Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ถอดบทเรียน บ้านทัพไทย new

ถอดบทเรียน บ้านทัพไทย new

Published by learnoffice, 2021-02-05 03:54:50

Description: ถอดบทเรียน บ้านทัพไทย new

Search

Read the Text Version

วิถีชีวิตของชาวบ้านทัพไทย ถือเป็นวิถีชีวิตแบบชุมชนท่ีอยู่ รอบนอกเมืองท่ัวไป ด้วยลักษณะพ้ืนท่ีที่ติดชายแดน และรอบล้อมด้วย ภูเขา ผูค้ นส่วนใหญ่จงึ ยดึ อาชีพเกษตรกรเป็นหลัก ไดแ้ ก่ การทำ� นา และ ท�ำไร่มันส�ำปะหลังเป็นส่วนใหญ่ นอกเหนือจากน้ันยังมีอาชีพรองลงมา คือ การเล้ยี งโค กระบือ บา้ นทพั ไทย 41

42 “หม่บู ้านตวั อย่าง 4 ดี วถิ ีพอเพยี ง”

การท�ำไร่มนั ส�ำปะหลัง ในปี พ.ศ. 2562 ชาวบ้านทัพไทยที่ประกอบอาชีพมันส�ำปะหลัง ประสบปัญหาเร่ืองโรคใบด่างท้ังต�ำบลทัพไทย ท�ำให้ขาดทุน ทางผู้ใหญ่บ้านและผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านต้องเร่งตรวจสอบภายในชุมชน โดยใหผ้ ู้ที่ได้รบั ความเดอื ดร้อนมาลงช่อื และลงพนื้ ทเ่ี ก็บขอ้ มูลเบือ้ งตน้ ย่ืนต่อหน่วยงานภาครัฐเพ่ือขอรับความช่วยเหลือให้เข้ามาช่วยและ เร่งด�ำเนินการแก้ไข ซ่ึงกรมวิชาการเกษตรเข้ามาให้ความรู้เก่ียวกับ ขน้ั ตอนการกำ� จัดและท�ำลายแปลงมนั ส�ำปะหลังท่ีเป็นโรคใบด่าง บ้านทพั ไทย 43

คุณสงั วร เนยี นประสพ ชาวบา้ นทพั ไทย 44 “หมบู่ ้านตวั อยา่ ง 4 ดี วิถพี อเพยี ง”

การท�ำนาแบบกลุ่ม “การมกี ลุ่มขา้ ว ไมใ่ ชเ่ พยี งสร้างรายได้ มันรวมไปถึง ความรกั ความสามัคคกี ันของคนในกลมุ่ ” การท�ำนาขา้ วในหมบู่ ้านจะท�ำนาแบบหว่านปลี ะ 1 ครงั้ ในช่วง เดอื นเมษายน-เดือนพฤศจิกายน ของทุกปี การรวมกลุ่มท�ำนาข้าว กลุ่มล็อก 6 (คุ้ม 6) ได้มีการรวมกลุ่ม และน�ำพื้นที่สาธารณะมาท�ำนาข้าวร่วมกัน ผู้ริเร่ิมคือ คุณสังวร เนียนประสพ เป็นหัวหน้ากลุ่มข้าวล็อก 6 บ้านทัพไทย ก่อนท่ีจะได้ รวมกลุ่มกันท�ำนา ภายในกลุ่มมีการจัดสรรที่ดินที่เป็นที่สาธารณะ ในคุ้มของตนเองให้สมาชิกในกลุ่มต่างคนต่างท�ำ กระทั่งเม่ือปี พ.ศ. 2555 กลุ่มมีแนวคิดข้ึนว่าหากน�ำที่นาท้ังหมดมารวมกันและท�ำนา ร่วมกันผลประโยชน์ก็จะเกิดข้ึนภายในกลุ่ม จึงได้มีการจัดประชุม และลงมตภิ ายในกลมุ่ ในการทำ� นาแบบกล่มุ ในปีแรกไดเ้ รยี่ ไรงบประมาณกนั ภายในกล่มุ เพ่ือซอื้ เมลด็ พันธุข์ ้าว และช่วยกันลงแรงในการท�ำนา หลังจากท�ำนาปีแรกได้มีการประชุม เพือ่ สรุปผลด้านรายได้ คา่ ใชจ้ ่าย กำ� ไรเพื่อแจ้งสมาชิกกลมุ่ ใหร้ บั ทราบ ถึงผลประกอบการ ซ่ึงได้รับผลตอบรับจากสมาชิกเป็นไปในทิศทาง ท่ีดี ท�ำให้ชาวบ้านด�ำเนินการท�ำนาแบบกลุ่มเรื่อยมา เมื่อถึงปี พ.ศ 2558 ได้สรุปผลประกอบการในระเวลา 3 ปี พบว่ามีเงินสะสม ภายในกลุ่มประมาณ80,000กว่าบาทจงึ มีการประชุมเพ่อื หาแนวทาง ในการจัดสรรเงินเพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อสมาชิก ซึ่งแนวทาง ดังกล่าวคือ การน�ำเงินให้สมาชิกกู้ยืม ในกรณีสมาชิกเดือดร้อน ประสบปัญหาด้านการเกษตร เช่น ไม่มีเงินลงทุนในการท�ำนา หรอื ปลูกมันส�ำปะหลัง โดยคิดดอกเบ้ียต่�ำ บา้ นทัพไทย 45

นอกจากมีเงินหมุนเวียนภายในกลุ่มแล้ว ส่ิงที่กลุ่มได้ คือการได้พบปะกันภายในกลุ่ม ได้แลกเปลี่ยนความคิดกัน และเกิด ความผูกพันกัน มีความรักสามัคคีกัน มากขนึ้ 46 “หมบู่ ้านตวั อย่าง 4 ดี วถิ ีพอเพียง”

เวลาเแขกหว่านขา้ ว เกี่ยวขา้ ว สมาชิกกลมุ่ ได้พูดคุยปรับทุกข์ ช่วยกันแก้ปัญหา แ ล ะ ช ่ ว ย ป ล อ บ ใ จ แ ล ะ ใ ห ้ ก� ำ ลั ง ใ จ กั น เปน็ ความสขุ จากการรวมกลมุ่ ทำ� กจิ กรรมตา่ งๆ ของคนในชมุ ชนบา้ นทพั ไทย บ้านทพั ไทย 47

48 “หม่บู ้านตวั อย่าง 4 ดี วถิ ีพอเพยี ง”

กลุ่มเลยี้ งโค-กระบอื กลุ่มโค-กระบือ ถูกจัดต้ังข้ึนในเขตพื้นที่สาธารณะของ บา้ นทบั ทมิ สยาม 03 ตำ� บลทพั ไทย อำ� เภอตาพระยา จงั หวดั สระแกว้ เพ่ือเปน็ สถานทีใ่ หค้ นในแถบใกล้เคยี ง นำ� โค-กระบือมาเลยี้ งรวมกนั ในบริเวณเดียวกัน จะมีการจัดสรรพื้นที่ให้ส�ำหรับประชาชน ท่ีมีความประสงค์เขา้ กล่มุ บา้ นทพั ไทย 49

การเลี้ยงโค-กระบือ เป็นกลุ่มที่รวมตัวกันเพ่ือหารายได้ เสริมให้กับเกษตรกรผู้ปลูกข้าวและไร่มันส�ำปะหลัง การรวมกลุ่ม เล้ียงโค-กระบือ ยังช่วยในเร่ืองการต่อรองราคากับนายทุน ผู้ซื้อโค-กระบือ การบริหารจัดการกลุ่มจะมีประธานและ คณะกรรมการในการดูแล และจัดสรรพ้ืนท่ีให้กับชาวบ้าน ท่ีมีความต้องการเข้ามาเล้ียงโค-กระบือ รวมกลุ่มกันในการ สร้างคอกส�ำหรับเลี้ยงสัตว์ ปัจจุบันมีคอกประมาณ 90 คอก และ คาดว่าอนาคตจะเพิ่มปริมาณขึน้ เร่ือย ๆ 50 “หมบู่ ้านตวั อย่าง 4 ดี วถิ ีพอเพยี ง”

ข้อดีของการรวมกลุ่มและน�ำโค-กระบือ มาเลี้ยงในสถานที่เดียวกันจัดเป็นการควบคุมและ ป้องกันโรค ซ่ึงในอดีตก่อนจะมีการจัดต้ังกลุ่ม การเล้ียงโค-กระบือทับทิมสยาม 03 ชาวบ้าน จะเลี้ยงโค-กระบือไว้ใต้ถุนบ้านหรือสร้างคอก ภายในบริเวณบ้าน ก่อให้เกิดกลิ่นเหม็นและ มีเสียงรบกวนเพื่อนบ้าน และอาจส่งผลต่อ สุขภาพของคนในครอบครัวได้ แต่ปัจจุบัน ช า ว บ ้ า น ส ่ ว น ใ ห ญ ่ เ ร่ิ ม น� ำ สั ต ว ์ อ อ ก ไ ป เ ล้ี ย ง รวมกันในพื้นที่ที่ทางรัฐจัดสรรให้ แต่กระนั้น ก็ยังคงมีชาวบ้านบางส่วนท่ียังไม่มีความพร้อม ในการย้ายสัตว์ไปเลี้ยงรวมกัน เนื่องจากปัญหา ในการเดินทางและสถานที่จัดเตรียมไว้อยู่ห่าง จากหมู่บ้านประมาณ 3 กโิ ลเมตร บ้านทัพไทย 51

52 “หม่บู ้านตวั อย่าง 4 ดี วถิ ีพอเพยี ง”

รูปแบบการเลี้ยงโคในช่วงที่ไม่มีการท�ำการเกษตร จะเลี้ยงแบบปล่อยให้โคหากินเองตามทุ่งนา และเชิงเขาที่มีหญ้า ปริมาณมากโดยไม่กังวลเร่ืองโค-กระบือหาย เน่ืองจากเม่ือถึงเวลา โค-กระบือจะกลับมายังจุดที่ปล่อยไปตอนแรก ผู้เลี้ยงเพียงไปรอ ต้อนโค-กระบอื เหล่านน้ั กลบั เข้าคอก รูปแบบการเลี้ยงโค-กระบือในช่วงมีการท�ำการเกษตร ชาวบ้านไม่สามารถปล่อยโค-กระบือออกไปหาอาหารหาเองได้ เน่ืองจากอาจไปท�ำลายพืชผลทางการเกษตรของชาวบ้านได้ ชาวบ้านจะกักตุนฟางข้าวอัดก้อนไว้ และการปลูกหญ้าเนเปียร์ ซ่ึงได้รับการสนับสนุนจากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เพ่ือเป็น อาหารเล้ยี งวัว และเปน็ การประหยดั คา่ ใช้จ่ายในการเลีย้ งดู บ้านทัพไทย 53

คณุ พรม พะรินรมั ย์ ผชู้ ่วยผใู้ หญบ่ ้าน บ้านทัพไทย 54 “หมบู่ า้ นตวั อยา่ ง 4 ดี วถิ พี อเพยี ง”

บุคคลตวั อย่างด้านรายไดด้ ี “การก้ยู มื ตอ้ งมดี อกเบี้ย” แตถ่ า้ เรามี โค-กระบือ เราก็เหมอื นมีทุนส�ำรองในครอบครวั ทจี่ ะนำ� ไปใช้เม่ือไรก็ได้ คุณพรม พะรนิ รมั ย์ เป็นผชู้ ่วยผใู้ หญบ่ ้าน บ้านทัพไทย การที่ตนเอง เลือกเข้าร่วมเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มเลี้ยงโค-กระบือเนื่องจากตน อยากหารายได้เสริมอีกทางหนึ่ง การเลี้ยงโค-กระบือเปรียบเสมือน การหาทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ เมื่อถึงเวลาฉุกเฉินหรือเดือดร้อน ก็สามารถขายและเอาเงินมาหมุนเวียนในครอบครัวได้ ดีกว่าต้องไป กู้ยืมคนอ่ืน อีกอย่างคือช่วยควบคุมโรค และสะดวกในการเล้ียงดู หากมีปัญหาด้านการเลี้ยงหรือสิ่งผิดปกติเกิดขึ้นกับโค-กระบือ สามารถปรึกษาหรอื ขอความช่วยเหลอื จากสมาชิกกลุม่ ได้ รวมทง้ั มี การประชุมเพ่ือแลกเปล่ียนความคิดเห็นกันภายในกลุ่ม และได้รับ ความรู้จากหน่วยงานราชการท่ีเข้ามาแนะน�ำกระบวนการเลี้ยง อยา่ งถกู วธิ ี บ้านทัพไทย 55

คณุ กรรณิการ์ เปน็ นวล ชาวบ้านทัพไทย 56 “หมบู่ ้านตัวอย่าง 4 ดี วิถพี อเพยี ง”

เสยี งสะทอ้ นของคนในชุมชน “การกลับมาบา้ น ถอื เป็นการพกั ผ่อนท่ดี ีทีส่ ดุ ” การออกไปทำ�งานในเมอื งตง้ั แตเ่ ดก็ นาน ๆ ทีจะมเี วลาวา่ ง ถึงจะได้กลับบ้าน ทุกคร้ังที่กลับบ้านเหมือนได้กลับมา เติมพลังและมีเเรงทีจ่ ะกลบั ไปเรมิ่ ทำ�งานอีกครั้ง บ้านทัพไทย 57

สถานท่ที อ่ งเที่ยวสำ� คญั 58 “หมบู่ ้านตวั อย่าง 4 ดี วิถพี อเพียง”

ค�ำขวญั อ�ำเภอตาพระยา พระพทุ ธคันธรราชศกั ดิส์ ทิ ธ์ิ คา่ ยพชิ ติ ศึกเจ้าพระยาบดนิ ทร์เดชานชุ ติ ตดิ ชายแดนเบ้ืองบรู พาสยาม ลือนามสมรภูมติ าพระยา บา้ นทัพไทย 59

ตลาดนดั ทบั ทิมสยาม 03 ชายแดนไทย-กัมพชู า 60 “หม่บู า้ นตัวอย่าง 4 ดี วถิ พี อเพยี ง”

ตลาดนดั ทับทมิ สยาม 03 จะมีทกุ ๆ เช้าวนั อาทิตย์ ถือว่าเป็นสถานท่ีแลกเปลีย่ นสนิ ค้า ระหว่างไทยและกมั พูชา บ้านทัพไทย 61

ตลาดนัดทับทิมสยาม 03 ต้ังอยู่ท่ี บ้านทับทิมสยาม 03 ต�ำบลทัพไทย อ�ำเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว อยู่ห่าง จากบ้านทัพไทย ประมาณ 2 กิโลเมตร โดยตลาดทบั ทมิ สยาม 03 จะมีการคา้ ขาย ทุก ๆ เช้าของวันอาทิตย์ ถือว่าเป็น ตลาดชายแดนไทย-กัมพูชาที่ใหญ่ท่ีสุด ของต�ำบลทัพไทย 62 “หมบู่ ้านตัวอย่าง 4 ดี วิถีพอเพียง”

บรรยากาศในช่วงเช้าของตลาดทับทิมสยาม 03 จะมีสภาพอากาศเย็นสบาย เนื่องจากเป็นบริเวณ ที่ล้อมรอบด้วยเทือกเขาบรรทัด และสองข้างทาง จะพบกับชาวบ้านที่ขับรถมอเตอร์ไซต์ รถอีแต๊ก รถพ่วง เพื่อเดินทางมาจับจ่ายซื้อสินค้า เป็นวิถีชีวิต ของชาวบ้านทัพไทยยังคงอัตลักษณ์และวิถีชุมชน แบบอดีต ในพื้นท่ีบริเวณตลาดมีการจัดระเบียบ ท้ังด้านการคมนาคม การจอดรถ การรักษา ความปลอดภัย เพื่อไม่ให้เกิดความวุ่นวาย ถือเป็น ตลาดท่ีมกี ารบรหิ ารจัดการทด่ี แี หง่ หน่งึ บ้านทัพไทย 63

ภายในตลาดนดั ทบั ทมิ สยาม 03 ไม่ใช่เพียงแค่คนฝั่งไทยเท่านั้น ที่เดินทางมาซ้ือของใช้ไปกักตุน แต่ผู้คน ที่ ห ล่ั ง ไ ห ล ม า จ า ก ป ร ะ เ ท ศ เ พื่ อ น บ ้ า น อย่างกมั พูชาอีกนับพันคน ทกุ เชา้ วันอาทิตย์ ชาวกัมพูชาโดยส่วนใหญ่จะขับรถอีแต็ก หรือรถมอเตอร์ไซต์ท่ีพ่วงตะกร้าสองข้าง ข้ามมายังประเทศไทย ช่องทางเข้า-ออก บริเวณจุด ตชด. 03 หรือ ช่องตะแบง ต�ำบลทัพไทย อ�ำเภอตาพระยา จังหวัด สระแก้ว หลายร้อยคันต่อวัน เพื่อรอ ข้ามฝั่งมาซ้ือของท่ีตลาดต้ังแต่ตีห้า 64 “หมบู่ า้ นตัวอยา่ ง 4 ดี วถิ ีพอเพียง”

มีการน�ำสินค้าของป่าจากกัมพูชามาขาย บางรายเข้ามาเพ่ือซื้อสินค้า จากฝั่งไทยกลับไปขายยังฝั่งตัวเองหรือใช้ภายในครอบครัว ซึ่งในตลาด จะแบ่งเป็น 2 พื้นที่ คือ พื้นท่ีที่เป็นสินค้าจากฝั่งไทย และพ้ืนที่ที่เป็น สนิ ค้าจากฝ่ังกัมพชู า เพือ่ ใหง้ า่ ยตอ่ ควบคมุ และการบรหิ ารจัดการตลาด บา้ นทัพไทย 65

ตวั อย่างชาวบ้านที่ขายของในตลาด คุณปยุ๋ และคณุ เจน แก้วก�ำเนดิ ชาวบ้านทัพไทย 66 “หมบู่ า้ นตวั อยา่ ง 4 ดี วถิ พี อเพยี ง”

คุณปุ๋ย และคุณเจน แก้วก�ำเนิด เป็นชาวบ้านทัพไทย มีอาชีพเป็นเกษตรกรท�ำนา ซึ่งการท�ำนาจะท�ำได้ปีละครั้งและ ไดเ้ งนิ ปลี ะครง้ั หลงั จากการเกบ็ เกย่ี วและขายผลผลติ แตก่ ารปลกู ผกั หรือหาของป่า เพ่ือน�ำไปขายท่ีตลาดทุกวันอาทิตย์เดือนหนึ่ง มี 4 คร้ัง ได้เงินมาใช้จ่ายในครอบครัวเป็นรายอาทิตย์ ถือเป็น ช่องทางในการหารายได้ท่ีส�ำคัญอย่างหนึ่ง หากวันธรรมดา ที่ไม่มีตลาด ตนก็จะเร่ขายตามหมู่บ้านเป็นอาชีพเสริมอีกทางหน่ึง ซง่ึ ก็ไดเ้ งินบา้ งแตก่ ารขายทต่ี ลาดไดเ้ งนิ เยอะกว่า ทกุ วันเสาร์ คุณปุ๋ย และคณุ เจน จะเกบ็ พชื ผกั ต่าง ๆ ทต่ี นเอง ปลูกไว้บริเวณบ้าน น�ำมาจัดเตรียมล้างและมัดเป็นก�ำ เช่น ผักบุ้ง มะนาว ผักชี ต้นหอม คะน้า ใบตอง เป็นต้น บางวันก็ไปเก็บเห็ด และหน่อไม้ น�ำมาปอกและดองบรรจุใส่ถุงเพื่อน�ำไปขายที่ตลาด ในวนั อาทิตย์ บา้ นทพั ไทย 67

“ถ้าคุณเป็นคนหน่ึงท่ีชอบสัมผัสกับบรรยากาศ และวิถีชีวิตชุมชน บ ้ า น พี่ เ มื อ ง น ้ อ ง มี ก า ร ผ ส ม ผ ส า น วั ฒ น ธ ร ร ม เ ป ็ น ก า ร ใ ช ้ ชี วิ ต ที่ไม่ได้ใช้ค�ำว่าอยู่คนละประเทศมาเป็นเส้นแบ่งก้ันความสัมพันธ์ ความรัก ความผูกผัน ความสามัคคี และการอยู่ร่วมกันได้ อย่างมีความสุข รอยย้ิม เสียงหัวเราะ ค�ำทักทาย ท่ีมีให้แก่กัน ในทกุ ๆ เช้า คุณจะเข้าใจชมุ ชนที่อยู่แถบชายแดนมากขน้ึ ” 68 “หมู่บา้ นตัวอย่าง 4 ดี วิถีพอเพียง”

บา้ นทัพไทย 69

ละลทุ ัพไทย 70 “หมบู่ า้ นตวั อยา่ ง 4 ดี วิถีพอเพยี ง”

สถานท่ีตั้ง ตั้งอยู่ห่างจากบ้านทัพไทย ต�ำบลทัพไทย อ�ำเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว ประมาณ 2 กิโลเมตร เดินทางสะดวก เนื่องจาก ถนนลาดยาง ซ่ึงเป็นเส้นทางผ่านเพ่ือไป เขาช่องตะกิว เชื่อมต่อเพ่ือออกถนนสายอีสาน ในชว่ งเทศกาล ละลุ เป็นภาษาเขมร แปลว่า แผ่นดินทะลุ แผ่นดินท่ียุบตัวลงไป ซ่ึงชาวบ้านก็ใช้ศัพท์นี้ เรียกขานกันต่อ ๆ มา ละลุเป็นลักษณะของ ภูมิประเทศท่ีถูกกัดเซาะจนเป็นหน้าผาเต้ีย ท่ีมีหลืบ มีร่อง มียอดแหลม หรือเป็นแท่งบ้าง โผล่พ้นพื้นดินบนลานโล่งเรียบ คล้ายเป็นเจดีย์ เป็นดอกเห็ดเป็นจอมปลวก สูงต่�ำไม่เท่ากัน สลบั เรยี งรายกนั เป็นหย่อม ๆ บ้านทัพไทย 71

ละลทุ ัพไทย 72 “หมบู่ า้ นตวั อยา่ ง 4 ดี วิถีพอเพยี ง”

ละลุเกิดจากผลของกระบวนการเปล่ียนแปลงธรณีสันฐาน ของเปลือกโลกในอดีต เกิดข้ึนบริเวณท่ีมีเทือกเขาล้อมรอบน้�ำฝน ทต่ี กลงมากอ่ ให้เกิดเป็นทางนำ�้ และล�ำธารขนึ้ ในบรเิ วณเทอื กเขา สายน�้ำได้กัดเซาะชั้นหินจากเทือกเขาให้ผุพัง และพัดพา เอาตะกอนดังกล่าวเข้ามาสะสมตัวในแอ่งซ่ึงเป็นพ้ืนที่ต่�ำระหว่าง เทือกเขา พื้นที่เป็นท่ีรวมของตะกอนน�้ำพาจากทางน�้ำสายเล็กๆ หลายสาย เป็นการพัดพาเอาตะกอนมาจากทางทิศตะวันตก ไปส่ทู ิศตะวนั ออก ตามความลาดเอียงของพ้นื ที่ ลักษณะของช้ันตะกอนที่สะสมตัวในแอ่งเกิดของละลุ พบตะกอนช้ันล่างเป็นตะกอนที่เกิดจากการผุพังของหินดินดาน และหินทรายแป้งเป็นส่วนใหญ่ตะกอนมีดินเหนียวปะปนอยู่มาก บ่งชี้ให้เห็นว่า ภูมิอากาศในขณะน้ันเป็นภูมิอากาศแบบชุ่มชื้น ท�ำให้ เกดิ การผุพังทางเคมีสูง ตะกอนในระดบั ทสี่ งู ขึ้นมชี ัน้ ตะกอนเมด็ หยาบ สลบั กับเมด็ ละเอียด จนเปน็ ขนาดทรายแป้งในช้นั บน รูปแบบของการสะสมตวั ชนิดน้ีแสดงให้เหน็ วา่ เป็นการสะสมตัว โดยทางน้�ำ การสะสมตัวท่ีเกิดข้ึนเป็นเวลานานต่อเน่ืองกัน ท�ำให้ได้ ชั้นตะกอนในแอ่งหนาเพิ่มมากข้ึนเร่ือย ๆ แอ่งตื้นเขินข้ึน ทางน้�ำลด ระดับลง เกดิ เปน็ ตะพกั ลุ่มน�้ำสองข้างของห้วยยางซง่ึ เปน็ ล�ำน�้ำใหญ่สดุ ในพ้นื ทน่ี ้ี การสะสมตวั ของตะกอนเหลา่ นี้ บ้านทัพไทย 73

74 “หม่บู ้านตวั อย่าง 4 ดี วถิ ีพอเพยี ง”

หลังจากน้ัน บริเวณพื้นผิวแอ่งสะสมตัวจะมีต้นไม้ข้ึนปกคลุม ภูมิอากาศน่าจะเป็นแบบอบอุ่นสลับกับแห้งแล้ง น�้ำจากผิวดิน ที่ซึมลงไป ระดับน้�ำบาดาลที่แปรเปล่ียน ท�ำให้เกิดเม็ดศิลาแลงและ ลกู รังปะปนอยใู่ นชั้นตะกอนชัน้ บน ตอ่ มาเกดิ กระบวนการเคลอื่ นไหว ของเปลือกโลกอีกครั้งหน่ึง ท�ำให้พื้นที่ราบในบริเวณนี้เกิดรอยแตก และรอยเลื่อนหลายทิศทาง รอยแตกเหล่านี้เป็นสาเหตุท�ำให้ชั้น ตะกอนแตกออกเป็นแนวยาวท�ำให้น้�ำซึมผ่านได้ง่าย ในที่สุดชั้น ตะกอนจะถูกกัดเซาะใหเ้ ป็นทางนำ�้ ไหล ตอ่ มา สภาพภมู ิอากาศเปล่ียนเป็นแบบฝนตกชกุ น้ำ� ฝนท่ตี ก ลงมาอย่างต่อเน่ืองมีปริมาณมากและรุนแรง กระแสน้�ำท่ีค่อนข้าง แรงนี้ ได้กัดเซาะพื้นที่สะสมตะกอนซึ่งอยู่ใกล้กับเชิงเขาให้สึกกร่อน อย่างรวดเร็ว การกัดเซาะในแนวราบจะท�ำให้ชั้นตะกอนแตกหลุดไป กลายเป็นพ้ืนท่ีราบ ส่วนการกัดเซาะในแนวดิ่ง จะท�ำให้ส่วนท่ี หลงเหลืออยู่มีลักษณะเป็นหลืบ เป็นหน้าผา การวิวัฒนาการของ เหตุการณ์เหล่าน้ีสันนิษฐานว่า น่าจะเกิดในช่วงเวลาประมาณ 10,000-30,000 ปีท่ีแล้วมาจนถึงปัจจุบัน ชั้นตะกอนส่วนที่เหลือ ซึ่งมีรูปร่างต่าง ๆ กันไปตามระดับความทนทานต่อการกัดเซาะ จึงได้รับการเรียกขานตามจินตนาการของชาวบ้านในละแวกน้ัน ว่าแผ่นดนิ ทะลุหรอื ละลุ (กรมทรพั ยากรธรณี, 2559) บา้ นทัพไทย 75

แหล่งหินตัดสระเพลง 76 “หมบู่ า้ นตวั อย่าง 4 ดี วิถีพอเพียง”

แหล่งตัดหินสระเพลง หรือแหล่งตัดหินบ้านทัพไทย ปัจจุบันตั้งอยู่ ในเขตพื้นที่ ต�ำบลทัพไทย อ�ำเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว เป็นลานตัดหินทรายบนพื้นท่ีกว่า 900 ไร่ หินทรายที่นี่ใช้ส�ำหรับ สร้างปราสาทหิน แม้ว่าในพ้ืนท่ีต�ำบลทัพไทยจะมีการส�ำรวจพบ โบราณสถานหินขนาดเล็ก ๆ กว่า 50 แห่ง แต่ท้ังหมดก็เลือกใช้ ศลิ าแลง เปน็ วัสดุหลกั ในการกอ่ สร้าง บ้านทพั ไทย 77

คุณสทุ ศั น์ นะรานรำ� ผู้ใหญ่บา้ น หมู่ท่ี 2 บา้ นโคกตาด้วง ต�ำบลทพั ไทย อำ� เภอตาพระยา จงั หวัดสระแกว้ 78 “หมบู่ ้านตัวอยา่ ง 4 ดี วิถพี อเพียง”

ส�ำหรับการเดินทางเข้าแหล่งหินตัดของเราครั้งน้ี น�ำทางโดย ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน บ้านโคกตาด้วง และบ้านทัพไทย ต�ำบลทพั ไทย อ�ำเภอตาพระยา จังหวัดสระแกว้ ซึ่งเราออกเดนิ ทางจาก บา้ นทัพไทย เดนิ ทางตอ่ ทางทิศเหนือตามถนนสาย 3382 อกี ประมาณ 6 กโิ ลเมตร ระหว่างทางผ่านคลองส้มปอ่ ย และโครงการทบั ทิมสยาม 03 แล้วเลี้ยวซ้ายไปตามถนนลูกรัง ผ่านหน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติ ตาพระยาท่ี ตย.1 จากน้ันต้องเดินเท้าเข้าไปอีกราว 600 เมตร ก็จะพบกับผาหินทรายสูงชันที่เต็มไปด้วยร่องรอยการเจาะสกัดเรียง ต่อกันเป็นแนวยาว และกลุ่มกองหินทรายทรงส่ีเหล่ียมขนาดต่าง ๆ ทผี่ า่ นการแกะสกัดพรอ้ มใช้งานกระจัดกระจายกันอยู่ หินทรายท่ีพบในแหล่งตัดหินสระเพลง เป็นหินทราย เน้ือดีละเอียด ปราสาทหินทรายขนาดใหญ่ท่ีอยู่ใกล้แหล่งตัดหินแห่งนี้ มากทส่ี ุดในรศั มี 20-30 กโิ ลเมตร คือ “ปราสาทบันทายฉมาร”์ หรอื บันเตียฉมาร์ (Banteay Chhmar) ในประเทศกมั พชู า ปราสาทบันทายฉมาร์ สร้างขึ้นในสมัยพระเจ้าชัยวรมันท่ี 7 เม่ือราวพุทธศตวรรษที่ 18 หรือราว 800 ปีมาแล้ว เช่ือกันว่าสร้าง เพื่ออุทิศให้กับเจ้าชายศรีนทรกุมาร โอรสของพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 กับเหล่าแม่ทัพคนส�ำคัญท่ีเสียชีวิตจากการปกป้องเจ้าชายเม่ือคราว สงครามปราบกบฏภรตราหูผู้ทรยศ ซึ่งอาจเป็นการสร้างขึ้นบนพ้ืนที่ ที่ครั้งหนึ่งเคยเป็นฐานอ�ำนาจเดิมของราชวงศ์มหิธรปุระ ต้นราชสกุล ของพระเจ้าชยั วรมันที่ 7 บา้ นทพั ไทย 79

ปัจจุบันปราสาทบันทายฉมาร์ ต้ังอยู่ทางทิศเหนือของจังหวัด บันเตยี เมยี นชยั (Banteay Meanchey) ประเทศกมั พชู า โดยปราสาท บันทายฉมาร์ อยู่ทางทิศเหนือของเมืองพระนคร ห่างจากนครธม ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือราว 100 กิโลเมตร และอยู่ห่างจาก แหลง่ หนิ ตดั สระเพลงไปทางทศิ ตะวนั ออก เปน็ ระยะทางราว 30 กโิ ลเมตร นักวิชาการหลายท่านเชื่อว่า หินทรายจากแหล่งตัดหินสระเพลง ถูกน�ำไปใช้ในการก่อสร้างปราสาทหินบันทายฉมาร์เพราะเป็นปราสาท หินทรายขนาดใหญ่ในรัศมี 20-30 กิโลเมตร ซึ่งเป็นระยะที่อยู่ใกล้ แหล่งตัดหินแห่งน้ีมากที่สุดอีกทั้งยังมีลักษณะร่องรอยการตัดหินที่ใกล้ เคยี งกนั และยังไม่พบแหลง่ ตดั หนิ เช่นน้ใี นเขตประเทศกมั พูชา ร่องรอยการตัดหินทรายที่พบในแหล่งตัดหินสระเพลงน้ัน มีรอยเจาะตัดเป็นชั้น ๆ ชั้นละประมาณ 5 น้ิว สันนิษฐานว่า ใช้ส่ิว หรือเครื่องมือเหล็กในการเจาะสกัดโดยจะเจาะห่างกันเป็นช่อง ๆ กอ่ นใช้คอ้ นทบุ หนิ ทรายจะแตกออกตามรอยทุบ จากน้นั นา่ จะลำ� เลียง ด้วยช้างผ่านช่องทางสัญจร ทางบก และทางน�้ำ ไปตามทิศตะวันออก จนถึงปราสาทบันทายฉมาร์ โดยพื้นท่ีส่วนใหญ่ในบริเวณนี้ มีลักษณะ เป็นที่ราบลาดเอียงไปทางทิศตะวันออกสู่กัมพูชา ทางน�้ำที่มีก็ไหลไป ทางเดยี วกัน 80 “หมู่บ้านตวั อยา่ ง 4 ดี วถิ พี อเพยี ง”

ท้ังนี้กองทุนมรดกโลก (Global Heritage Fund : GHF) ได้ระบุผลการศึกษาทางโบราณคดีท่ีปราสาทบันทายฉมาร์ไว้ว่า ท้ังคูน้�ำ และคลองขุดต่างก็ยังคงใช้งานได้ดีเหมือนเม่ือครั้งแรก สร้างเป็นระบบจัดการน้�ำท่ีมีประสิทธิภาพ และสร้างสรรค์มากส�ำหรับ ชุมชนเขมรโบราณ แหล่งน้�ำส�ำคัญท่ีหล่อเลี้ยงปราสาทบันทายฉมาร์ ปมี 2 แหลง่ คอื แหลง่ น้ำ� บนผวิ ดิน กับนำ�้ ฝนที่ไหลเทลงมาทางทศิ ใต้ ต้ังแต่โบราณในยุคสมัยท่ียังไม่มีเส้นแบ่งเขตแดนไทย-กัมพูชา ชาวบา้ นสามารถเดินทางไปมาหาส่กู นั ได้โดยสะดวก ผา่ นเส้นทาง หรอื ช่องเขาต่าง ๆ ได้อย่างอิสระ ซึ่งหลายเส้นทางยังคงมีการใช้งานจริง ถึงทุกวันน้ี และเดินทางขึ้นจนถึงปราสาทบันทายฉมาร์ได้ บ้างเป็น เส้นทางที่สามารถสัญจรจากแหล่งหินตัดสระเพลงในต�ำบลทัพไทย ถึงปราสาทบันทายฉมาร์ได้โดยตรงมีระยะทางประมาณ 30 กิโลเมตร (เกสรบัว อุบลสรรค์, 2562) การเข้าไปยังแหล่งตัดหิน จะค่อนข้างยากถนนยังเป็นถนนลูกรัง และมีหลุมค่อนข้างเยอะ ข้างในเป็นป่าท่ีค่อนข้างเปล่ียวและอันตราย และควรมีผู้น�ำทางที่เช่ียวชาญในพ้ืนท่ีน�ำทางเข้าไป ซึ่งส่วนใหญ่ หากมีการจัดนิทรรศการของโรงเรียนหรือหน่วยงานต่าง ๆ จะติดต่อ ผ่านผู้ใหญ่บ้านหมู่ท่ี 2 บ้านโคกตาด้วง เนื่องจากท่านมีความช�ำนาญ และมคี วามรู้ท่ีสามารถถา่ ยทอดเกี่ยวกบั แหลง่ หนิ ตดั ใหก้ บั ผูเ้ ข้าชมได้ บ้านทัพไทย 81

อา่ งเก็บนำ้� คลองสม้ ปอ่ ย 82 “หมูบ่ ้านตวั อย่าง 4 ดี วถิ ีพอเพียง”

“ถ้าคุณอยากถา่ ยรปู สัมผสั เสียงนก และแสงพระอาทิตย์ทก่ี �ำลงั ลบั ฟ้า คุณสามารถมาที่นไ่ี ด้ เวลาประมาณ 17.30 น. - 18.10 น.” บ้านทพั ไทย 83

(ท่มี า: ส�ำนักชลประทานท่ี 9 , 2546) 84 “หม่บู า้ นตวั อย่าง 4 ดี วิถีพอเพียง”

ด้วยสภาพพื้นท่ีส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ราบสูงเชิงเขา มีแหล่งน�้ำ และคลองธรรมชาติสลับที่ลุ่มแอ่งกระทะมีภูเขาคันนาก้ันก่ึงกลาง ระหว่างต�ำบล สภาพเดิมเป็นดินดานแข็ง ลักษณะดินเป็นดินร่วน ปนทรายไม่อุ้มน�้ำ เม่ือถูกน�้ำจะละลายท�ำให้หน้าดินถูกชะล้างได้ โดยงา่ ย นำ�้ จึงมีสีข่นุ มวั ไม่ใส ส�ำหรับอ่างเก็บน้�ำคลองส้มป่อย เป็นต้นน้�ำในการท�ำการเกษตร และส�ำหรับการอุปโภคของ 3 หมู่บ้านในต�ำบลทัพไทย ได้แก่ หมู่ท่ี 1 บ้านทัพไทย หมู่ที่ 2 บา้ นโคกตาดว้ ง และหม่ทู ี่ 3 บ้านทบั ทิมสยาม 03 ซ่ึงเป็นหมู่บ้านป้องกันตัวเองตามแนวชายแดน ต่อมาเน่ืองจาก การกกั เกบ็ นำ�้ ไมเ่ พยี งพอตอ่ การทำ� การเกษตรของเกษตรกร ผใู้ หญบ่ า้ น หมู่ที่ 2 (นายสุทัศน์ นะรานรัมย์) เล็งเห็นว่ามีพ้ืนที่ว่าง ซึ่งเป็นพื้นที่ สาธารณะท่ียงั ไม่ไดใ้ ช้ประโยชน์อยู่ 2 แหง่ เนื้อทีป่ ระมาณ 60 ไร่ และ 45 ไร่ จึงขอความช่วยเหลือและผลักดันให้เกิดการก่อสร้างแหล่งน�้ำ 2 แหล่ง ตามโครงการพัฒนาแหล่งน้�ำบ้านทัพไทย ต�ำบลทัพไทย อ�ำเภอตาพระยา เพ่ือเพิ่มพ้ืนท่ีกักเก็บน้�ำให้กับประชาชน และบรรเทา ความเดอื ดรอ้ นกบั ประชาชนทปี่ ระสบปญั หาการขาดแคลนนำ�้ โดยโครงการพัฒนาแหล่งน�้ำบ้านทัพไทย ตั้งอยู่ในเขต พื้นที่ครอบคลุมท้ังสามหมู่บ้านที่กล่าวมาข้างต้น บริเวณที่ตั้งเป็น พ้ืนที่ราบเชิงเขา เพื่อรองรับการไหลของน้�ำท่ีไหลมาจากเทือกเขาซึ่ง อยู่ทางทิศเหนือของพ้ืนท่ีแล้วไหลบ่ามาตามทุ่งราบหรือร่องน้�ำเล็ก ๆ แล้วผ่านเข้าหมู่บ้านซ่ึงอยู่ทางตอนใต้ และมีน้�ำไหลในฤดูฝนเท่าน้ัน (สำ� นักชลประทานท่ี 9, 2546) บา้ นทัพไทย 85

อาคารทีป่ ระทับทรงงาน ท่ีประทับทรงงาน : สมเด็จพระเจ้าน้องนางเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี กรมพระศรีสวางควัฒน วรขัตติยราชนารี ซ่งึ อยู่ในเขตอุทยานแห่งชาติตาพระยา 86 “หมู่บ้านตวั อย่าง 4 ดี วถิ พี อเพยี ง”

บา้ นทัพไทย 87

คุณสมพงษ์ สงิ ห์สราญรมย์ กำ� นนั ตำ� บลทัพไทย 88 “หมบู่ ้านตัวอย่าง 4 ดี วถิ พี อเพยี ง”

ความรสู้ กึ ของผู้น�ำชมุ ชน “ดใี จและภูมิใจ ท่ไี ด้มหี มูบ่ า้ นทพั ไทย” “ในฐานะที่ผมผู้ใหญ่บ้านมา 32 ปี เราอยู่กันแบบเรียบง่าย รักสามัคคี ไม่มีการลักเล็กขโมยน้อย อยู่กันแบบพี่น้องตั้งแต่ หนีอพยพมา ดใี จทีห่ นว่ ยงานรฐั เข้ามาช่วยดแู ลจนเกิดหมู่บา้ นทพั ไทย ความเปน็ อยู่ข้นึ กวา่ เดมิ จนสามารถอยู่ด้วยตัวเองไดจ้ นถึงทุกวันน้ี ตลอดจนด้วยพระมหากรุณาธิคุณของสมเด็จพระเจ้า น้องนางเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี กรมพระศรี สวางควัฒน วรขัตติยราชนารี ที่น�ำหน่วยงานแพทย์เข้ามาดูแล พวกเราชาวบา้ นทัพไทย รวมท้ังทรงกอ่ ต้งั หมบู่ า้ นทับทมิ สยาม 03 เพิม่ เพือ่ ใหช้ วี ิตของคนในแถบชายแดนมีความเป็นอยทู่ ่ดี ขี ้นึ ” บา้ นทพั ไทย 89

อา้ งอิง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลทัพไทย. 2558. เอกสารประกอบการ คัดเลือกหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ บ้านโคกตาด้วง หมูท่ ่ี 2 ต�ำบลทัพไทย อ�ำเภอตาพระยา จงั หวัดสระแกว้ เกสรบัว อุบลสรรค์. 25 มิถุนายน 2562. สระเพลงแหล่งตัดหินโบราณ กลางผืนป่าตาพระยา. 15 สิงหาคม 2562. จากเว็บไซต์: https://www.facebook.com/Vlekprapaifoundation กรมทรัพยากรธรณี. 2559. ละลุ อ�ำเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว. 9 กันยายน 2562. จากเวบ็ ไซต:์ http://www.dmr.go.th/main. php?file name=e02 ส�ำนักชลประทานที่ 9. 2546. รายงานเบ้ืองต้นโครงการพัฒนาแหล่งน�้ำ บ้านทัพไทย ต�ำบลทัพไทย อ�ำเภอตาพระยา จังหวัดสระแก้ว. พฤษภาคม 2546 ส�ำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดศรีสะเกษ. 17 พฤษภาคม 2560. แคเบญ แซนโฎนตา หรือ วนั สารทเขมร. 9 กนั ยายน 2563. จากเว็บไซต์: https://www.m-culture.go.th/sisaket/ewt_news. php?nid=812&filename=index ประนนท์ ไม้หอม. 3 ตุลาคม 2555. ประเพณีแซนโฎนตาบูชาบรรพบุรุษ ต�ำนานที่สืบทอดนานกว่า 1,000 ปีของชุมชนชาวเขมรพ้ืนเมือง สุรินทร์. 9 กันยายน 2563. จากเว็บไซต์: https://pr.prd.go.th/ surin/ewt_news.php?nid=1805 90 “หมู่บ้านตวั อย่าง 4 ดี วถิ พี อเพียง”


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook