน็ 3 กจิ กรรม คอื 1) การออกแบบบรรจภุ ณั ฑ์และตราสินค้าเพอ่ื ส่งเสรมิ การขาย 2) การจดั ทำสือ่ วิดีทัศน์วัฒนธรรมสไบมอญและ 3) การ ส่งเสริมการปลูกผักสวนครัวปลอดสารเพื่อบริโภคในครัวเรือน สรุปผลการดำเนินงานที่ส่งผลต่อรายได้ของชุมชนสามารถสรุปเป็น ตารางได้ ดังน้ี Success story 23

ตารางท่ี 1 แสดงรายได้ทเ่ี พม่ิ ขึ้นของกลมุ่ วสิ าหกจิ ชุมชนพรกิ แกง เดือน (ปี2563) รายรับ(บาท) หมายเหตุ มกราคม 8,325 กุมภาพนั ธ์ 10,875 มีนาคม 10,285 โรคระบาด (Covid) เมษายน 6,900 โรคระบาด (Covid) รวม 36,385 บาท พฤษภาคม 10,950 มิถุนายน 12,975 ระยะเวลาดำเนินโครงการ กรกฏาคม 13,450 สงิ หาคม 13,825 รวม 51,200 คำนวณรายได้ 1. (36,385 บาท ÷ 4 เดอื น) ÷ 40 ครวั เรือน =227.40 บาท/ครวั เรือน/เดอื น (ผ้เู ขา้ รว่ ม 40 ครัวเรอื น) 2. (51,200 บาท ÷ 4 เดอื น) ÷ 40 ครวั เรือน =320 บาท/ครวั เรือน/เดอื น รายได้เพิม่ ข้ึน ((320-227.40) ÷ 227.40) ×100 = ร้อยละ 40 ท่มี า : วิสาหกิจชุมชนกลุม่ อาชพี สตรีบา้ นงวิ้ , 2563 นวัตกรรมทเ่ี กดิ ข้นึ /นวัตกรรมท่ไี ดร้ ับ ส่ือวดิ ที ัศน์ วิถีไทย วิถมี อญ สไบมอญบ้านงิ้ว บรรจุภัณฑ์สนิ คา้ พรกิ แกงและตราสนิ คา้ และชุมชนปลกู ผกั ปลอดสาร ภายในครวั เรอื น ขอ้ เสนอแนะเชงิ การพัฒนาต่อยอด บริบทชุมชนตำบลบ้านง้ิว อำเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี มีศักยภาพทางการเกษตรกรรม ที่มีความอุดมสมบูรณ์ มี พื้นท่ีกะทัดรัดประมาณ 2,000 กว่าตารางกิโลเมตร มี 5หมู่บ้าน สามารถทำนาได้ 3 ครั้งต่อปี เน่ืองด้วยมีแหล่งน้ำที่อุดมสมบูรณ์สะดวกต่อ การทำเกษตร เห็นวา่ การพัฒนาส่งเสริมเกษตรอินทรีย์ทางเลือกเพ่ือส่งเสริมการท่องเท่ียงเชิงเกษตรในชุมชน เป็นโครงการที่น่าสนใจและเป็น ประโยชนแ์ ก่ชมุ ชนที่มอี าชีพเกษตรเปน็ สว่ นมาก กิตติกรรมประกาศ โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตชุมชนและท้องถิ่น ตำบลบ้านงิ้ว อำเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี ได้ดำเนินการ สำเร็จลงได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือช่วยเหลือกันของทุกภาคส่วน ท้ังน้ี กรรมการโครงการฯ ขอขอบคุณ ผู้นำชุมชนตำบลบ้านง้ิวที่ได้ ประสานความร่วมไปยงั สมาชิกหมู่บ้านเพื่อเข้าร่วมกิจกรรม องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านงิ้วท่ีเอ้ือเฟ้ือสถานท่ีดำเนินการประชุมชาว ชุมชนตำบลบ้านง้ิวให้ความร่วมมือเข้าร่วมโครงการ และมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ที่ได้สนับสนุนงบประมาณในการดำเนิน โครงการ เอกสารอ้างอิง งานทะเบียนและบัตรอำเภอสามโคก เดือนเมษายน พ.ศ. 2563. อำเภอสามโคก จงั หวดั ปทมุ ธานี. มปป.ราชบณั ฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรงุ เทพฯ :บรษิ ทั นามมบี คุ๊ ส์พับลเิ คชนั่ จำกัด. รายงานการดำเนนิ งานวสิ าหกจิ ชมุ ชนกลุ่มอาชพี สตรีบ้านงว้ิ พ.ศ.2563. ตำบลบา้ นง้วิ อำเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี. มปป. Success story 24

ตลา ดม าตรฐ านสืบส านภูมิปัญ ญา ท้อ ง ถ่ิน โ ค ร ง ก า ร ย ก ร ะ ดั บ คุ ณ ภ า พ ชี วิ ต ชุ ม ช น แ ล ะ ท้ อ ง ถ่ิ น ตำบลคลองควาย อำเภอสามโคก จังหวดั ปทมุ ธานี 1*ทศั พร ชูศกั ด์ิ 2ฉตั รประภา ศิริรตั น์ 3นาตยา ดวงประทมุ 4สุทธิดา แกว้ มุงคุณ 5รวิธร ฐานัสสกลุ *Corresponding author: [email protected] ……………………………………………………………………………… บทคดั ย่อ โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตชุมชนและท้องถ่ินใน พื้นที่ตำบลคลองควาย อำเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี มีวัตถุประสงค์ และการดำเนินงานดังน้ี 1) เพื่อสร้างความร่วมมือ สำรวจบริบทชุมชน ปัญหาและความต้องการของชุมชน ศักยภาพด้านต่าง ๆ ของชุมชน กลุ่มเป้าหมายเป็นผู้นำชุมชนภาครัฐและเอกชน จำนวน 30 คน เก็บ รวบรวมข้อมูลโดยการจัดประชุมกลุ่ม สัมภาษณ์ เจาะลึก การสังเกตและ จากเอกสารข้อมูลของชมุ ชน 2) เพ่อื สง่ เสริมอนรุ ักษแ์ ละปลูกฝังภูมปิ ัญญา ท้องถ่ินให้แก่แกนนำเยาวชน กลุ่มเป้าหมายเป็นแกนนำเยาวชน จำนวน 22 คน โดยจัดอบรมเชงิ ปฏิบตั ิการเรื่องการอนุรกั ษ์และสบื ทอดภมู ิปัญญา ท้องถิ่น หลักสูตร 3 วัน และ 3) เพื่อดำเนินการตามรูปแบบชุมชน นวัตกรรมประเดน็ วิสาหกจิ ชุมชนเข้มแขง็ โดยการดำเนนิ กิจกรรมการสรา้ ง ตลาดชมุ ชนและเครอื ข่ายบริหารจดั การ กลุ่มเปา้ หมายเป็นผู้ประกอบการ ร้านค้า และผู้นำชุมชน จำนวน 20 คน โดยจัดอบรมเชิงปฏิบัติการและ ศกึ ษาดงู านตลาดชมุ ชนตน้ แบบ ผลการดำเนินโครงการพบว่า 1) ได้ภาคีเครือข่ายทั้งภาครัฐและเอกสาร จำนวน 9 เครือข่าย และได้ฐานข้อมูล ตำบลคลองควาย 2) ไดแ้ กนนำเยาวชนในการอนรุ ักษ์และสบื ทอดภูมิปญั ญาทอ้ งถิ่น 1 กลุ่ม จำนวน 22 คน โดยมีความพงึ พอใจต่อการ จัดกิจกรรมในระดับมาก ร้อยละ 100 และ 3) เกิดตลาดชุมชนคลองสระ จำนวน 1 แห่ง โดยมีรา้ นค้า จำนวน 12 รา้ น ซ่ึงผ่านเกณฑ์ มาตรฐานอาหารสะอาด รสชาติอร่อย (CFGT) จำนวน 10 ร้าน และร้านค้า จำนวน 12 ร้าน มีรายได้เฉลี่ยของครัวเรือนก่อนเข้าร่วม โครงการ เทา่ กับ 4,833 บาท/เดือน หลังจากดำเนินโครงการ ครัวเรอื นมรี ายได้เพิ่มข้ึน 3,625 บาท/เดือน โดยครัวเรือนมีรายได้เฉล่ีย เพ่มิ ขึ้น รอ้ ยละ 75 คำสำคญั : คณุ ภาพชีวติ , วิสาหกจิ ชุมชน, มาตรฐานตลาด, ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ 1สาขาวชิ าการจดั การสถานพยาบาล คณะสาธารณสขุ ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ 2,4สาขาวชิ าสาธารณสุขศาสตร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ 3สาขาวิชาสุขภาพและความงาม คณะสาธารณสขุ ศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ 5สำนกั งานส่งเสรมิ การเรียนร้แู ละบริการวชิ าการ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถมั ภ์ Success story 25

Abstract Quality of Life Community Development Project in Khlongkhwai Sub-Districts, Samkhok Districts, Pathumthani Province aimed 1) To establish the cooperation and explore characteristics of community, Problem and Community needs and Potentials of the community. The target samples consisted of 30 Public and Private Sector leaders. Data were collected by group discussion, In-depth interview, Observation and Review from community document profile 2) To promote, conserve and cultivate of indigenous knowledge to youth leaders. The target samples consisted of 2 2 Youth leaders by organizing a 3 -day workshop on conservation and inheritance of indigenous knowledge. 3 ) To implement an innovative community model on the community strengthening enterprises by conducting community market and management networks. The target samples consisted of 20 shop operator and community leaders by organizing workshops and study visits to the model community market. The results of the project were as follows: 1) There were 9 networks of government and private sectors and obtained the Khlongkhwai Sub-District database. 2 .) 1 Group (2 2 persons) of Youth leader were conserved and inherited on indigenous knowledge by all of them had good level of satisfaction with the activity (100%). 3) There was 1 Klong Sa community market, with 12 shops. 10 shop were passed on the clean food good teste standard (CFGT) with an average income of 3,625 baht per household per month. Keywords: Quality of Life, Community Enterprise, Standard for Marketplace, Local Wisdom บทนำ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นมหาวิทยาลัยที่พระราชาประสงค์ให้เป็น มหาวิทยาลัยเพ่ือการพัฒนาท้องถ่ิน ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฎ พ.ศ. 2547 มาตรา 7 ซึ่งสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ เพื่อยกคุณภาพมาตรฐานมหาวิทยาลัยราชภัฎสู่คุณภาพเป็นเลิศ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพบัณฑิตสู่นักปฏิบัติอย่าง มืออาชีพ การยกคุณภาพมาตรฐานชวี ิตของชมุ ชน ทอ้ งถนิ่ และพนื้ ท่ีให้มีความเข้มแขง็ และย่งั ยืน พร้อมทัง้ สอดคล้องกับยทุ ธศาสตร์มหาวิทยาลัย ราชภฏั วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ในประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 การพฒั นางานพนั ธกจิ สัมพันธ์ และถา่ ยทอด เผยแพร่โครงการ อนั เน่อื งมาจากพระราชดำริ โดยมี กลยุทธใ์ นการ สร้างเครือขา่ ยชมุ ชนนกั ปฏิบตั ิจากภายในและภายนอก เพ่ือร่วมกันศึกษาแก้ไขปัญหา ของชมุ ชนท้องถิ่นและเสริมพลังใหช้ ุมชนท้องถน่ิ สามารถดำรงอยูไ่ ดอ้ ยา่ งยงั่ ยนื ใหค้ วามสำคญั ในการพฒั นาชุมชนและท้องถิ่น ดังนั้น คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จึงได้จัดทำโครงการ ยกระดับคุณภาพชีวิตชุมชนและท้องถิ่น ในพื้นที่ตำบลคลองควาย อำเภอสามโคก จังหวดั ปทุมธานี โดยมีเป้าหมายเพื่อให้คนในชุมชน สามารถบรหิ ารจัดการชีวิตตนเองไดอ้ ย่างสมดลุ และมีความเหมาะสม สามารถดำรงชวี ติ ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ร่วมกบั การส่งเสริมภูมิปัญญาทอ้ งถิ่น เพ่มิ คุณค่าและมูลคา่ เสริมเศรษฐกิจฐานรากในชุมชนให้มคี วามเข้มแข็ง ม่ันคง นำไปสู่การพ่ึงพาตนเอง และช่วยเหลือเกอ้ื กลู กันในชุมชน ได้อย่างย่ังยืน ส่งผลใหช้ ุมชนหมบู่ า้ นมคี ุณภาพชวี ติ และรายได้ท่เี พม่ิ ขน้ึ วธิ กี ารดำเนินงาน กจิ กรรมระยะท่ี 1 การสร้างความร่วมมือกับหน่วยงานราชการท่ีเกี่ยวขอ้ ง ดำเนินการจัดทำแผนปฏิบัตกิ ารลงพน้ื ท่ี ศกึ ษาบริบทของชุมชน และสร้างความร่วมมือจากหนว่ ยงานภาครฐั และภาคีเครือข่ายท่ีเกี่ยวข้อง ได้แก่ นายอำเภอ ส่วนงานปกครอง อำเภอ พัฒนาการอำเภอ เกษตรอำเภอ นายกองค์การบริหารส่วนตำบลคลองควาย กำนันตำบลคลองควาย ผู้ใหญ่บ้านทุกหมู่บ้าน และประธานอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) เพ่ือปรึกษาหารือเกี่ยวกับทิศทางการดำเนินโครงการ และการจัดทำ ฐานข้อมูลตำบลคลองควาย ดำเนินการโดยจัดประชุมกลุ่ม (Focus group discussion) ผู้นำชุมชนจำนวน 2 ครงั้ ณ องค์การบริหาร Success story 26

ส่วนตำบลคลองควาย โดยมีเข้าร่วมประชุมได้แก่ นายกองค์การบริหารส่วนตำบลคลองควาย ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล ผู้อำนวยการกองสาธารณสุข ผู้อำนวยการกองการศึกษา ส่วนงานพัฒนาชุมชน สมาชิกองค์การบริหารส่วนตำบลทุกหมู่บ้าน กลุ่ม วสิ าหกจิ ชุมชน กำนันตำบลคลองควาย ผู้ใหญ่บ้านทกุ หมู่ และตวั แทนอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมูบ่ า้ น (อสม.) และการสัมภาษณ์ เชิงลึก (In-depth interview) ผู้นำชุมชน เพื่อรวบรวมข้อมูลเพ่ิมเติม ได้แก่ ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล กำนันตำบลคลองควาย ผู้อำนวยการกองสาธารณสุข และตวั แทนประธานกลุ่มวิสาหกจิ ชมุ ชน กิจกรรมระยะท่ี 2 เป็นการดำเนินงานเพื่อแก้ไขปัญหาของชุมชนโดยดำเนินกิจกรรม 2 กิจกรรม ได้แก่ 1) การ อนรุ ักษ์และสืบทอดภูมปิ ญั ญาทอ้ งถ่นิ โดยจัดกิจกรรมอบรมเชงิ ปฏิบตั ิการอนุรักษแ์ ละสืบทอดภูมปิ ญั ญาท้องถ่นิ วัฒนธรรมมอญ ณ วัด สามัคคิยาราม ตำบลคลองควาย อำเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี 2) กิจกรรมการจัดต้ังตลาดชุมชนตามมาตรฐานและการสร้าง เครอื ข่ายการบริหารจัดการ ผลการดำเนินงาน 1) ไดภ้ าคเี ครือขา่ ยทัง้ ภาครฐั และเอกสาร จำนวน 9 เครอื ขา่ ย และได้ฐานขอ้ มลู ตำบลคลองควาย 2) ได้แกนนำเยาวชนในการอนรุ กั ษแ์ ละสบื ทอดภูมิปัญญาท้องถ่นิ 1 กลุ่ม จำนวน 22 คน โดยมคี วามพึงพอใจต่อ การจดั กิจกรรมในระดบั มาก รอ้ ยละ 100 3) เกดิ ตลาดชุมชนคลองสระ จำนวน 1 แหง่ โดยมีร้านค้า จำนวน 12 ร้าน ซ่ึงผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารสะอาด รสชาติอร่อย (CFGT) จำนวน 10 ร้าน และร้านค้า จำนวน 12 ร้าน มีรายได้เฉล่ียของครัวเรือนก่อนเข้าร่วมโครงการ เท่ากับ 4,833 บาท/เดือน หลงั จากดำเนนิ โครงการ ครัวเรือนมีรายไดเ้ พ่ิมข้ึน 3,625 บาท/เดือน โดยครวั เรอื นมีรายได้เฉล่ยี เพมิ่ ขน้ึ รอ้ ยละ 75 สรุปผลการดำเนินงาน - ครวั เรือนมรี ายไดเ้ ฉลย่ี เพิ่มขึน้ ร้อยละ 75 - นวัตกรรมที่เกิดข้ึน/นวัตกรรมที่ได้รับ ศูนย์อนุรักษ์และสืบทอดวัฒนธรรมตำบลคลองควายและตลาดชุมชน คลองสระที่มรี า้ นจำหนา่ ยอาหารผา่ นเกณฑม์ าตรฐาน อาหารสะอาด รสชาติอรอ่ ย (CFGT) รอ้ ยละ 100 - ความพึงพอใจของกลมุ่ เปา้ หมายในระดบั มาก ร้อยละ 100 ข้อเสนอแนะเชิงการพัฒนาต่อยอด 1. ตลาดชมุ ชนคลองสระสามารถขยายรปู แบบตลาดชุมชนเพือ่ รองรบั การจำหน่วยสนิ ค้าประเภทตา่ ง ๆ เชน่ อาหารสด และมกี ารตรวจมาตรฐานอาหารปลอดภัย (Food safety) 2. การพัฒนาศนู ย์อนุรักษ์ให้ย่งั ยนื โดยการจดั กิจกรรมการถา่ ยทอดภูมปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ ในเรือ่ งอื่นทกุ เดือน โดยจัด แผนกจิ กรรมในการถา่ ยทอดใหค้ รอบคลมุ ภมู ิปัญญาท้องถิ่นของชมุ ชน Success story 27

กติ ติกรรมประกาศ รายงานโครงการยกระดับคุณภาพชีวิตชุมชนและท้องถ่ิน ตำบลคลองควาย อำเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี กิจกรรม สร้างการเรียนรู้ พัฒนาอาชีพ ยกระดับผลิตภัณฑ์ของชุมชน วิสาหกิจชุมชนท้องถิ่น (OTOP) ตำบลคลองควาย อำเภอ สามโคก จงั หวัดปทุมธานี คณะผู้ดำเนินโครงการขอกราบขอบพระคุณผู้ว่าราชการจงั หวัด พัฒนาชุมชนจังหวดั และหน่วยงานราชการ ระดับจังหวัดปทุมธานี นายอำเภอสามโคก สำนักงานพัฒนาชุมชน สำนักงานเกษตรอำเภอ และหน่วยงานราชการระดับอำเภอสาม โคก ผู้อำนวยการโรงเรียนและคณะครูโรงเรียนวดั สามัคคิยาราม และโรงเรียนบ้านคลองสระ คณะผู้บริหารมหาวิทยาลัย คณาจารย์ และเจ้าหน้าท่สี ำนักส่งเสริมการเรียนรูแ้ ละบริการวิชาการ องค์การบรหิ ารส่วนตำบลคลองควาย กำนันตำบลคลองควาย ผู้นำชุมชนที่ ให้คำแนะนำและสนับสนุนการดำเนินโครงการ และขอขอบคุณปราชญ์ชุมชน ได้แก่ นายไพรัตน์ จันทร์แบบ ประธานสภาวัฒนธรรม ตำบลคลองควาย คุณครูชะม้อย เครือโชติ ผู้เช่ียวชาญการแสดงพ้ืนบ้านเพลงโนเนและรำกลองยาว และนายประทวน ดาวอร่าม ปราชญ์ชุมชน ด้านช่างไม้และแกะสลัก และประชาชนตำบลคลองควายท่ีให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม ทำให้โครงการยกระดับ คณุ ภาพชีวติ ชมุ ชนและทอ้ งถ่ิน ตำบลคลองควาย อำเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี ได้สำเร็จลุล่วงไปดว้ ยดี Success story 28

ต ล า ด ชุ ม ช น วิ ถี พ อ เ พี ย ง บ้ า น ค ล อ ง ห้ า โ ค ร ง ก า ร ย ก ร ะ ดั บ คุ ณ ภ า พ ชี วิ ต ชุ ม ช น แ ล ะ ท้ อ ง ถิ่ น ตำบลคลองห้า อำเภอหลองหลวง จังหวดั ปทุมธานี 1*วณิ ากร ที่รกั 2ภัทรเวช ธาราเวชรักษ์ 3วิษชญะ ศลิ านอ้ ย 4รวธิ ร ฐานสั สกุล และ5ปรียาภา เมืองนก ตำบลคลองหา้ *Corresponding author: [email protected] ……………………………………………………………………………… อำเภอคลองหลวง บทคดั ยอ่ ก า ร ด ำ เนิ น โ ค ร ง ก าร มี วั ต ถุ ป ร ะ ส งค์ เพื่ อ ย ก ร ะ ดั บ คุณภาพชีวติ ประชาชนชุมชนตำบลคลองห้า และการสร้างเครือขา่ ยประชา รัฐในการพัฒนาชุมชน ดำเนินงานในปงี บประมาณ 2563 โดยมีประชาชน เข้าร่วม 50 ครัวเรือน จากวิสาหกิจชุมชน กลุ่มอาชีพ และร้านค้า การ ดำเนินงานเร่ิมต้นจากการศึกษาบริบทชุมชน วิเคราะห์ศักยภาพ ปัญหา และความต้องการของชุมชน ด้วยวธิ ีการศึกษาขอ้ มูลทุติยภูมิ และลงพื้นที่ สำรวจชมุ ชน จัดเวทีประชาคม และสัมภาษณ์เชิงลึกผูน้ ำชุมชน นำขอ้ มลู ที่ ได้ออกแบบกิจกรรมเชิงการพัฒนา และดำเนินตามกิจกรรมโครงการ ผลการศึกษาพบว่า ชุมชนมีสินค้าที่เป็นอัตลักษณ์ เช่น หมี่กรอบ ผักปลอดสารพิษ ไข่เค็ม กระเป๋าผ้า ขนมไทย และขนมอบเป็นต้น แต่ขาดช่องทางการจำหน่าย จึงดำเนินการสรา้ งตลาดชุมชน ณ หมทู่ ี่ 2 ตำบลคลองหา้ ช่ือวา่ “ตลาดชุมชนวิถีพอเพียงบ้านคลองห้า” จำหน่ายสินค้าทกุ วันศกุ ร์ วันเสาร์ และวันอาทิตย์ เวลา 9.00 ถึง 17.00 น. ทำให้ผ้เู ข้าร่วมโครงการมีรายได้เพ่ิมข้ึนร้อยละ 33.46 โดย ลกู ค้ามี 3 กลุ่ม ไดแ้ ก่ สว่ นงานราชการในพ้ืนท่ี ประชาชนในตำบล และนักท่องเที่ยว ดงั นนั้ สรุปได้ว่าการจัดต้ังตลาดชุมชนสามารถทำ ให้รายไดข้ องชุมชนตำบลคลองห้าท่ีเขา้ ร่วมโครงการเพ่ิมขึน้ คำสำคญั : ตลาดชมุ ชน ความพอเพียง บ้านคลองห้า Abstract The objective of this project is to improve life quality of the population in Khlong Ha district and to build networks of cooperation between local government and its citizens. Participants of this project, initiated in the fiscal year 2563, include 50 households from community enterprises, occupation groups, and stores. The project first studies the local community and analyzes its potential, problems, and its needs. This undertaking incorporates evaluating secondary data, surveying local areas and populations, creating a community stage for idea exchange, and arranging in-depth interviews of local leaders. Collected information is used for designing development activities. It is discovered that there are products within the community which reflect local identities. Such products include crispy noodles, toxin-free vegetables, salty eggs, cloth bags, Thai dessert, and baked goods. However there is a lack of markets to sell these items. Therefore, the project constructed a local market at Moo Song, Khlong Ha district, which is named “Khlong Ha Community Market for Sufficiency.” This market opens every Friday, Saturday, and Sunday, from 9 am to 5 pm. As a result of the market, income of the participants increases by 33.46 percent. The main client groups are local government officials, district population, 1-5อาจารย์ สำนกั สง่ เสรมิ การเรียนร้แู ละบรกิ ารวิชาการ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ Success story 29

and tourists. Overall, the foundation of the community market increases the community income and improves their quality of life. Keywords: Community Market, Sufficiency, Khlong Ha บทนำ การดำเนินการจัดต้ังตลาดชมุ ชนวิถีพอเพียงบ้านคลองห้า เกิดขึ้นภายใต้โครงการยกระดับคณุ ภาพชีวิตชุมชนและ ทอ้ งถ่ินของมหาวทิ ยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ เช่ือมโยงเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของสหประชาชาติเข้ากับ แผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ของประเทศไทย และยุทธศาสตร์เกษตรและสหกรณ์ 20 ปี ระหว่างปี 2560 ถึง ปี 2579 โดยน้อมนำเอา หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงท่ีเน้นการพัฒนาแบบยั่งยืนโดยคำนึงถึงส่ิงแวดล้อมท่ีอยู่ และใช้หลักการทรงงานของพระบาท สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชบรมนาถบพิตรมาเป็นแนวทางในการดำเนินนโยบาย เพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวติ และยกระดับ รายได้ของประชาชน แก้ไขปัญหาเชิงโครงสร้างการผลิตภาคเกษตรเสริมสร้างความม่ันคงทางอาหาร พัฒนาโภชนาการและความ ปลอดภยั ด้านอาหารเพอ่ื นำไปสู่ความม่ันคง ม่ังคัง่ และยงั่ ยนื ของประชาชนและประเทศชาติ ซ่ึงสมเด็จพระเจา้ อยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร รัชกาลท่ี 10 ทรงมีพระปณิธานแน่วแน่ที่จะสานต่อโครงการในพระราชดำริของพระราชบิดา เพื่อช่วยเหลือ ประชาชนให้มคี ุณภาพชวี ิตทด่ี ีข้ึนมหาวิทยาลัยจึงได้ดำเนินโครงการตามความต้องการของชุมชน และเกิดตลาดชุมชนวิถีพอเพียงบ้าน คลองห้านี้ข้นึ วธิ กี ารดำเนินงาน การจัดตั้งตลาดชุมชนวิถีพอเพียงบ้านคลองห้า ดำเนินการเริ่มต้นจากการศึกษาข้อมูลชุมชนตำบลคลองห้า ใช้ เทคนิค PEST analysisในการศึกษาโดยสืบค้นข้อมูลทุติยภูมิ และลงพื้นที่จัดเวทีชุมชน รวมถึง การสัมภาษณ์เชิงลึก นำข้อมูลท่ีได้ วิเคราะห์ศักยภาพชุมชน ปัญหาและความต้องการของชุมชนใช้เทคนิค SWOT analysis และวางกลยุทธ์การพัฒนาใช้เทคนิค TOWS analysis นำข้อมูลที่ได้จัดเวทีคืนข้อมูลและคัดกิจกรรมท่ีจะพัฒนา ประชาชนในตำบลต้องการจัดต้ังตลาดชุมชน จึงดำเนินการจัดต้ัง ตลาดชุมชนวิถีพอเพียงบ้านคลองห้า ณ หมู่ท่ี 2 มีผู้เข้าร่วมโครงการท้ังหมด 50 ครัวเรือน ดำเนินการจำหน่ายสินค้าทุกวันศุกร์ เสาร์ และอาทติ ย์เวลา 9.00 ถงึ 17.00 น. การเกบ็ ขอ้ มูล เก็บรายได้จากการขายทุกร้านค้าทุกๆ วันท่ีขาย นำข้อมูลท่ีได้สรุป หาค่าเฉลี่ยรายได้ และคำนวณ ร้อยละของรายไดท้ เ่ี พิ่มขนึ้ ภาพท่ี 1 การจัดเวทปี ระชาคมในชมุ ชน ภาพที่ 2 การลงพนื้ ทีส่ ัมภาษณ์เชงิ ลึก Success story 30

ผลการดำเนินงาน การจดั ตง้ั ตลาดชุมชนวถิ ีพอเพียงบ้านคลองห้า รายไดข้ องผู้เขา้ ร่วมโครงการอธิบายได้ดงั ตารางท่ี 1 ตารางที่ 1 รายได้ของร้านคา้ ทจี่ ำหน่ายสนิ ค้าในตลาดชุมชนวิถพี อเพยี งบ้านคลองหา้ รา้ นค้า รายไดก้ อ่ นเขา้ ร่วมโครงการ รายไดจ้ ากโครงการ รายได้ทเ่ี พิ่มขน้ึ (สปั ดาห์, บาท) (สัปดาห์, บาท) (%) ร้านยำ 2,000 2,430 121.50 กว๋ ยเตยี๋ วเรอื 25,000 7,333 29.33 กระเปา๋ ผา้ ปา้ จติ ร (OTOP 3 ดาว) 3,000 2,355 78.50 ร้านขนมไทยผู้ชว่ ยตกุ๊ ตา 10,000 4,367 43.67 ร้านสม้ ตำไก่อบโอง่ 12,000 2,810 23.42 วสิ าหกจิ ชมุ ชนเกษตรปลอดภยั ตำบลคลองหา้ 15,000 6,824 45.49 วสิ าหกจิ ชมุ ชนผผู้ ลติ ไข่เคม็ หมู่หก 23,000 7,888 34.30 กลมุ่ ขนมอบคนคลองหา้ 6,500 2,503 38.50 วสิ าหกจิ ชมุ ชนผูผ้ ลิตปลาคลองหก 6,400 1,283 20.04 วสิ าหกจิ ชมุ ชนสวนลุงผู้ใหญ่หมูส่ บิ สอง 14,000 1,807 12.91 รายได้เฉลีย่ ท่ีเพมิ่ ขน้ึ 33.46 จากตารางที่ 1 ร้านค้าท่ีเข้าร่วมโครงการมีท้ังหมด 12 ร้านค้า จากร้านบุคคลรายเดียว กลุ่มอาชีพ และวิสาหกิจ ชมุ ชนท่ีมหาวทิ ยาลยั ไดส้ ่งเสรมิ ในระหวา่ งปี 2556-2563 ในด้านตา่ งๆ เช่น การพัฒนาสตู ร บรรจุภัณฑ์ ตราสนิ คา้ และการยกระดับให้ ได้มาตรฐาน อย. มาตรฐานสินค้าเกษตรปลอดภัย (Q) เป็นต้น จากตารางพบว่าร้านยำรายได้เฉลี่ยเพิ่มขึ้นมากท่ีสดุ (ร้อยละ 121.50) รองลงมา คอื กระเปา๋ ผ้าป้าจิตร (ร้อยละ 78.50) และน้อยทสี่ ดุ คือ วิสาหกิจสวนลุงผู้ใหญ่หมู่ที่ 12 (รอ้ ยละ 12.91) ทงั้ นี้เนอ่ื งจากร้าน ยำมรี ายไดจ้ ากการขายในตลาดนเ้ี ปน็ สว่ นใหญจ่ ึงทำให้รายได้เพิ่มขึน้ มากกว่ารอ้ ยละ 100 ส่วน วิสาหกจิ สวนลุงผใู้ หญ่หมู่ที่ 12 เน้นการ ขายกลุ่มลูกค้าประจำท่กี ลมุ่ จึงทำใหร้ ายไดเ้ พม่ิ ข้ึนนอ้ ย และสินค้ามคี วามไมห่ ลากหลาย ส่วนรา้ นค้าอื่นๆ ดำเนินการขายในตลาดอ่ืนๆ และลูกค้าประจำด้วยจึงทำให้รายได้เพิ่มข้ึนดังตาราง เมื่อนำรายได้เฉล่ียจากทุกๆ ร้านค้ามาคำนวณ พบว่า ตลาดชุมชนวิถีพอเพียง สร้างรายไดใ้ ห้กบั ผูเ้ ข้ารว่ มโครงการจากทกุ ๆ กลุ่มร้อยละ 33.46 ภาพที่ 3 การดำเนนิ การสร้างตลาดชุมชน ภาพท่ี 4 การเตรียมการเพื่อเปดิ ตลาดชุมชน ภาพท่ี 5 หน่วยงานมหาวิทยาลัยและหนว่ ยงานเครือข่ายถา่ ยรูปรว่ มกัน ภาพที่ 6 โปสเตอร์ประชาสมั พันธ์ในพิธเี ปิดตลาดชุมชน Success story 31

ภาพที่ 7 บรรยากาศตลาดชมุ ชน สรปุ ผลการดำเนนิ งาน การจัดตั้งตลาดชุมชนวิถีพอเพียงบ้านคลองห้า เกิดจากความร่วมมือของมหาวิทยาลัย หน่วยงานภาครัฐระดับ จังหวัดปทุมธานี ระดับอำเภอ และระดับตำบล ที่สำคัญท่ีสุดประชาชนในตำบลคลองห้าการดำเนินโครงการมีผู้เข้าร่วม 50 ครัวเรือน จากร้านค้าทั้งหมด 12 รา้ นคา้ กอ่ ใหเ้ กิดรายได้เฉล่ยี เพมิ่ ขึ้นรอ้ ยละ 33.46ดงั น้ันตลาดชุมชนแห่งนส้ี ามารถยกระดบั คณุ ภาพชวี ติ ชุมชน ประชาชนคลองหา้ ไดจ้ ริง ข้อเสนอแนะเชงิ การพัฒนาตอ่ ยอด หากมีการดำเนินการต่อยอดการพัฒนาตำบลคลองห้า ควรเข้าไปยกระดับสินค้าในตลาดชุมชนให้มีความ หลากหลายมากขึ้น ปรับบรรจุภัณฑ์ ตราสินค้าให้ดูทันสมัย ปรับภูมิทัศน์ตลาดให้น่าถ่ายรูปมากข้ึน และควรส่งเสริมให้เกิดตลาดนัด เพิ่มเตมิ ชว่ งเยน็ บริเวณจัดตลาดชุมชน กิตติกรรมประกาศ รายงานโครงการยกระดบั คุณภาพชีวติ ชุมชนและท้องถนิ่ ตำบลคลองหา้ อำเภอคลองหลวงจังหวดั ปทมุ ธานี คณะผู้ ดำเนินโครงการขอกราบขอบพระคณุ ผู้ว่าราชการจังหวัด พัฒนาชุมชนจงั หวัด และหนว่ ยงานราชการระดบั จังหวดั ปทมุ ธานี นายอำเภอ คลองหลวง สำนกั งานพฒั นาชมุ ชน สำนักงานเกษตรอำเภอ และหนว่ ยงานราชการระดบั อำเภอคลองหลวง คณะผู้บรหิ ารมหาวิทยาลัย ผู้บรหิ าร คณาจารยแ์ ละเจ้าหน้าที่สำนักส่งเสริมการเรยี นรแู้ ละบริการวิชาการ องคก์ ารบริหารสว่ นตำบลคลองห้า กำนนั ตำบลคลองห้า ผู้นำชุมชนท่ีให้คำแนะนำ และสนับสนุนการดำเนินโครงการ และขอขอบคุณประชาชนตำบลคลองห้าที่ให้ความร่วมมือในการทำ กจิ กรรม ทำให้โครงการสำเรจ็ ลลุ ่วงไปดว้ ยดี Success story 32

ก ร ะ บ ว น ก า ร พั ฒ น า เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ชุ ม ช น สั ง ค ม ส่ิ ง แ ว ด ล้ อ ม แ ล ะ ส ร้ า ง ผู้ น ำ ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง โ ค ร ง ก า ร ย ก ร ะ ดั บ คุ ณ ภ า พ ชี วิ ต ชุ ม ช น แ ล ะ ท้ อ ง ถิ่ น ตำบลบึงชำอ้อ อำเภอหนองเสือ จังหวัดปทุมธานี 1นิรินธนา บุษปฤกษ์*2ภญิ ญาพชั ญ์ นาคภิบาล 3ภัทรภร พุฒพันธ์4พงษ์พิพัฒน์ เสนห่ ด์ ี และ5วิณากร ทีร่ ัก *Corresponding author: [email protected] ……………………………………………………………………………… บทคดั ยอ่ โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตชุมชนและท้องถิ่น ตำบลบึงชำอ้อ อำเภอหนองเสือ จังหวัดปทุมธานี มีวัตถุประสงค์เพ่ือ พัฒนาเศรษฐกิจชุมชน เพิ่มรายได้ พัฒนาสังคม เสริมศักยภาพกลุ่ม อาชีพ พัฒ น าสิ่งแ วด ล้อ ม แล ะ ส ร้างผู้น ำก ารเป ลี่ย น แป ล ง กลุ่มผู้เข้าร่วมโครงการ คือกลุ่มอาชีพไข่เค็มและคนในชุมชน รวม 60 ครัวเรือน ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพแบบมีส่วนร่วม เก็บรวบรวม ข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึก สนทนากลุ่ม และจัดประชุมกลุ่ม ผลการวิจัย พบว่า กระบวนการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน สังคม สิ่งแวดล้อมและสร้างผู้นำการเปลี่ยนแปลง ประกอบด้วย กระบวนการ ต้นน้ำ คือ การให้องค์ความรู้ด้านการทำแผนประกอบการกระบวนการ กลางนำ้ คือ การสร้างมลู คา่ เพ่ิมไขเ่ คม็ 2 รูปแบบ คอื การแปรรปู เป็นขนมเป๊ียะไส้ไขเ่ ค็ม เพื่อจำหน่ายในราคาที่สงู ข้ึน และการพัฒนา ตราสินค้าและบรรจุภัณฑ์เพ่ือสร้างความแตกต่าง สวยงาม มีประโยชน์ใช้งานสะดวก ทำให้สินค้าดูมีคุณภาพเหนือคู่แข่ง รวมถึงผลิต จากวัสดุย่อยสลายได้ตามธรรมชาติเพื่อรักษาสิ่งแวดล้อม กระบวนการปลายน้ำ คือการเสริมศักยภาพการขายด้วยสื่อโซเชียล โดยกลุ่มอาชีพได้สร้าง Facebook: ไข่เค็มบ้านอินอนุสรณ์ ขึ้นใหม่ให้ลูกค้ารีวิว สั่งซ้ือ รับข่าวสารเก่ียวกับสินค้า กระตุ้นยอดขาย ทางอ้อม ด้วยคลิปวิดโี อแนะนำเมนูไข่เค็ม ผลการดำเนินงานตามกระบวนการดังกลา่ ว ทำให้กลุ่มอาชพี มีรายได้เพิ่มขน้ึ จากการทดลอง จำหนา่ ยผลิตภัณฑไ์ ข่เค็มและขนมเปี๊ยะ รวม 4,300 บาท คดิ เป็นร้อยละ 59 ของรายได้ต่อเดอื นกอ่ นเขา้ ร่วมโครงการ คำสำคัญ: เศรษฐกิจชุมชน, สร้างมลู คา่ เพมิ่ , ตราสินคา้ , บรรจภุ ัณฑ์ Abstract The project of upgrading the living quality of the local community at the Bueng Cham-O subdistrict Nong Sua district Pathum Thani province aims to improve the local community in 5 aspects comprised of economy, society, community business, environment, and leadership. The project joining group consists of a small local business group of salted duck eggs and people so that 60 households. The research methodology is 1,2,3สาขาวิชาการบรหิ ารธรุ กิจ คณะวิทยาการจดั การ มหาวิทยาลยั ราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถมั ภ์ 4สาขาวชิ าการจัดการทอ่ งเท่ยี ว คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลยั ราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ 5สำนกั สง่ เสรมิ การเรียนร้แู ละบริการวิชาการ มหาวิทยาลยั ราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ Success story 33

qualitative research based on participatory action research (PAR). Data collected from in-depth interview focus groups and group meetings. The result found that the process of improving the local economy, society, community business, environment, and leadership consists of the upstream process, the midstream process, and the downstream process. The upstream process includes providing knowledge of business planning. The midstream process is to create value-added to a product in 2 ways; food processing and branding and packaging design. The Chinese pastry filled with salted eggs can sell at a higher price. The branding and packaging design not only make products look attractive to differentiate and more convenient in use but also adding value to a product with eco-friendly material. The downstream process is to have marketing online in social media, particularly Facebook, so customers can view products, make a purchase order, give comments, or get updated promotions and advertisements. The operational result is the target group achieves more income from selling of Chinese pastry filled with salted eggs and salted duck egg in new packaging by 4,300 THB or 59% of former income before joining this project. Keywords: Local Economy, Value-added creating, Branding, Packaging บทนำ ตามที่ภาครัฐไดเ้ ช่ือมโยงเป้าหมายการพัฒนาทีย่ ่ังยืนของสหประชาชาตเิ ข้ากับแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ของประเทศ ไทย และยุทธศาสตร์เกษตรและสหกรณ์ 20 ปี ระหว่างปี 2560 ถึง ปี 2579 โดยน้อมนำเอาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่เน้น การพัฒนาแบบย่ังยืน โดยคำนึงถงึ สิง่ แวดล้อมที่อยู่ และใช้หลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชบรมนาถ บพิตร มาเป็นแนวทางในการดำเนินนโยบาย เพ่ือพัฒนาคณุ ภาพชีวิต และยกระดับรายได้ของประชาชน แก้ไขปญั หาเชิงโครงสร้างการผลิต ภาคเกษตร เสริมสร้างความม่ันคงทางอาหาร พัฒนาโภชนาการและความปลอดภัยด้านอาหาร เพ่ือนำไปสู่ความมั่นคง มั่งค่ัง และย่ังยืน ของประชาชนและประเทศชาติ ซ่ึงสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกรู รชั กาลท่ี 10 ทรงมีพระปณธิ านแน่วแน่ท่จี ะ สานต่อโครงการในพระราชดำรขิ องพระราชบดิ า เพ่อื ช่วยเหลือประชาชนให้มีคุณภาพชีวิตทีด่ ีข้นึ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นมหาวิทยาลัยท่ีพระราชาประสงค์ให้เป็น มหาวิทยาลัยเพ่ือการพัฒนาท้องถ่ิน ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฎ พ.ศ. 2547 มาตรา 7 ที่ระบุให้มหาวิทยาลัยเป็น สถาบันอุดมศึกษา เพื่อการพัฒนาท้องถ่ินเสริมพลังปัญญาของแผ่นดิน ซ่ึงสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์เพื่อยกคุณภาพมาตรฐาน มหาวิทยาลัยราชภัฎสู่คุณภาพเป็นเลิศ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพบัณฑิตสู่นักปฏิบัติอยา่ งมืออาชีพ การยกคุณภาพมาตรฐานชีวิต ของชุมชน ท้องถิ่น และพ้ืนท่ีให้มีความเข้มแข็งและยั่งยืน พร้อมท้ังสอดคล้องกับยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ในประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนางานพันธกิจสัมพันธ์ และถ่ายทอด เผยแพร่โครงการอันเน่ืองมาจาก พระราชดำริ โดยมีกลยุทธ์ในการสร้างเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติจากภายในและภายนอก เพื่อร่วมกันศึกษาแก้ไขปัญหาของชุมชน ท้องถนิ่ และเสรมิ พลงั ให้ชุมชนทอ้ งถนิ่ สามารถดำรงอย่ไู ด้อย่างยัง่ ยนื ให้ความสำคัญในการพัฒนาชุมชน และท้องถ่ิน จากรายงานสรุปโครงการยกระดับคุณภาพชีวิตชุมชนและท้องถ่ิน (ระยะท่ี 1) ซึ่งได้ดำเนินการศึกษาบริบทชุมชน ตำบลบึงชำอ้อ ในด้านต่างๆ ไดแ้ ก่ ประวัติความเป็นมา สภาพภูมิประเทศข้อมลู ดา้ นประชากร โครงสร้างพ้ืนฐาน สังคมและเศรษฐกิจ ผลการวิเคราะห์ศักยภาพ ปัญหา ความต้องการของชุมชน และประเด็นการพัฒนาเชิงพ้ืนที่ พบว่า กลุ่มเป้าหมายในชุมชน คือกลุ่ม อาชีพทำไข่เค็ม ตำบลบึงชำอ้อ โดยกลุ่มมีศักยภาพในการจัดการผลผลิตไข่เป็ดและไข่เค็มเป็นปัจจัยพ้ืนฐาน แต่ขาดความรู้ ทักษะใน การแปรรูปผลผลิตให้เป็นผลิตภณั ฑ์ท่ีมีมลู ค่าสูงขึ้น ตราสินค้าและบรรจุภัณฑ์ยังไม่มีเอกลกั ษณ์ คุณภาพ เพียงพอ รวมถึงควรส่งเสริม ความรู้การใช้สื่อสังคมออนไลน์ในเชิงการตลาดให้มากย่ิงข้ึน ดังนั้น คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภั ฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จังหวัดปทุมธานี จงึ ไดจ้ ดั ทำโครงการยกระดับคุณภาพชีวิตชมุ ชนและท้องถน่ิ (ระยะที่ 2) มีเป้าหมายเพื่อพัฒนา Success story 34

เศรษฐกิจ พัฒนาสังคม พฒั นาส่ิงแวดล้อม เสริมศกั ยภาพกลมุ่ /ชุมชน และสร้างผนู้ ำการเปล่ียนแปลง โดยมุ่งส่งเสริมภูมปิ ญั ญาท้องถ่ิน เพ่ิมคุณค่าและมูลค่า เสริมเศรษฐกิจรากฐานในชุมชนให้มีความเข้มแข็ง ม่ันคง นำไปสู่การพึ่งพาตนเอง และช่วยเหลือเกื้อกูลกันใน ชุมชนไดอ้ ยา่ งยั่งยืน และมคี ุณภาพชีวิตและรายได้ทเ่ี พ่มิ ขน้ึ วิธกี ารดำเนินงาน กลุ่มประชากรที่ศึกษาเป็นผู้เข้าร่วมโครงการ คือ กลุ่มอาชีพทำไข่เค็มและคนในชุมชนตำบลบึงชำอ้อ อำเภอ หนองเสือ จังหวัดปทุมธานี หมู่ 1-12 จำนวน 12 หมู่บ้าน รวม 60 ครัวเรือน วธิ ีการเก็บรวบรวมข้อมูลขอ้ มูลจากกลุ่มบุคคลใช้วธิ ีการ สมั ภาษณ์เชงิ ลึก สนทนากล่มุ และการประชุมกลมุ่ เพื่อแลกเปล่ยี นเรยี นรูแ้ บบมสี ่วนรว่ มในทกุ กิจกรรม ข้อมูลจากเอกสาร ศึกษาขอ้ มูล ทุติยภูมิ ได้แก่ ฐานข้อมูลชุมชน เอกสารเผยแพร่จากหน่วยงานปกครองส่วนท้องถ่ิน และข้อมูลเอกสารใช้การอ่าน จัดแบ่งหมวดหมู่ เพื่อวิเคราะห์และสังเคราะห์เน้ือหาเอกสารตามประเด็นการวิจัย การวิเคราะห์ข้อมูล ประกอบด้วย ขอบเขตพ้ืนท่ีการวิจัย คือ ตำบล บึงชำอ้อ อำเภอหนองเสือ จังหวัดปทุมธานี ขอบเขตเน้ือหาท่ีทำการศึกษา ประกอบด้วย การจัดทำแผนประกอบการกลุ่มอาชีพ การแปรรูปผลิตภณั ฑ์ของกลุ่มอาชีพ การพัฒนาตราสินค้าและบรรจุภัณฑต์ ้นแบบ การพฒั นาชุมชนและสิ่งแวดล้อม และการสร้างผนู้ ำ การเปล่ียนแปลง เครื่องมือท่ีใช้ในการศึกษา การวิเคราะห์และการสังเคราะห์ข้อมูลที่ได้ตามแนวคิดทุนชุมชน แนวคิดห่วงโซ่คุณค่า แนวคิดการพัฒนาผลิตภัณฑ์ แนวคิดการสร้างคุณค่าและมูลค่าเพ่ิม แนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์ และแนวคิดเกี่ย วกับการรักษา ส่ิงแวดล้อม โดยนำข้อมูลท้งั หมดมาวิเคราะห์จดั เปน็ หมวดหมู่ มกี ารเชือ่ มโยงเขา้ ด้วยกันตามแนวคดิ ทีใ่ ชใ้ นการวิเคราะห์ การสงั เคราะห์ ข้อมูลใชก้ ารผสมผสานขอ้ มูลจากการสัมภาษณ์เพอ่ื ให้เกดิ เป็นส่ิงใหมภ่ ายใตก้ รอบเนอ้ื หาทีก่ ำหนดตามวตั ถปุ ระสงคท์ ตี่ ง้ั ไว้ ผลการดำเนินงาน กระบวนการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน สังคม สงิ่ แวดล้อมและสร้างผู้นำการเปล่ียนแปลง ประกอบด้วย กระบวนการ ต้นนำ้ คอื การให้องคค์ วามรู้ด้านการทำแผนประกอบการแก่กล่มุ อาชพี กระบวนการกลางนำ้ คอื การสรา้ งมูลค่าเพม่ิ ไขเ่ ค็ม 2 รปู แบบ คือ การแปรรูปเป็นขนมเปี๊ยะไส้ไข่เค็ม เพ่ือจำหน่ายในราคาที่สูงขึ้น และการพัฒนาตราสินค้าและบรรจุภัณฑ์เพ่ือสร้างความแตกต่าง สวยงาม มีประโยชน์ใช้งานสะดวก ทำให้สินค้าดูมีคุณภาพเหนือคู่แข่ง รวมถึงผลิตจากวัสดุย่อยสลายได้ตามธรรม ชาติเพื่อรักษา ส่ิงแวดล้อม กระบวนการปลายน้ำ คือ การเสริมศักยภาพการขายด้วยสื่อโซเชียล โดยกลุ่มอาชีพได้สร้าง Facebook: ไข่เค็มบ้านอิน อนุสรณ์ ขน้ึ ใหม่ให้ลกู คา้ รีววิ สัง่ ซอื้ รับข่าวสารเก่ยี วกบั สนิ ค้า กระตุน้ ยอดขายทางออ้ ม ดว้ ยคลปิ วิดีโอแนะนำเมนไู ขเ่ ค็ม สรปุ ผลการดำเนนิ งาน องค์ความรู้ที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนากลุ่มอาชีพและผู้ประกอบการชุมชน ได้แก่ การทำแผน ประกอบการธุรกิจ การแปรรปู ผลติ ภณั ฑ์เพือ่ สรา้ งมลู คา่ เพิ่ม การพฒั นาตราสินค้าและบรรจภุ ณั ฑ์ และการประชาสมั พันธส์ ินค้าผ่านสือ่ โซเชียล สรปุ รายได้ทเ่ี พม่ิ ขึน้ รวม 4,300 บาท คดิ เปน็ รายไดท้ ีเ่ พิ่มข้ึน ร้อยละ 59 นวตั กรรมท่ีเกดิ ข้นึ คือตน้ แบบบรรจุภณั ฑ์ไขเ่ คม็ ทใ่ี ช้วสั ดเุ ป็นมติ รตอ่ สง่ิ แวดลอ้ ม 1 ช้ินงาน ข้อเสนอแนะเชิงการพัฒนาตอ่ ยอด 1. ควรนำองค์ความรทู้ ีไ่ ดร้ ับจากการถอดบทเรยี นไปประยุกต์ใช้ในพัฒนากล่มุ อาชีพ ให้สามารถดำเนินการไดอ้ ย่าง มปี ระสทิ ธภิ าพมากย่ิงขนึ้ 2. ควรนำองค์ความรู้ที่ได้รับจากการถอดบทเรียนไปต่อยอดการพัฒนากลุ่มอาชีพให้มีความเข้มแข็งจนสามารถ ยกระดับเปน็ วสิ าหกจิ ชมุ ชนต่อไป Success story 35

กติ ตกิ รรมประกาศ โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตชุมชนและท้องถ่ิน ตำบลบึงชำอ้อ อำเภอหนองเสือ จังหวดั ปทุมธานี คณะผู้ดำเนิน โครงการขอกราบขอบพระคณุ คณะผู้บริหารมหาวิทยาลัย คณบดีคณะวิทยาการจัดการ คณาจารย์ รวมถึงเจ้าหน้าที่สำนักสง่ เสริมการ เรียนรู้และบริการวิชาการ ที่ให้คำแนะนำ สนับสนุนการดำเนินโครงการ และขอขอบคุณองค์การบริหารส่วนตำบลบึงชำอ้อ กำนัน ตำบลบึงชำอ้อ ผู้ใหญ่บ้าน สำนักงานพัฒนาชุมชน และชาวชุมชนตำบลบึงชำอ้อ ท่ีให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม ทำให้การ ดำเนินงานโครงการสามารถสำเรจ็ ลุล่วงไปด้วยดี มา ณ โอกาสน้ี เอกสารอ้างองิ เกศสุดา โภคานติ ย และคณะ, 2563. การบรหิ ารทุนชุมชนแบบบูรณาการตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งในการขบั เคล่ือนเศรษฐกจิ ฐานรากของชุมชนบ้านขาม ตำบลบ้านขาม อำเภอจัตุรัส จังหวัดชัยภูมิ. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอบุ ลราชธานี, 11(1), 41-51. ยรรยง ศรสี ม, 2553, หว่ งโซค่ ุณค่าในงานโลจสิ ติกส์, Technology Promotion Management, 211(37), 39-44. องค์การบรหิ ารสว่ นตำบลบึงชำอ้อ, 2563, ขอ้ มูลพ้ืนฐานตำบล, เข้าถงึ เมอ่ื 30 กรกฎาคม 2563, เข้าถงึ ได้จาก http://buengchamaor.go.th/. Success story 36

ก า ร พั ฒ น า บ ร ร จุ ภั ณ ฑ์ แ ล ะ ต ล า ด อ อ น ไ ล น์ โ ค ร ง ก า ร ย ก ร ะ ดั บ คุ ณ ภ า พ ชี วิ ต ชุ ม ช น แ ล ะ ท้ อ ง ถิ่ น ตำบลศาลาครุ อำเภอหนองเสือ จงั หวัดปทมุ ธานี 1*สุภชั ฌาน์ ศรีเอี่ยม 2ธนชั พร บรรเทาใจ 3กุลชาติ พนั ธุวรกุล 4เกยี รตศิ ักด์ิ รกั ษาพล และ5ภัทรเวช ธาราเวชรักษ์ *Corresponding author: [email protected] ……………………………………………………………………………… บทคดั ยอ่ โค ร งก าร ย ก ร ะ ดั บ คุ ณ ภ าพ ชี วิ ต ชุ ม ช น แ ล ะ ท้ อ งถิ่ น ส่ิงแวดล้อมและวัฒนธรรม ในพ้ืนที่ตำบลศาลาครุ อำเภอหนองเสือ จังหวัดปทุมธานี มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อสร้างความร่วมมือกับเครือข่าย ประชารัฐ 2) เพื่อสำรวจบริบทชุมชน ครัวเรือนเป้าหมาย และจัดทำ ฐานข้อมูลตำบล 3) เพื่อจัดทำแผนปฏิบัติการเพ่ิมรายได้ยกระดบั คณุ ภาพ ชีวิตของคนในชุมชนกลุ่มเป้าหมาย ประชาชนในพ้ืนที่ชุมชนหมู่ท่ี 1-10 ตำบลศาลาครุ อำเภอ หนองเสือ จังหวัดปทุมธานี เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสัมภาษณ์เชิงลึก โดยมีกระบวนการดำเนินงาน ดังนี้ 1) ระยะก่อน เตรยี มการ การเตรียมบคุ ลากร การวางแผนดำเนินการ 2) ระยะเตรยี มการ ประเมินและสำรวจชุมชน ความต้องการของชุมชน ความรู้และทักษะของคนในชุมชน 3) ระยะปฏิบัติการ การพัฒนาชุมชนตาม ความต้องการและศักยภาพของชุมชน และผลิตภัณฑ์ท่ีสอดคล้องกับบริบทชุมชน ได้แก่ การพัฒนาบรรจุภัณฑ์เห็ดทอดและพริกแกง การพัฒนาพัฒนากลุ่มอาชีพดอกไม้จันทน์สู่ดอกไม้ประดิษฐ์ การพัฒนาตลาดออนไลน์ การประชุมเพ่ือวางแผนการถ่ายทอดความรู้ผ่าน กระบวนการอบรมเชิงปฏิบัติการ 4) ระยะสรุปและประเมินผล ประเมิน กำกับ ติดตามผลประกอบการ และประเมินรายรับของคนใน ชมุ ชน ผลการศึกษาพบว่า 1) เกิดเครือข่ายความร่วมมือจากหน่วยงานภาครัฐและเอกชนมีผูน้ ำชุมชนที่เป็นแกนนำในการพัฒนาชุมชน และประชาชนในชุมชนมีจิตอาสาในการพัฒนาชุมชน 2) ได้รูปแบบชุมชนนวตั กรรมในประเด็นชุมชนวิสาหกจิ เข้มแขง็ ศาลาครุ 3) ชมุ ชน มีคุณภาพชีวิตดีข้ึนมีรายได้เพ่ิมขึ้น ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการมีรายได้เฉลี่ยของครัวเรือนก่อนดำเนินโครงการ เท่ากับ 12,674.12 บาท/เดอื น หลังจากดำเนนิ กจิ กรรม ครวั เรือนมรี ายได้เฉล่ียเพิม่ ข้ึน 2,579.18 บาท/เดอื น คิดเป็นรายได้เพิม่ ข้นึ ร้อยละ 20.35 คำสำคัญ: ยกระดับคณุ ภาพคณุ ภาพชีวติ การพัฒนาบรรจภุ ัณฑ์ ตลาดออนไลน์ Abstract The objectives of the Quality of Life Upgrade project for the community, environment, and culture in Sarakru, Pathumthani were to 1 ) initiate cooperation with the civil state network 2 ) explore the community context, survey the target households and create a sub- district database 3) create an action plan to increase income to improve the quality of life of the people in the community Target group of people in the 1อาจารย์ สาขาวชิ าภาษาไทย คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถัมภ์ 2อาจารย์ สาขาวิชาคณติ ศาสตร์ (หลกั สตู รภาษาอังกฤษ) คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ 3อาจารย์ สาขาวชิ าการศกึ ษาปฐมวยั คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ 4อาจารย์ สาขาวิชาวทิ ยาศาสตรท์ ่ัวไป (หลกั สตู รภาษาอังกฤษ) คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ 5อาจารย์ สำนักส่งเสรมิ การเรยี นรแู้ ละบรกิ ารวชิ าการ มหาวิทยาลยั ราชภฏั วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถมั ภ์ Success story 37

community area is the village No. 1 - 10, Tambon Sala Khru, Amphoe Nong Suea Pathumthani Province. The tools used were in-depth interviews. The operating processes are as follows: 1) Pre-preparation phase. Personnel preparation action planning 2) Preparation phase. Assess and survey communities Community needs Knowledge and skills of the people in the community 3 ) operating distance Community development according to the needs and potential of the community and products relevant to the community context, such as the development of packaging for fried mushrooms and curry Development and development of the Chan flower group to artificial flowers Online market development Planning meeting Knowledge transfer through workshops 4 ) Summarization and evaluation phase, evaluation, monitoring, performance and income assessment of the community. The results of the study found that 1 ) created a network of cooperation from government and private agencies, had community leaders who were the mainstay in community development and people in the community have volunteer spirit in community development. 2) To form an innovative community on the issue of strong community enterprises, Sala Khru 3 ) The community has improved quality of life and increased income. Before implementing the project, the people who participated in the project had an average household income of 12,674.12 baht / month After the activity, the households had an average income of 2,579.18 baht / month, representing an increase of 20.35 percent. Keywords: Quality of life upgrade, Packaging, Online marketing บทนำ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นมหาวิทยาลัยที่พระราชาประสงค์ให้เป็น มหาวิทยาลัยเพ่ือการพัฒนาท้องถิ่น ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฎ พ.ศ. 2547 มาตรา 7 ที่ระบุให้มหาวิทยาลัยเป็น สถาบันอุดมศึกษา เพื่อการพัฒนาท้องถิ่นเสริมพลังปัญญาของแผ่นดิน ซึ่งสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์เพื่อยกคุณภาพมาต รฐาน มหาวทิ ยาลัยราชภฎั สู่คุณภาพเป็นเลิศ โดยม่งุ เน้นการพัฒนาคุณภาพบัณฑิตสู่นักปฏิบัตอิ ย่างมืออาชพี การยกคุณภาพมาตรฐานชีวิต ของชุมชน ทอ้ งถ่นิ และพื้นทใ่ี ห้มีความเข้มแข็งและย่ังยนื ดังน้ันคณะผู้จัดทำจึงได้จัดทำโครงการยกระดับพัฒนาคุณภาพชีวิตชุมชนและท้องถ่ิน กิจกรรมสร้างการเรียนรู้ พัฒนาอาชีพ ยกระดับผลติ ภัณฑ์ของชมุ ชน วสิ าหกิจชุมชนท้องถิ่น (OTOP) ในพื้นท่ี ตำบลศาลาครุ อำเภอหนองเสือ จังหวัดปทมุ ธานี โดยมกี จิ กรรมประกอบด้วย 1) พฒั นากลมุ่ อาชีพดอกไม้จนั ทน์สู่ดอกไมป้ ระดษิ ฐ์ 2) การพฒั นาบรรจภุ ณั ฑเ์ หด็ ทอด พรกิ แกง ทำตรา สนิ คา้ 3) อบรมการพัฒนาตลาดออนไลน์ 4) อภปิ รายกลุ่มยอ่ ยเพ่อื ติดตามผลการดำเนนิ โครงการ 5) อภิปรายกลุ่มย่อยเพอ่ื ประเมินผล การเพ่ิมข้ึนของรายได้ของกลุ่มเป้าหมาย โดยมีเป้าหมายเพ่ือให้คนในชุมชนสามารถบริหารจัดการชีวิตตนเองได้อย่างสมดุลและมี ความเหมาะสม สามารถดำรงชวี ิตตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ร่วมกับการส่งเสรมิ ภูมิปัญญาท้องถ่ิน เพิ่มคุณคา่ และมลู ค่า เสรมิ เศรษฐกิจฐานรากในชุมชน เสรมิ สร้างและพัฒนาส่ิงแวดล้อมชุมชน และการจัดการชมุ ชนตามแนวทางการพฒั นาสังคมในรูปแบบ การรวมกลุ่มทางสังคม สร้างผู้นำชุมชน และปลูกฝังจิตอาสาให้กับประชาชน เพ่ือให้ชุมชนมีความเข้มแข็ง ม่ันคง นำไปสู่การพึ่งพา ตนเองและช่วยเหลอื เกอ้ื กลู กันในชุมชนไดอ้ ยา่ งย่งั ยนื กลุ่มเป้าหมาย/ผู้เขา้ ร่วมโครงการ - กลมุ่ เปา้ หมาย ประชาชนในพนื้ ที่ชมุ ชนหมทู่ ี่ 1-10 ตำบลศาลาครุ อำเภอหนองเสอื จังหวดั ปทมุ ธานี - ผู้เข้าร่วมโครงการ ประชาชนตำบลศาลาครุ จำนวน ไม่น้อยกวา่ 20 ครวั เรอื น เครอื่ งมอื ทใ่ี ช้ คอื แบบสมั ภาษณเ์ ชงิ ลกึ ระยะเวลาดำเนินโครงการ เดือน พฤษภาคม ถงึ เดือน สิงหาคม 2563 Success story 38

วธิ กี ารดำเนินงาน ภาพท่ี 1 กรอบการดำเนินโครงการยกระดบั คณุ ภาพชวี ิตชมุ ชนและท้องถ่ิน ผลการดำเนินงาน เกิดเครือข่ายความร่วมมือจากหน่วยงานภาครัฐและเอกชน มีผู้นำชุมชนที่เป็นแกนนำในการพัฒนาชุมชน และ ประชาชนในชุมชนมีจิตอาสาในการพัฒนาชุมชน ดังแสดงในภาพที่ 2 ได้รูปแบบชุมชนนวัตกรรมในประเด็นชุมชนวิสาหกิจเข้มแข็ง ศาลาครุ ดังแสดงในภาพท่ี 3 และชุมชนมีคุณภาพชีวิตดีขึ้นมีรายได้เพ่ิมขึ้น ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการมีรายได้เฉล่ียของครัวเรือน ก่อนดำเนินโครงการ เท่ากับ 12,674.12 บาท/เดือน หลังจากดำเนินกิจกรรม ครัวเรือนมีรายได้เฉล่ียเพิ่มขึ้น 2,579.18 บาท/เดือน คิดเปน็ รายไดเ้ พิ่มข้นึ รอ้ ยละ 20.35 ภาพท่ี 2 เครอื ข่ายชมุ ชน ประกอบด้วย อบต.ศาลาครุ และผู้นำชุมชนท้องถ่นิ ภาพที่ 3 การพฒั นาบรรจภุ ณั ฑเ์ ห็ดทอด พรกิ แกง และการพัฒนาตลาดออนไลน์ Success story 39

ภาพท่ี 4 การสรา้ งอาชพี ใหค้ นในชุมชนและสรปุ ผลดำเนินโครงการ สรปุ ผลการดำเนินงาน สรุปรายได้เพิ่มขนึ้ ผลการเข้าร่วมโครงการ ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการมีรายได้เฉลี่ยของครัวเรือนก่อนดำเนินโครงการ เท่ากับ 12,674.12 บาท/เดือน หลังจากดำเนินกิจกรรม ครัวเรือนมีรายได้เฉลี่ยเพิ่มข้ึน 2,579.18 บาท/เดือน คิดเป็นรายได้เพ่ิมขึ้นร้อยละ 20.35 ชาวบ้านมีรายได้เพ่ิมขึ้น 10% โดยสามารถพิจารณาจากการคำนวณจากสมการเชิงเส้นในการเพ่ิมรายได้ 10% ของรายได้ (ต่อป)ี ดังต่อไปน้ี กำหนดให้ x แทน รายได้เดิม, Y แทนรายไดใ้ หม่จะไดส้ ตู รการคำนวณค่ารายไดใ้ หมจ่ าก รายไดเ้ ดิม 10% ของรายได้เดิมต่อปีเป็นดงั น้ี Y= f(x) = x + รายไดเ้ ดมิ ข้นั ตอน 1. 10% = 0.10*100 2. ส่วนต่าง / รายได้เดิม = 0.10 3. รายไดใ้ หม่ - รายได้เดมิ = 6,000 นวัตกรรมท่ีเกิดขึ้น คอื รูปแบบบรรจุภณั ฑ์ ตราสินคา้ และผลติ ภณั ฑ์ทีไ่ ด้รบั การพัฒนาในรูปแบบตา่ ง ๆ เชน่ ดอกไม้ประดิษฐ์ทใ่ี ชใ้ นโอกาสตา่ ง ๆ ตามแนวคดิ ของกลุม่ ชาวบา้ นชมุ ชน ต.ศาลาครุ ข้อเสนอแนะเชิงการพัฒนาตอ่ ยอด 1. การตอ่ ยอดองคค์ วามรู้ในเรอื่ งการออกแบบบรรจุภณั ฑ์ให้มีความหลากหลาย สามารถเกบ็ สนิ คา้ ไดน้ าน และมี ความสวยงาม สอดคลอ้ งกับความตอ้ งการของผบู้ ริโภค 2. การต่อยอดองค์ความรู้ในเรื่องการตลาดออนไลน์ ทำให้ตอบสนองความต้องการของกลุ่มผู้บริโภคที่ หลากหลาย เพราะการตลาดในโลกยคุ ปจั จบุ ันเปน็ การเปล่ียนผ่านจากการตลาดแบบด้งั เดมิ มาสกู่ ารตลาดออนไลน์ (การตลาดดจิ ิทลั ) กติ ติกรรมประกาศ คณะผู้จัดทำโครงการยกระดับคุณภาพชีวิตชุมชนและท้องถ่ิน ตำบลศาลาครุ อำเภอหนองเสือ จังหวัดปทุมธานี ขอขอบพระคุณผู้ว่าราชการจังหวัดปทุมธานี สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวดั ปทุมธานี นายกองค์การบริหารส่วนตำบลศาลาครุ กำนัน ผูใ้ หญ่บ้าน ผู้นำกลุ่มชุมชนท่ีให้คำแนะนำ สนับสนุน ช่วยเหลือ รวมไปถึงผู้ท่ีร่วมเป็นส่วนหนึ่งของการดำเนินโครงการฯ และที่สำคัญ ขอขอบคุณประชาชนตำบลศาลาครุ ท้ัง 10 หมู่บ้าน ที่ให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม ทำให้โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตชุมชน และท้องถิน่ เอกสารอา้ งองิ องค์การบริการสว่ นตำบลศาลาครุ. (2561). แผนพัฒนาท้องถน่ิ 5 ปี 2561-2565 องคก์ ารบริการส่วนตำบลศาลาครุ. เอกสารไมต่ พี มิ พ์ Kapferer, J.N., “New strategic brand management: creating and sustaining brand equity long term”, Kogan Page, pp.171-175, 2008. Success story 40


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook