Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ปกแผนการจัดการเรียนรู้ 2.63-Ebook

ปกแผนการจัดการเรียนรู้ 2.63-Ebook

Published by naiyana9427, 2021-04-08 02:45:26

Description: ปกแผนการจัดการเรียนรู้ 2.63-Ebook

Search

Read the Text Version

12. สื่อ/อุปกรณ์ 1. ใบความรู้ เรอื่ ง E.Q. คืออะไร 2. ใบงาน เรื่องความฉลาดทางอารมณ์ (E.Q.) 3. ประเมินความฉลาดทางอารมณ์ (E.Q.) 13. การประเมนิ ผล การประเมนิ 1. ตรวจใบงาน เช่น ตรวจความถกู ต้อง ครบถ้วนสมบรู ณ์ ความเรียบรอ้ ยของใบงาน 2. สังเกตพฤติกรรมการเรยี นรู้ เชน่ ความสนใจในการฟัง การซักถาม การตอบคำถาม และการ รว่ มอภิปราย 3. สังเกตการทำงานกลมุ่ เคร่อื งมือ แบบสงั เกตพฤติกรรม เกณฑก์ ารประเมิน ระดบั คุณภาพ ข้อความบง่ ชค้ี ุณภาพ ผ่าน ทำใบงานสง่ ให้ความสนใจในการฟัง การซักถาม การตอบคำถาม การรว่ มอภปิ ราย ไม่ผา่ น ไมท่ ำส่งิ หน่งึ ส่ิงใดใน 3 ข้อ 14. ข้อเสนอแนะ 1. นกั เรยี นศึกษาความรู้เกีย่ วกับการเสริมสร้าง E.Q. เพม่ิ เตมิ จากแหล่งความรู้อ่ืนๆ 2. นกั เรยี นทำแบบทดสอบ แบบวัดอ่ืนๆ เพ่ิมเติมเกีย่ วกับการเสรมิ สร้าง E.Q.

ใบความรู้ เรื่อง อีคิว ( E.Q.) คอื อะไร ประกอบการจดั กจิ กรรม เรื่อง ทุกปัญหามีทางออก อีควิ หรอื E.Q. มาจากคำวา่ Emotional Quotient หมายถงึ ความฉลาดทางอารมณ์ ความฉลาดทางอารมณ์ คือ ความสามารถทางอารมณ์ที่จะช่วยให้การดำเนินชีวิตเป็นไปอย่างสร้างสรรค์ และมีความสขุ อีคิว ถือเป็นเร่ืองใหม่ในแวดวงการศึกษาและจิตวิทยา เพราะเพิ่งได้รับความสนใจและยอมรับใน ความสำคัญอย่างจริงจังเม่ือ ๑๐ กว่าปีมาน้ี เดิมเคยเชื่อกันว่า ความสามารถทางเชาวน์ปัญญาหรือไอคิว คือ ปจั จยั สำคญั ที่ทำใหม้ นุษยป์ ระสบความสำเร็จ มชี วี ิตท่ดี ีและมีความสขุ ต่อมา นักจิตวิทยาเริ่มตั้งข้อสงสัยต่อความเชื่อความเข้าใจดังกล่าว เพราะไม่เชื่อว่าความสำเร็จและ ความสุขในชีวิตของคน ๆ หน่ึงจะข้ึนอยู่กับความสามารถทางเชาวน์ปัญญาแต่เพียงอย่างเดียว แต่เนื่องจากใน ระยะนน้ั ยังไม่มีข้อมลู จากการศึกษาวจิ ยั ท่เี พยี งพอ ความคิดน้ีจงึ ถูกละเลยไปอยา่ งน่าเสยี ดาย จนกระท่งั ในปีค.ศ.๑๙๙๐ ซาโลเวย์และเมเยอร์ สองนักจิตวทิ ยาได้นำความคิดน้ีมาพูดถึงอีกครงั้ โดย เอ่ยถึงความฉลาดทางอารมณ์ เป็นครั้งแรกว่า \"เป็นรูปแบบหน่ึงของความฉลาดทางสังคมท่ีประกอบด้วย ความสามารถในการรู้อารมณ์และความรู้สึกของตนเอง และผู้อ่ืนสามารถแยกความแตกต่างของอารมณ์ท่ี เกิดขึน้ และใช้ขอ้ มูลนเ้ี ปน็ เครื่องช้ีนำในการคิดและกระทำส่งิ ตา่ ง ๆ\" จากนั้น แดเนียล โกลแมน นกั จติ วิทยาจากมหาวิทยาลัยฮาวารด์ ก็สานต่อแนวคิดนอี้ ยา่ งจรงิ จังโดยได้ เขียนเป็นหนังสือเรื่อง ความฉลาดทางอารมณ์ (Emotional Intelligence) และได้ให้ความหมายของอีคิวว่า \"เป็นความสามารถหลายดา้ น ไดแ้ ก่ การเร่งเร้าตวั เองให้ไปสู่เป้าหมาย มคี วามสามารถควบคุมความขัดแย้งของ ตนเอง รอคอยเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ท่ีดกี ว่า มีความเห็นอกเห็นใจผู้อน่ื สามารถจดั การกับอารมณ์ไม่สบายต่าง ๆ มี ชวี ิตอย่ดู ว้ ยความหวงั \" หลังจาก หนังสือความฉลาดทางอารมณ์ (Emotional Intelligence) ของแดเนียล โกลแมน ออกสู่ สาธารณชน ผู้คนก็เริม่ ให้ความสนใจกับความฉลาดทางอารมณ์มากข้ึน ประกอบกับระยะหลังมีงานวิจัยหลาย ชน้ิ ยืนยนั ถึงความสำคญั ของความฉลาดทางอารมณ์ อีคิวหรือความฉลาดทางอารมณ์ จึงได้รับการยอมรับว่ามีความสำคัญต่อความสำเร็จและความสุขใน ชวี ิตมนษุ ย์ กลายเป็นเร่ืองฮิตท่มี าแรงแซงหนา้ ไอควิ ไปในระยะหลงั นอกจากคำว่า Emotional Quotient ที่เราเรียกว่า อีคิวแล้ว ยังมีคำอื่น ๆ อีกหลายคำท่ีนักวิชาการ ใช้ในความหมายใกลเ้ คยี งกนั เช่น Emotional Intelligence Emotional Ability Interpersonal Intelligence Multiple Intelligence

กรมสขุ ภาพจิตได้พัฒนาแนวคดิ เรอื่ ง ความฉลาดทางอารมณ์ ทป่ี ระกอบดว้ ยปัจจัยสำคัญ ๓ ประการคือ ๑. ความดี ๒. ความเกง่ ๓. ความสุข ดี หมายถึง ความสามารถในการควบคุมอารมณแ์ ละความต้องการของตนเอง รู้จักเห็นใจผู้อ่นื และมีความ รบั ผดิ ชอบต่อส่วนรว่ ม ซง่ึ มีรายละเอียดดังตอ่ ไปนี้ ความสามารถในการควบคุมอารมณแ์ ละความตอ้ งการของตนเอง - รอู้ ารมณแ์ ละความต้องการของตนเอง - ควบคุมอารมณแ์ ละความต้องการได้ - แสดงออกอย่างเหมาะสม ความสามารถในการเห็นใจผ้อู ่นื - ใส่ใจผ้อู ่นื - เขา้ ใจและยอมรบั ผู้อืน่ - แสดงความเห็นใจอย่างเหมาะสม ความสามารถในการรับผดิ ชอบ - รู้จกั การให้ รู้จกั การรับ - รจู้ กั รบั ผดิ รจู้ กั ใหอ้ ภยั - เห็นแกป่ ระโยชนส์ ่วนรวม เก่ง หมายถงึ ความสามารถในการรู้จกั ตนเอง มีแรงจูงใจ สามารถตัดสินใจ แก้ปญั หาและแสดงออกได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ตลอดจนมสี มั พันธภาพทดี่ ีกับผู้อ่นื ความสามารถในการร้จู ักและสรา้ งแรงจงู ใจใหต้ นเอง - ร้ศู ักยภาพของตนเอง - สรา้ งขวัญและกำลังใจให้ตนเองได้ - มีความมุง่ มน่ั ที่จะไปให้ถึงเป้าหมาย ความสามารถในการตดั สนิ ใจและแกป้ ญั หา - รบั รู้และเข้าใจปัญหา - มขี ัน้ ตอนในการแกป้ ัญหาได้อย่างเหมาะสม - มีความยืดหยุ่น ความสามารถในการมีสัมพันธภาพกับผ้อู ืน่ - ร้จู ักการสร้างสัมพนั ธภาพท่ีดกี บั ผู้อนื่ - กลา้ แสดงออกอย่างเหมาะสม - แสดงความเห็นทีข่ ัดแย้งได้อยา่ งสร้างสรรค์

สขุ หมายถงึ ความสามารถในการดำเนินชีวิตอย่างเป็นสุข มคี วามภูมิใจในตนเองพอใจในชีวิต และมคี วามสขุ สงบทางใจ ความภูมิใจในตนเอง - เห็นคณุ คา่ ในตนเอง - เช่อื มนั่ ในตนเอง ความพึงพอใจในชีวติ - รู้จักมองโลกในแง่ดี - มอี ารมณ์ขัน - พอใจในส่ิงทตี่ นมีอยู่ ความสงบทางใจ - มกี ิจกรรมท่ีเสริมสร้างความสุข - ร้จู กั ผ่อนคลาย - มคี วามสงบทางจติ ใจ สรปุ ความฉลาดทางอารมณ์ = เขา้ ใจตนเอง + เขา้ ใจผู้อ่ืน + แก้ไขความขดั แย้งได้ - เขา้ ใจตนเอง ---> เข้าใจอารมณ์ ความรสู้ ึกและความต้องการในชีวติ ของตนเอง - เขา้ ใจผอู้ นื่ ---> เขา้ ใจอารมณ์ความรสู้ ึกของผูอ้ ่ืน และสามารถแสดงออกมาได้ อย่างเหมาะสม - แก้ไขความขดั แย้งได้ ---> เมอื่ มปี ัญหาสามารถแก้ไขจัดการให้ผา่ นพน้ ไปได้ อยา่ งเหมาะสมท้ังปัญหาความเครียดในใจ หรือปัญหาทีเ่ กิดจากการขดั แย้งกับผอู้ ื่น ……………………………………………. ท่มี า : กรมสุขภาพจติ . (2543). ค่มู ือความฉลาดทางอารมณ์. กรุงเทพฯ : กระทรวงสาธารณสขุ ,

ใบงาน เรอ่ื ง ความฉลาดทางอารมณ์ (E.Q.) ประกอบการจัดกจิ กรรม เรื่อง ทุกปญั หามีทางออก ช่อื -สกุล.........................................................................................ช้ัน........................เลขท.ี่ .................... คำชีแ้ จง หลังจากนกั เรียนทำแบบประเมนิ E.Q. และศกึ ษาใบความรู้ เรอ่ื ง E.Q. แลว้ ใหน้ กั เรยี นวเิ คราะห์ ตนเอง และสรปุ ความร้หู รอื ส่ิงท่ไี ด้รับลงในใบงานน้ี 1. นกั เรียนมีความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับ E.Q.หรอื ไม่ มากน้อยเพยี งใด ……………………………………………………………………………………………………………….………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. นักเรียนคิดวา่ E.Q. ส่งผลกระทบต่อการดำรงชวี ิตของคนหรือไม่ เพราะเหตใุ ด ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. นักเรียนมีแนวทางในการพัฒนา E.Q. ของตนเองอย่างไรบ้าง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. นกั เรยี นต้องการให้ใครช่วยเหลือนกั เรียนเพ่มิ เตมิ และช่วยอยา่ งไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

แผนการจัดกิจกรรมการเรยี นรูท้ ่ี 11 เวลา 1 คาบ เวลา 4 คาบ เรอื่ ง ความลับในใจ หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 4 ทกุ ปัญหามีทางออก ระดับชัน้ ม.6 1. มาตรฐานการศกึ ษา มาตรฐานที่ 4 ผูเ้ รยี นมีความสามารถในการคดิ อย่างเป็นระบบ คิดสรา้ งสรรค์ ตัดสินใจ แ ก้ ปั ญ ห า อยา่ งมีสตสิ มเหตผุ ล ตังบ่งชี้ 4.2 นำเสนอวิธีคิด วิธีแก้ปัญหาด้วยภาษา หรือวิธีการของตนเอง และมี ความสามารถในการปรบั ตวั เขา้ กบั สังคม ตงั บ่งช้ี 4.3 กำหนดเปา้ หมาย คาดการณ์ ตัดสนิ ใจแกป้ ญั หาโดยมเี หตุผลประกอบ 2. มาตรฐานการเรยี นรู้ดา้ นแนะแนว มาตรฐานท่ี 3 ผูเ้ รียนรแู้ ละเข้าใจการเปลย่ี นแปลงของสังคม สามารถปรบั ตัวได้อยา่ งเหมาะสมและ อยู่รว่ มกบั ผอู้ ่ืนได้อย่างมคี วามสุข ตวั บง่ ช้ีที่ 3.1 รเู้ ท่าทนั และเข้าใจการเปล่ยี นแปลงชองชมุ ชน ประเทศ ภมู ิภาคและโลก ตัวบง่ ช้ีที่ 3.2 สามารถส่ือสาร สรา้ งสมั พนั ธภาพและดำรงชีวติ ให้สอดคล้องกับการเปล่ียนแปลงของ กระแสโลกได้อยา่ งมคี วามสขุ 3. สาระสำคัญ ไม่มีใครเกิดมาแล้วไม่เคยประสบปัญหา แต่ปัญหาที่แต่ละคนประสบจะหนักหรือเบาแตกต่างกัน ข้ึนอยู่กับความสามารถในการแก้ไขปัญหาและเข้าใจสาเหตุของปัญหา ว่าเป็นธรรมชาติที่เกิดขึ้นกับมนุษย์ทุก คน หรือเกิดจากวิธีคิด การรับรู้ ทัศนะในการมองโลกของแต่ละบุคคล เม่ือทุคนสามารถรับรู้และเข้าใจสาเหตุ ของปญั หา รจู้ ักวธิ คี ิดแก้ปญั หาทีเ่ หมาะสม ตามความเป็นจรงิ ก็จะสามารถหาแนวทางในการแกป้ ัญหาไดส้ ำเรจ็ 4. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. เพอื่ ใหน้ ักเรยี นบอกปญั หา วิเคราะหห์ าสาเหตขุ องปัญหาทเ่ี กิดขึ้นกบั ตนเองได้ 2. เพือ่ ให้นักเรยี นบอกแนวทางในการแก้ไขปญั หาของตนเองได้ 5. สาระการเรียนรู้ เขา้ ใจการเปล่ยี นแปลงของสงั คม 6. ทักษะกระบวนการ 1. ความสามรถในการคิด 2. ความสามารถในการแก้ปัญหา 3. ความสามรถในการใชท้ ักษะชีวิต

7. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. ใฝเ่ รยี นรู้ 2. มงุ่ มน่ั ในการทำงาน 8. สมรรถนะสำคญั 1. ความสามารถในการคดิ 2. ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต 9. เปา้ หมาย/จดุ เน้นของสถานศึกษา นักเรียนทุกคน มีความสามารถ ทกั ษะ และคณุ ลักษณะตามจดุ เนน้ แต่ละช่วงวยั ม.4-6 แสวงหาความรู้เพ่ือการแกป้ ัญหา ใชเ้ ทคโนโลยเี พอ่ื การเรียนรู้ ใช้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาองั กฤษ) มที กั ษะการคดิ ชน้ั สูง ทักษะชีวติ ทักษะการส่อื สารอย่างสร้างสรรค์ตามชว่ งวยั มุ่งม่ันในการศึกษาและการทำงาน 10. ชนิ้ งาน/ภาระงาน ใบงาน 11. วธิ ีการจัดกจิ กรรม ขน้ั นำ 1. นกั เรยี นดู VCD เรอ่ื งน้องปยุ ฝา้ ย ขน้ั กิจกรรม 2. สมุ่ ตวั แทนนักเรยี น 2-3 คน บอกสิ่งท่ีไดจ้ าการดู VCD เร่ืองน้องปยุ ฝา้ ย 3. นกั เรยี นแบ่งกลุ่มยอ่ ยกลุม่ ละ 5-6 คน ศกึ ษาใบความรู้กรณีศึกษา เร่ืองความลับในใจ 4. อภปิ รายสรุปตอบคำถามในใบงานท่ี 1 เรอื่ งปัญหาคาใจและใบงานท่ี 2 เร่อื งการแก้ปัญหาของฉนั ขั้นสรปุ 5. นกั เรยี นส่งตวั แทนกลุ่ม สรุปข้อคดิ และความรู้ทไ่ี ดจ้ ากการทำกจิ กรรม 6. ครูสรปุ เพม่ิ เติมจากใบความรู้ท่ี 3 เรือ่ งการแก้ปัญหาในทางทถ่ี ูก (แบบอรยิ สจั 4) และแจกใบ ความรทู้ ่ี 3ใหน้ ักเรียนไปศึกษาเพ่ิมเติมเอง 7. เปิด CD เพลง เพราะชีวิตคือชีวติ แจกใบความรทู้ ี่ 4 เน้ือ เพลงเพราะชวี ิตคือชีวติ นักเรียนร้องเพลงไปพร้อม ๆกนั 12. ส่ือ/อปุ กรณ์ 1. ใบความร้ทู ี่ 1 VCD เรื่องนอ้ งปุยฝา้ ย 2. ใบความรทู้ ่ี 2 กรณีศกึ ษา เรอื่ งความลบั ในใจ 3. ใบงานท่ี 1 เรื่องปญั หาคาใจ

4. ใบงานที่ 2 เรือ่ งการแก้ปัญหาของฉัน 5. ใบความรู้ท่ี 3 เร่อื งการแกป้ ญั หาในทางท่ีถูก (แบบอริยสัจ 4) 6. ใบความรทู้ ่ี 4 เน้อื เพลงเพราะชวี ิตคือชวี ิต 13. การประเมินผล การประเมิน 1. ตรวจใบงาน เช่น ตรวจความถกู ต้อง ครบถว้ นสมบูรณ์ ความเรยี บรอ้ ยของใบงาน 2. สงั เกตพฤติกรรมการเรยี นรู้ เช่น ความสนใจในการฟัง การซกั ถาม การตอบคำถาม และการ ร่วมอภปิ ราย 3. สงั เกตการทำงานกลมุ่ เคร่ืองมอื แบบสงั เกตพฤติกรรม เกณฑ์การประเมนิ ระดับคณุ ภาพ ข้อความบ่งชคี้ ุณภาพ ผ่าน ทำใบงานส่ง ให้ความสนใจในการฟงั การซกั ถาม การตอบคำถาม การร่วมอภปิ ราย ไมผ่ ่าน ไมท่ ำสง่ิ หนง่ึ สิง่ ใดใน 3 ข้อ 14. ข้อเสนอแนะ 1. นักเรียนศึกษาใบความรู้ท่ี 3 เรอ่ื งการแก้ปัญหาในทางท่ีถูก (แบบอริยสัจ 4) เพม่ิ เติม 2. เขยี นแผนภมู ปิ ัญหา สาเหตุ วธิ กี ารแกไ้ ขปัญหาของนักเรียน

ใบความรทู้ ี่ 1 เรื่อง ภาพ VCD เรอ่ื งน้องปุยฝ้าย ประกอบการจัดกิจกรรม เรื่องความลับในใจ เรื่องย่อ ภาพ VCD เรือ่ งน้องปุยฝ้าย ปยุ ฝา้ ย คือความมหศั จรรย์แรกในชีวิตผม วนั แรกท่เี หน็ เธอ ผมสัญญากบั เธอวา่ จะรักและดแู ลเธอ ตลอดไป “ลกู ท้อง....” “ใจเย็น ๆ ค่ะ” “หนขู อโทษ” “หนขู อโทษ” “พ่อรกั ลูก พอ่ จะรกั ลูกของลกู ดว้ ย” (ท่มี า: จาก ภาพยนตร์โฆษณา ไทยประกนั ชีวติ http://www.adintrend.com/show_ad.php?id=1221)

ใบความรทู้ ่ี 2 เรอ่ื ง กรณีศกึ ษา เร่อื งความลับในใจ ประกอบการจดั กิจกรรม เรื่องทกุ ปญั หามีทางออก หญิงเป็นนักเรียนชั้น ม.4 ได้มีโอกาสรู้จักกับ ชาย ซ่ึงเป็นนักเรียนรุ่นพ่ีเรียนอยู่ชั้น ม.6 โรงเรียน เดียวกัน ท้ังคู่รู้จักกันโดยฝ่ายชายเป็นฝ่ายเข้าไปตีสนิท โดยเข้าไปคุยด้วยขณะที่หญิงใช้เวลาว่างอยู่กับกลุ่ม เพ่ือน ชายพยายามสร้างความสนิทสนมคุ้นเคยโดยทุกวันท่ีมีเวลาว่างจากการเรียนมักจะเข้าไปหาหญิงที่โต๊ะ ประจำของหญิง พูดคุยหยอกล้อกับหญิงต่อหน้าเพื่อน ๆ ของหญิง ชายแสดงความใจกว้างโดยจะซื้อขนมมา เล้ียงหญิงและเพอ่ื น ๆ เป็นประจำ ทุกวันหลังเลกิ เรียนชายจะชวนหญิงนงั่ ซ้อนทา้ ยรถจักรยานยนตข์ องชายพา หญิงไปส่ง หญิงข้ึนรถประจำทางเพื่อกลับบ้าน โดยไม่แสดงท่าท่ีว่าจะล่วงเกินหญิงในทางชู้สาว ทำให้หญิงเกิด ความรู้สึกที่ดีกับชายคิดว่าชายเป็นสุภาพบุรุษ เป็นคนดี พูดเพราะ มีน้ำใจ เริ่มไว้วางใจ เมื่อชายขอเบอร์ โทรศัพท์มือถือ หญิงก็ยอมให้ ตั้งแต่นั้นมา ทั้งชายและหญิงก็พูดคุยติดต่อกันทางโทรศัพท์ทุกวัน เมื่อพบกันทุ คร้ังชายเรมิ่ ถกู เน้ือต้องตวั หญิง หญิงก็ไมข่ ัดขนื แตอ่ ย่างใด เพราะหญิงคิดตามประสาวัยรุ่นวา่ เป็นแฟนกนั แล้ว คงไม่เป็นอะไร 1 เดือนต่อมา ชายสอนให้หญิงโกหกพ่อแม่ว่าต้องมาทำงานที่โรงเรียนในวันหยุดเสาร์อาทิตย์ แต่ทั้งสองคนก็พากันไปเท่ียวตามที่ต่าง ๆ เช่น สวนสาธารณะ ทุกคร้ังที่พบกันก็จะมีพฤติกรรมในทางชู้สาว หญิงก็ดูจะพอใจ สุดท้ายทั้งคู่ก็จบลงด้วยการพากันไปมีเพศสัมพันธ์กันในห้องเช่ารายวัน เป็นประจำและทุก คร้งั ชายไมย่ อมใชถ้ งุ ยางอนามัย เดือนต่อมา หญงิ เกิดความผดิ ปกติ คอื ประจำเดือนไมม่ า หญิงรู้สกึ ตกใจและเครียดมากจงึ ตดั สินใจบอกให้ชายรู้ แต่ชายไมเ่ ดือดเน้ือร้อนใจ กลบั ไปซ้ือชดุ ตรวจการต้ังครรภ์มาให้หญิง ผลการตรวจ หญิง ไม่ได้ท้อง หญิงเลยลองใจชาย แกล้งถามว่า ถ้าหญิงท้องชายจะทำอย่างไร ชายตอบว่า ถ้าท้องได้ก็เอาออกได้ จะซื้อยามาให้กิน ไม่ต้องกังวลใจ หญิงรู้สึกเสียใจ เสียความรู้สึกมาก แต่ด้วยความท่ีเธอคิดว่าเธอรักชายเธอก็ ยังยอมไปมีเพศสัมพันธ์กับชายอีกหลายครั้ง ชายขู่เธอว่าถ้าไม่ยอมมีเพศสัมพันธ์กับชาย ก็จะไปมีคนใหม่ ต่อมาหญิงก็รับรู้ว่าชายไม่ได้มีเพศสัมพันธ์กับเธอคนเดียวเหมือนอย่างท่ีชายบอกเธอ ชายมีเพศสัมพันธ์กับ ผหู้ ญิงหลายคน หญิงเครยี ดมาก เพราะ ไหนจะกลวั ชายตีจาก กลวั ท้อง กลัวชายนำโรคทางเพศสัมพนั ธม์ าติด เรอื่ งราวของหญิง พอ่ แม่ และเพื่อน ๆ ไม่มีใครรู้ เพราะหญิงกลวั พอ่ แม่เสยี ใจ กลัวเพอ่ื น ๆ ดูถกู จึงไม่ กล้าพูดให้ใครฟัง หญิงต้องเก็บเรื่องราวของเธอไว้ เป็นความลับอยู่ในใจเธอคนเดียว เธอทุกข์ใจมาก ไม่รู้จะ หาทางออกให้ตวั เองอยา่ งไร

ใบงานที่ 1 เร่อื ง ปัญหาคาใจ ประกอบการจดั กจิ กรรม เร่ืองความลับในใจ ชื่อ-สกุล....................................................................................ช้ัน.............................เลขที.่ ................. คำชแี้ จง นกั เรียนแบ่งกลุ่มยอ่ ยกลุ่มละ 5-6 คน อา่ นใบความรูท้ ่ี 2 กรณีศกึ ษา เรื่องความลับในใจ อภปิ รายตอบคำถามตอ่ ไปนี้ 1. ปัญหาของหญิงคือ .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................................................................. 2. สาเหตุเกิดจากอะไร .............................................................................................................................................................................. ..................................................................................................................... ......................................................... ........................................................................................................................................................... ................... ............................................................................................................................................................................. 3. ถ้านักเรยี นเป็นเพ่ือนของหญิง จะช่วยหาทางออกให้หญิงอยา่ งไร .............................................................................................................................................................................. ........................................................................................................................... ................................................... ............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 4. พฤติกรรมอะไรเสีย่ งต่อการเกิดอารมณ์และความต้องการทางเพศ .............................................................................................................................................................................. ................................................ ........................................................................................... ................................... .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. 5. นักเรียนมวี ิธีหลีกเลีย่ งต่อการเกดิ พฤติกรรมเส่ียงได้อยา่ งไร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ........................................................................................................................ ......................................................

ใบงานท่ี 2 เร่ือง การแกป้ ญั หาของฉนั ประกอบการจดั กจิ กรรม เรื่องความลับในใจ ชื่อ-สกุล......................................................................................ชน้ั ..........................เลขที.่ ................... คำช้แี จง นักเรียนลองนกึ ถึงชวี ติ ของตนเองต้ังแต่อดตี ถึงปจั จุบันวา่ เคยพบปญั หาอะไรบ้างเลอื กมา 1 ปญั หา และตอบคำถามต่อไปน้ี 1. ปัญหาที่เคยเกดิ กับนกั เรยี นคอื ............................................................................................................... 2. ส่งผลต่อการดำเนนิ ชวี ติ ของนักเรียนอย่างไรบ้าง ..................................................................................................................................................................... ......... .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................... .............................................................. 3. ต้องการให้ใครชว่ ยแกป้ ญั หา ..................................................................................................................................... ........................................ 4. สาเหตุของปญั หา .............................................................................................................................................................................. ........................................................................................... ................................................................................... ........................................................................................................................... ................................................... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 5. วธิ กี ารแกป้ ัญหา .......................................................................................................................................... .................................... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................ .............................................. .............................................................................................................................................................................

ใบความรู้ที่ 3 เรอื่ ง การแก้ปัญหาในทางทถ่ี ูก (วิธีคิดแบบอริยสจั 4 ) ประกอบการจดั กจิ กรรม เร่ืองความลบั ในใจ เรียกตามทางธรรมะได้วา่ วิธีแห่งความดับทุกข์ โดยเริมจากตัวปัญหา หรอื ทุกข์ ทำความ เขา้ ใจให้ชัดเจน สืบคน้ หาสาเหตเุ ตรยี มไข วางแผนกำจัดสาเหตปุ ัญหามวี ิธีการ 4 ขนั้ ตอน คือ 1. ทุกข์ คือ การกำหนดให้ร้จู ักสภาพปัญหา หมายถงึ ความไม่สบายกาย ความไมส่ บายใจ อนั เนื่องมาจากสภาวะทท่ี นได้ยาก คือ เปน็ สภาวะท่ีบีบคัน้ จติ ใจ ความขัดแย้ง การขาดความเทย่ี งแท้ การพลัดพรากจากส่ิงทร่ี ัก ความไม่สมปรารถนา เมื่อเกิดทุกข์เราต้องไมป่ ระมาท และต้องพร้อมที่จะเผชิญ กบั ความเปน็ จริง 2. สมทุ ัย คือ การกำหนดเหตุแหง่ ทุกข์เพื่อกำจัด หมายถึง เหตทุ ีท่ ำให้เกดิ ทุกข์ คือ เป็นสิ่ง เร่ิมตน้ ทีท่ ำใหเ้ กิดทกุ ข์ ทุกข์ที่เกดิ ขน้ึ นัน้ มีสาเหตุท่ีแตกต่างกันออกไป แต่สาเหตุท่ีแท้จริงที่ก่อใหเ้ กดิ ทุกข์ ก็ คือ ตัณหา หรอื ความอยาก ความต้องการ มอี่ ยู่ 3 ประการคือ 2.1 กามตณั หา หมายถงึ ความอยากไดส้ ิ่งที่ปรารถนาทุกอย่าง เช่น อยากได้ทรพั ยส์ ินเงินทอง 2.2 ภวตณั หา หมายถงึ ความอยากเป็นนัน่ อยากเป็นน่ี เช่น อยากเป็นคนดงั อยากเป็นดารา 2.3 วิภวตัณหา หมายถึง ความไม่อยากเปน็ นั่นเป็นนี่ เช่น ไมอ่ ยากสอบตก ไม่อยากเป็นคน พิการ เป็นต้น 3. นิโรธ คือ การดับทุกข์อย่างมจี ุดหมาย ต้องมีการกำหนดวา่ จดุ หมายที่ต้องการคืออะไร หมายถึง ความดบั ทุกขห์ รือภาวะท่ีทำให้ตัณหาดับส้ินไป ทุกข์เกิดขึ้นมีสาเหตุมาจากตัณหา หรอื ความอยาก ถ้าคนเราลดตัณหาหรือความอยากได้มากเท่าไร ทกุ ขก์ ็ย่อมน้อยลงไปดว้ ย แต่ถ้าเราดบั ได้ โดยสิ้นเชิงชีวติ เรากจ็ ะมแี ต่ความสงบ 4. มรรค คอื การกำหนดวิธีการในรายละเอยี ดและปฏิบัติเพื่อกำจัดปญั หาหมายถึงขอ้ ปฏบิ ัติ ให้ถงึ ความทุกข์ ได้แก่ การเดินทางสายกลาง ซ่งึ มรรคมีองคป์ ระกอบด้วย 8 ประการ คือ 4.1 สัมมาทฐิ ิ หมายถึง ความเห็นชอบ คอื การเหน็ ตามความจริงและรวู้ ่าอะไรดี อะไรไมด่ ี 4.2 สมั มาสังกัปปะ หมายถึง ความดำริชอบ คือการไม่คิดลุ่มหลงให้เกิดสุขในอารมณ์ ไม่คดิ อาฆาต พยาบาท ตลอดจนไม่เบยี ดเบียนผู้อืน่ 4.3 สัมมาวาจา หมายถึง การเจรจาชอบ คือการพูดแต่ในสิ่งที่ดี ไม่พูดเทจ็ ไมพ่ ดู ส่อเสยี ด ไมพ่ ูดหยาบคาบ ไม่พูดไรส้ าระ 4.4 สมั มากัมมนั ตะ หมายถึง การกระทำชอบ คือการกระทำในสง่ิ ทด่ี ี ไมฆ่ า่ สัตว์ ไมล่ ักทรัพย์ ไม่ประพฤตผิ ดิ ในกาม 4.5 สัมมาอาชวี ะ หมายถงึ การเลย้ี งชพี ชอบ คือการประกอบอาชีพที่สุจรติ ไมค่ ดโกงหลอกลวงไม่ กระทำในสิ่งที่เป็นผลร้ายต่อผ้อู ่ืน 4.6 สัมมาวายามะ หมายถึง พยายามชอบ คือพยายามที่จะปอ้ งกนั ไมใ่ ห้เกิดความชัว่ พยายามทจี่ ะ

กำจดั ความชวั่ ทมี่ ีอยใู่ หห้ มดไป พยายามสรา้ งความดีทย่ี ังไมเ่ กดิ ให้เกดิ และพยายามรกั ษาความดที ม่ี ีใหค้ งอยู่ ตอ่ ไป 4.7 สมั มาสติ หมายถงึ การระลกึ ชอบ คือระลึกอยู่เสมอว่าสิ่งที่รู้สิ่งท่ีเห็นนนั้ เปน็ ไปตาม ความเป็นจรงิ 4.8 สมั มาสมาธิ หมายถงึ การต้ังจิตมน่ั ชอบ คือ การท่ีสามารถตั้งจติ ใจใหจ้ ดจ่ออยู่กับสิ่งใด สิ่งหนึ่งไดน้ าน แนวทางการแกไ้ ขปญั หาของวยั รุ่น 1. สรา้ งเปา้ หมายในชวี ิต ในวยั รนุ่ การมีเป้าหมายในชวี ิตเป็นเร่ืองสำคญั การค้นพบสิง่ ที่ตนเอง ต้องการ และมีความหวงั ในอนาคต ทำให้เด็กเชือ่ ม่นั และต้องการเดนิ ทางไปใหถ้ ึง ความมุ่งมั่นในเปา้ หมาย จะทำใหเ้ ด็กตงั้ ใจ ยึดมนั่ ในความสำเรจ็ มากกว่าใชเ้ วลากับส่ิงท่ียั่วยุ 2. สร้างบุคลิกภาพทมี่ ั่นคง เปน็ ผลมาจากการเติบโตในสภาพแวดล้อมท่ีเดก็ มีความเชื่อมน่ั ในคนรอบ ขา้ งโดยเฉพาะคนทเ่ี ปน็ พ่อและแม่ เชอื่ มัน่ วา่ พ่อแมส่ ามารถใหค้ ำแนะนำอย่างเข้าใจ พูดคุยปญั หากบั พ่อแม่ ได้ ม่ันใจในตนเอง มีความภาคภมู ใิ จ จะสัมพนั ธ์กับความมั่นใจว่าตนเองสามารถมีชีวิตที่ดแี มจ้ ะแวดล้อมด้วย สิ่งทเ่ี ป็นอบายมุข เด็กกลุ่มน้ีจะมีสมั พันธภาพท่ีดีกบั คนรอบข้าง ทำให้มีกลุ่มเพ่ือน คนที่เด็กสามารถไวว้ างใจ ได้ 3. มคี วามเช่ือในสง่ิ ท่ีถูกต้อง เปน็ สิ่งท่ีได้รับการปลูกฝัง อบรมสัง่ สอนต้ังแต่วัยเด็ก สามารถ แยกแยะสิง่ ทีถ่ ูกต้องได้และมีความเชอ่ื มั่น แม้จะเหน็ คนอ่ืนทำสิ่งท่ีผิด แต่ยังยืนหยัดท่ีจะทำสิ่งที่ถูกตอ้ ง ต่อไป ชว่ งวยั ร่นุ เปน็ ช่วงทเ่ี ด็กแสวงหาความหมายของชวี ติ การมปี ระสบการณ์ที่สอนเรื่องชีวติ ทำใหเ้ ด็ก เข้าใจสถานการณ์ในชวี ติ ดีข้ึน พนื้ ทดี่ ีๆ ที่สอนการเรยี นรู้สำหรับเดก็ จึงเป็นสิ่งจำเป็น

ใบความรทู้ ่ี 4 เรื่อง เพลง ลฟี แอนด์ เลริ ์น ประกอบการจัดกจิ กรรม เรื่องทกุ ปญั หามที างออก เพลง ลีฟ แอนด์ เลิรน์ โดย บอย โกสยิ พงษ์ เมื่อวันที่ชวี ติ เดนิ เขา้ มาถงึ จุดเปลยี่ น จนบางครงั้ คนเราไมท่ นั ได้ตระเตรียมหวั ใจ ความสุขความทุกข์ ไมม่ ีใครรวู้ า่ จะมาเม่อื ไหร่ จะยอมรับความจริงทเ่ี จอไดแ้ คไ่ หน เพราะชีวิตคอื ชีวติ เมื่อมีมากม็ เี ลิกไป มสี ขุ สมมผี ิดหวงั หวั เราะหรอื หวนั่ ไหว เกิดขนึ้ ได้ทุกวัน อยู่ท่เี รยี นรู้ อยู่ทีย่ อมรบั มนั ตามความคดิ สติเราใหท้ ัน อย่กู บั สง่ิ ทมี่ ไี มใ่ ช่ส่ิงที่ฝัน และทำสง่ิ น้นั ใหด้ ที ่สี ดุ สุขก็เตรียมไว้ ว่าความทุกข์คงตามมาอกี ไมไ่ กล จะไดร้ ับความจริงเมอ่ื ตอ้ งเจ็บปวดไหว เพราะชวี ติ คอื ชวี ติ เมอ่ื มมี ากม็ เี ลกิ ไป มสี ุขสมมผี ิดหวงั หวั เราะหรือหว่ันไหว เกดิ ข้ึนไดท้ ุกวัน อยทู่ ่ีเรียนรู้ อยู่ทย่ี อมรบั มัน ตามความคดิ สติเราให้ทัน อยกู่ ับสิ่งทม่ี ไี ม่ใช่สง่ิ ที่ฝนั และทำสงิ่ นัน้ ใหด้ ที สี่ ดุ อยู่ทเ่ี รียนรู้ อยู่ทีย่ อมรับมนั ตามความคิด สติเราใหท้ นั อยกู่ ับสิ่งทมี่ ีไมใ่ ช่ส่งิ ทีฝ่ นั และทำสงิ่ นัน้ ให้ดที ส่ี ุด อยทู่ ่ีเรียนรู้ อย่ทู ่ยี อมรบั มัน ตามความคดิ สติเราให้ทนั อยกู่ ับสง่ิ ที่มไี ม่ใช่สิง่ ที่ฝนั และทำสงิ่ น้ันให้ดที ี่สุด อยู่กับสง่ิ ทีม่ ไี มใ่ ช่ส่ิงท่ฝี นั และทำสงิ่ นน้ั ใหด้ ีทส่ี ุด

แผนการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ท่ี 12 เวลา 1 คาบ เรอื่ ง เรียนรจู้ ากความผิดพลาด หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 4 ทกุ ปัญหามที างออก ระดับชัน้ ม.6 เวลา 4 คาบ 1. มาตรฐานการศกึ ษา มาตรฐานที่ 4 ผู้เรยี นมคี วามสามารถในการคิดอย่างเปน็ ระบบ คิดสรา้ งสรรค์ ตัดสนิ ใจ แกป้ ัญหา อยา่ งมีสตสิ มเหตุผล ตงั บง่ ช้ี 4.2 นำเสนอวธิ คี ิด วธิ ีแกป้ ญั หาด้วยภาษา หรือวิธีการของตนเอง และมี ความสามารถในการปรับตวั เขา้ กบั สังคม ตังบ่งช้ี 4.3 กำหนดเปา้ หมาย คาดการณ์ ตดั สินใจแก้ปัญหาโดยมีเหตผุ ลประกอบ 2. มาตรฐานการเรยี นรดู้ ้านแนะแนว มาตรฐานที่ 3 ผู้เรยี นรู้และเข้าใจการเปลี่ยนแปลงของสังคม สามารถปรับตวั ได้อย่างเหมาะสมและ อยรู่ ว่ มกบั ผอู้ ่นื ไดอ้ ยา่ งมีความสขุ ตัวบง่ ชี้ที่ 3.1 รู้เทา่ ทนั และเข้าใจการเปล่ียนแปลงชองชุมชน ประเทศ ภมู ิภาคและโลก ตัวบง่ ช้ที ่ี 3.2 สามารถสือ่ สาร สร้างสัมพนั ธภาพและดำรงชีวิตใหส้ อดคลอ้ งกบั การเปลี่ยนแปลงของ กระแสโลกได้อย่างมีความสุข 3. สาระสำคญั คนส่วนมากมักจะผิดหวังและเสยี ใจกบั ความผดิ พลาดของตน ความผิดพลาดเปน็ ส่วนหนึ่งของ กระบวนการเรยี นรู้ใด ๆ เสมอ เราคงไมต่ ้ังใจจะใหเ้ กดิ ความผดิ พลาด แตเ่ มอ่ื สงิ่ นนั้ เกิดขึ้นแล้ว เราต้องเรยี นรู้ และทำให้ความผดิ พลาดน้ันเปน็ บทเรียนท่จี ะนำไปส่คู วามสำเรจ็ ท่ยี ิ่งใหญใ่ นชีวิตต่อไป ถา้ เรามัวแต่กลวั ความ ผดิ พลาดเราจะไม่กล้าทำอะไรเลย 4. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. เพ่อื ให้นกั เรียนบอกไดว้ า่ วิถชี วี ติ ทพี่ ึงประสงคข์ องตนคืออะไรและรู้ว่าตนเคยเกดิ ความล้มเหลวกับ เหตุการณ์ใด 2. เพื่อให้นกั เรียนบอกแนวทางในการแก้ไขเพือ่ ไม่ใหเ้ กดิ ความล้มเหลวอีก 3. เพ่อื ให้นักเรียนรับรู้ เข้าใจ ยอมรับปญั หาและสามารถแกไ้ ขปัญหาได้ 5. สาระการเรียนรู้ เขา้ ใจการเปลี่ยนแปลงของสังคม

6. ทกั ษะกระบวนการ 1. การคิดวิเคราะห์ 2. การแก้ไขปญั หา 7. คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ใฝเ่ รียนรู้ 8. สมรรถนะสำคัญ 1. ความสามารถในการคดิ 2. ความสามารถในการแกป้ ัญหา 3. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ 9. เปา้ หมาย/จดุ เนน้ ของสถานศกึ ษา นกั เรียนทุกคน มคี วามสามารถ ทักษะ และคณุ ลักษณะตามจุดเนน้ แต่ละชว่ งวยั ม.4-6 แสวงหาความรูเ้ พื่อการแก้ปัญหา ใช้เทคโนโลยเี พ่ือการเรียนรู้ ใช้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาองั กฤษ) มที กั ษะการคดิ ชั้นสงู ทักษะชีวติ ทกั ษะการสื่อสารอย่างสร้างสรรคต์ ามชว่ งวัย ม่งุ มนั่ ในการศึกษาและการทำงาน 10. ชน้ิ งาน/ภาระงาน ใบงาน 11. วธิ ีการจดั กิจกรรม ขั้นนำ 1. นักเรยี นดู VCD เรอื่ งเวลา ขนั้ กจิ กรรม 2. สุ่มตวั แทนนักเรยี น 2-3 คน บอกส่ิงท่ีได้จาการดู VCD เรื่องเวลา 3. นักเรียนแบ่งกลุ่มย่อยกลุม่ ละ 5-6 คน ศึกษาใบความรู้ เรื่องบทเรียนความผดิ พลาด 4. อภปิ รายตอบคำถามในใบงานท่ี 1 เรือ่ งเรียนรจู้ ากความผิดพลาด ขั้นสรปุ 5. นักเรยี นส่งตัวแทนกลุ่ม สรุปข้อคิดและความรู้ที่ได้จากการทำกจิ กรรม 6. ครูสรปุ เพม่ิ เติม 12. สื่อ/อุปกรณ์ 1. ใบความรู้ท่ี 1 VCD เรื่องเวลา 2. ใบความรู้ที่ 2 เรือ่ งบทเรยี นความผดิ พลาด 3. ใบงาน เร่ืองผิดเปน็ ครู

13. การประเมนิ ผล การประเมิน 1. ตรวจใบงาน เชน่ ตรวจความถูกต้อง ครบถ้วนสมบรู ณ์ ความเรียบร้อยของใบงาน 2. สังเกตพฤติกรรมการเรยี นรู้ เช่น ความสนใจในการฟัง การซักถาม การตอบคำถาม และการ รว่ มอภิปราย 3. สังเกตการทำงานกลุ่ม เครอื่ งมอื แบบสังเกตพฤติกรรม เกณฑก์ ารประเมนิ ระดับคุณภาพ ขอ้ ความบง่ ชคี้ ณุ ภาพ ผา่ น ทำใบงานส่ง ให้ความสนใจในการฟัง การซักถาม การตอบคำถาม การร่วมอภปิ ราย ไม่ผ่าน ไม่ทำส่งิ หน่งึ ส่งิ ใดใน 3 ข้อ 14. ข้อเสนอแนะ นักเรยี นหาภาพ ข่าวทเี่ กี่ยวกับการกระทำผดิ พลาดส่งครเู พิ่มเตมิ

ใบความรูท้ ี่ 1 เรือ่ ง VCD เร่อื งเวลา ประกอบการจัดกจิ กรรม เรอื่ งเรยี นรจู้ ากความผดิ พลาด เริ่มเร่ืองด้วยรปู นาฬิกาแตก ตอ่ มาก็ตดั มาเป็นภาพพ่อเดินไปสง่ ลกู ไปโรงเรียน โฆษก : ผมอยากมเี วลามากกวา่ น้ี เวลาท่ีจะบอกลูกผมว่า ผมรกั เขามากที่สุดในโลก พอ่ กำลงั สอนลูกชายขจ่ี ักรยาน แล้วลกู ชายก็ขจ่ี ักรยานลม้ ลงกับพ้นื เสียงพ่อ : ลุกขนึ้ มา ลุก เจ็บนิดเดยี ว เราลูกผู้ชายนะ่ พ่อลูกกำลังน่งั กนิ ข้าวดว้ ยกันในบรรยากาศตึงเครียด โฆษก : อยากใชเ้ วลาเขา้ ใจเขามากว่านี้ พ่อปาหนังสือพิมพล์ งกับโตะ๊ และกำลังดา่ ลูกชายตัวเอง เสยี งพ่อ : โกหกฉันอีกละ ฉันเห็นแกไปม้ัวสมุ วงดนตรอี ะ นัน้ รึบา้ นเพอ่ื น ลกู ชายยื่นอยูด่ า้ นหนังเหมือนมอี ะไรอยากคุยกับพอ่ โฆษก : อยากฟังในสง่ิ ที่เขาอยากพดู พ่อชี้น้ิวด่าลกู ชาย เสยี งพ่อ : แนน่ กั ใช่ไหม.....ออกไป(เสียงตะโกน) ภาพย้อนอดีต และ พ่อขบั รถไปชนกบั รถสบิ ล้อ โฆษก : อยากคยุ อยากฟังเพลงของเขา อยากขอโทษ ก็อย่างทผ่ี มพูด ผมอยากมีเวลามากกวา่ นี้ เวลาท่จี ะไดท้ ำในสง่ิ ทผี่ มยงั ไม่ได้ทำ เวลาทีจ่ ะรักและดแู ลเขามากกวา่ น้ี เรอ่ื งราวของ \"พอ่ \" ที่อยากใช้ \"เวลา\" มากกว่านี้ เพือ่ จะได้ใชเ้ วลาทีจ่ ะได้ทำในสิ่งท่ยี ังไม่ได้ทำ เวลาท่ีจะรกั และ ดแู ลลูกชายมากกวา่ นี้ และเพียงเพือ่ จะบอกลกู ชายของเขาว่า \"รกั เขามากทสี่ ดุ ในโลก\" อาจเพราะเวลาที่ผา่ นไป ทง้ั ตวั เขาและลูกชาย ไมเ่ คยคุยกนั ดี ๆ ไม่เคยฟังกันและกัน ไมท่ ำกิจกรรมรว่ มกัน ทสี่ ำคัญคอื ไม่เขา้ ใจกัน แต่ พอจะมีเวลาแต่กลับไม่มี \"โอกาส\" พอท่จี ะทำในส่งิ ท่ีอยากทำ โดยเฉพาะการเอ่ยคำ \"ขอโทษ\"

ใบความรทู้ ี่ 2 เรอ่ื ง บทเรยี นความผิดพลาด ประกอบการจัดกิจกรรม เรอ่ื งเรยี นร้จู ากความผดิ พลาด คนส่วนมากมักจะผดิ หวังและเสียใจกับความผิดพลาดของตน บทเรยี นนีจ้ ะทำให้เรายอมรบั สิ่งที่ได้ทำ ผิดไป และคิดวา่ ความผดิ พลาดเป็นสว่ นหนึง่ ของกระบวนการเรียนรใู้ ด ๆ เสมอ เราคงไม่ตงั้ ใจจะให้เกิดความ ผดิ พลาด แต่เม่ือสิง่ นัน้ เกิดขึ้นแลว้ เราต้องเรียนร้แู ละทำให้ความผิดพลาดนน้ั เป็นบทเรียนทจี่ ะนำไปสู่ ความสำเร็จที่ยง่ิ ใหญ่ในชวี ติ ตอ่ ไป ถ้าเรามัวแต่กลวั ความผดิ พลาด เราจะไม่กล้าทำอะไรเลย ตัวอย่าง ความผดิ พลาดของอดีตประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา เอบราแฮม ลิงคอลน์ ลม้ เหลวในการทาธุรกิจ เมื่ออายุ 31 ปี พ่ายแพใ้ นการตรากฎหมายเรื่องเช้ือชาติ อายุ 32 ปี ลม้ เหลวในธุรกิจอีกคร้ัง อายุ 34 ปี ครู่ ักตาย อายุ 35 ปี เป็นโรคประสาท อายุ 36 ปี พา่ ยการเลือกต้งั อายุ 38 ปี แตใ่ นท่ีสุด เอบราแฮม ลิงคอลน์ ไดช้ นะการเลอื กตงั้ เป็นประธานาธิบดีสหรฐั อเมรกิ า เม่อื อายุ 60 ปี สง่ิ ทไ่ี ม่ควรทำเพือ่ ตอบโต้สิง่ ท่ีเกิดขึน้ 1. อยา่ คดิ ว่าทำไม่ได้ อย่าแสดงกิรยิ าท่แี ปลกประหลาดตอบโต้ 2. อยา่ ตอบโต้ต้นเหตทุ ่ที ำให้เกิดเหตกุ ารณ์นัน้ ทนั ที 3. อยา่ แสดงวา่ ฉนั ถกู ต้อง ฉนั ไม่ใสใ่ จให้เหน็ ชัดเจน 4. อยา่ หยุดย้ังตน้ เหตุ แตจ่ งใสใ่ จทจ่ี ะฟัง

ใบงาน เรื่อง ผิดเปน็ ครู ประกอบการจดั กจิ กรรม เรอื่ งเรยี นรูจ้ ากความผดิ พลาด ชอื่ -สกุล.........................................................................................ชนั้ .........................เลขท.่ี ................... คำชีแ้ จง จากการศึกษาใบความรู้ เรื่องบทเรยี นความผิดพลาดแลว้ ใหน้ กั เรียนตอบคำถามต่อไปน้ี 1. วถิ ีชวี ติ ทพ่ี ึงประสงค์ ...................................................... ................................................................................................ ........................ .......................................................................................................................................................... 2. เหตุการณต์ า่ ง ๆ ในอดีตท่ีคิดว่าลม้ เหลว 1.................................................................................................................................................... 2.......................................................................................................................................... .......... 3.................................................................................................................................................... 4............................................................................................ ........................................................ 5.................................................................................................................................................... 3. ฉนั ควรยอมรบั และแก้ไขส่ิงที่ผดิ พลาดไมใ่ หเ้ กดิ ข้ึนซ้ำในอนาคต ควรทำอะไรและทำอย่างไร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. ................ ............................................................................................................................................................................. 4. บอกวิธกี ารท่ีจะปอ้ งกันไม่ให้เกิดความล้มเหลวซำ้ อกี ในอนาคต .............................................................................................................................................................................. ........................................................................................................... ................................................................... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ...................................................................................................................................................... .......................

แผนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรทู้ ี่ 13 เวลา 1 คาบ เวลา 4 คาบ เร่ือง ทักษะชีวิต หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 4 ทุกปัญหามีทางออก ระดับชน้ั ม.6 1. มาตรฐานการศกึ ษา มาตรฐานท่ี 5 ผู้เรียนมีความรู้และทกั ษะทจี่ ำเป็นตามหลกั สูตร ตัวบง่ ชี้ 5.2 ผลการประเมินสมรรถนะสำคัญตามหลักสตู รเป็นไปตามเกณฑ์ 2. มาตรฐานการเรียนรดู้ ้านแนะแนว มาตรฐานท่ี 3 ผูเ้ รยี นรแู้ ละเข้าใจการเปลยี่ นแปลงของสังคม สามารถปรบั ตัวได้อยา่ งเหมาะสมและ อยู่รว่ มกบั ผูอ้ ่ืนได้อยา่ งมีความสขุ ตัวบง่ ชท้ี ่ี 3.1 รูเ้ ท่าทันและเข้าใจการเปลีย่ นแปลงชองชุมชน ประเทศ ภูมภิ าคและโลก ตัวบ่งช้ีท่ี 3.2 สามารถสื่อสาร สรา้ งสัมพนั ธภาพและดำรงชีวิตใหส้ อดคลอ้ งกบั การเปล่ยี นแปลงของ กระแสโลกไดอ้ ย่างมคี วามสุข 3. สาระสำคัญ ไมม่ ีใครเกิดมาแล้วไมเ่ คยประสบปัญหา แต่ปญั หาที่แตล่ ะคนประสบจะหนกั หรือเบาแตกตา่ งกนั ขึน้ อยกู่ ับความสามารถในการแกไ้ ขปญั หาและเขา้ ใจสาเหตุของปัญหา ว่าเป็นธรรมชาตทิ เี่ กิดขนึ้ กับมนษุ ย์ทกุ คน หรอื เกดิ จากวิธคี ดิ การรบั รู้ ทัศนะในการมองโลกของแต่ละบุคคล เมื่อทุคนสามารถรับรแู้ ละเขา้ ใจสาเหตุ ของปญั หา รจู้ กั วิธคี ิดแกป้ ัญหาท่ีเหมาะสม ตามความเปน็ จรงิ กจ็ ะสามารถหาแนวทางในการแกป้ ัญหาไดส้ ำเร็จ 4. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. เพ่อื ให้นกั เรยี นบอกแนวคิดการพัฒนาทกั ษะชวี ติ ได้ 2. เพอื่ ให้นกั เรียนประเมินตนเองและสรุปบทเรียนชวี ิตของตนเองได้ 5. สาระการเรยี นรู้ เข้าใจการเปลย่ี นแปลงของสงั คม 6. ทกั ษะกระบวนการ 1. การคิดวเิ คราะห์ 2. การแก้ไขปัญหา 7. คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ 2. ซื่อสัตยส์ จุ รติ 3. มวี นิ ัย 4. ใฝ่เรียนรู้

5. อยูอ่ ย่างพอเพียง 6. มงุ่ มัน่ การทำงาน 7. รกั ความเป็นไทย 8. มจี ิตสาธารณะ 8. สมรรถนะสำคัญ 1. ความสามารถในการคดิ 2. ความสามรถในการแก้ปัญหา 3. ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวิต 9. เปา้ หมาย/จุดเนน้ ของสถานศกึ ษา นักเรียนทกุ คน มคี วามสามารถ ทักษะ และคณุ ลักษณะตามจุดเน้นแต่ละช่วงวัย ม.4-6 แสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา ใช้เทคโนโลยีเพอ่ื การเรยี นรู้ ใช้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาองั กฤษ) มีทกั ษะการคดิ ชัน้ สงู ทักษะชีวติ ทักษะการส่ือสารอยา่ งสร้างสรรค์ตามชว่ งวัย มุ่งมัน่ ในการศึกษาและการทำงาน 10. ชน้ิ งาน/ภาระงาน ใบงาน 11. วธิ ีการจดั กจิ กรรม ขนั้ นำ 1. ถามนักเรียนวา่ เคยได้ยินคำว่า “ทักษะชวี ิต” หรอื ไม่และคิดวา่ ทักษะชีวิตหมายถงึ อะไร ขั้นกิจกรรม 2. สุ่มตัวแทนนักเรยี น 2-3 คน บอกความหมายของทักษะชวี ติ ตามความเข้าใจของนักเรียน 3. นักเรียนแบ่งกลุ่มยอ่ ยกลมุ่ ละ 5-6 คน ศกึ ษาใบความรู้ เรื่องแนวคิดการพฒั นาทักษะชวี ิตใน ระบบการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน อภปิ รายสรปุ ตอบคำถามในใบงาน เรื่องประเมนิ ตนเองและสรุป บทเรียนชวี ิตของตนเอง ขน้ั สรปุ 4. นกั เรียนสง่ ตัวแทนกลุ่ม สรปุ ข้อคิดและความรู้ท่ีไดจ้ ากการทำกิจกรรม 5. ครูสรปุ เพม่ิ เติม 12. ส่ือ/อุปกรณ์ 1. ใบความรู้ เรอื่ งแนวคดิ การพัฒนาทกั ษะชีวติ 2. ใบงาน เรอื่ งประเมินตนเองและสรุปบทเรยี นชวี ิตของตนเอง

13. การประเมนิ ผล การประเมนิ 1. ตรวจใบงาน เชน่ ตรวจความถูกต้อง ครบถ้วนสมบูรณ์ ความเรยี บรอ้ ยของใบงาน 2. สงั เกตพฤติกรรมการเรียนรู้ เชน่ ความสนใจในการฟัง การซกั ถาม การตอบคำถาม และการ ร่วมอภิปราย 3. สังเกตการทำงานกลุ่ม เครอ่ื งมือ แบบสังเกตพฤติกรรม เกณฑ์การประเมนิ ระดบั คุณภาพ ข้อความบ่งชค้ี ณุ ภาพ ผา่ น ทำใบงานสง่ ให้ความสนใจในการฟงั การซกั ถาม การตอบคำถาม การร่วมอภปิ ราย ไม่ผ่าน ไมท่ ำส่ิงหนง่ึ สิ่งใดใน 3 ข้อ 14. ข้อเสนอแนะ 1. นักเรยี นศกึ ษาความรู้เพ่ิมเติม จากแหล่งความรอู้ ื่นๆ 2. เขยี นแผนภูมิ ประเมินตนเองและสรปุ บทเรยี นชีวิตของตนเอง

ใบความรู้ เรอ่ื ง แนวคดิ การพฒั นาทักษะชีวิตในระบบการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ประกอบการจัดกจิ กรรม เร่ือง ทุกปญั หามีทางออก หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้กำหนดทักษะชีวิตเป็นสมรรถนะ สำคัญ ท่ีผู้เรียนทุกคนพึงได้รับการพัฒนา เพื่อให้ครูและผู้ท่ีเก่ียวข้องมีแนวทางในการเสริมสร้างทักษะชีวิต ให้แก่นักเรียน สอดคล้องกับหลักสูตรและองค์ประกอบ ทักษะชีวิตที่องค์การอนามัยโลกกำหนด ในการ นี้ สพฐ. ได้กำหนดความหมายและองค์ประกอบทักษะชีวิตไว้ดังน้ีทักษะชีวิต เป็นความสามารถของบุคคลท่ี จะจดั การกับปัญหาตา่ งๆ รอบตวั ในสภาพสังคมปจั จุบันและเตรยี มพร้อมสำหรบั การปรับตวั ในอนาคต องค์ประกอบของทักษะชีวิต สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน (สพฐ. )ได้กำหนด องค์ประกอบทักษะชวี ิตไว้ 4 องคป์ ระกอบ ดงั นี้ 1. การตระหนักรู้และเห็นคุณค่าในตนเองและผู้อื่น 3. การจัดการกบั อารมณ์และความเครียด หมายถึง การรู้จกั ความถนดั ความสามารถ จุดเด่น หมายถึง ความเขา้ ใจและรู้เท่าทนั ภาวะอารมณ์ จุดดอ้ ยของตนเอง เขา้ ใจความแตกตา่ งของแตล่ ะ ของบคุ คล รู้สาเหตุของความเครียด รู้วธิ ีผอ่ น บุคคล รู้จกั ตนเอง ยอมรับ เห็นคณุ ค่าและ คลาย หลีกเลี่ยงและปรับเปลยี่ นพฤติกรรมท่ีจะ ภาคภูมิใจในตนเองและผอู้ ่ืน มีเป้าหมายในชีวิต ก่อใหเ้ กิดอารมณ์ไมพ่ ึงประสงคไ์ ปในทางที่ดี และมีความรับผดิ ชอบต่อสงั คม 4. การสร้างสัมพนั ธภาพท่ดี ีกบั ผู้อ่ืน 2. การคิดวเิ คราะห์ ตัดสินใจ และแก้ปัญหาอย่าง หมายถึง การเขา้ ใจ มุมมอง อารมณ์ สร้างสรรค์ ความรู้สึกของผอู้ ่ืน ใชภ้ าษาพูดและภาษากาย หมายถึง การแยกแยะขอ้ มูลขา่ วสาร ปัญหา เพือ่ สื่อสารความรู้สึกนึกคิดของตนเอง รับรู้ และสถานการณ์รอบตวั วิพากษว์ ิจารณ์และ ความรู้สึกนึกคดิ และความตอ้ งการของผอู้ ื่น ประเมินสถานการณ์รอบตวั ดว้ ยหลกั เหตุผลและ วางตวั ไดถ้ ูกตอ้ ง เหมาะสมในสถานการณ์ ขอ้ มูลท่ีถกู ตอ้ ง รับรู้ปัญหา สาเหตขุ องปัญหา ต่างๆ ใชก้ ารส่ือสารท่ีสร้างสัมพนั ธภาพที่ดี หาทางเลือกและตดั สินใจแกป้ ัญหาในสถานการณ์ สร้างความร่วมมือและทางานร่วมกบั ผอู้ ่ืนได้ ต่างๆ อยา่ งสร้างสรรค์ อยา่ งมีความสุข ทมี่ า: การพฒั นาทกั ษะชวี ติ ในระบบการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน สำนักวชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน

ใบงาน เรื่อง ประเมนิ ตนเองและสรุปบทเรียนชีวิตของตนเอง ประกอบการจัดกจิ กรรม เร่ือง ทุกปัญหามีทางออก ให้นักเรียนประเมนิ ตนเอง และสรปุ บทเรียนชวี ติ ของตนเอง (ประเมนิ สรปุ ผลการกระทำ ประสบการณ์ที่ดขี องตนเองและผู้อื่น เป็นบทเรยี นในชวี ิตของตนเองและเปน็ แนวทางในการใช้ ทักษะชีวิต ช่วยเหลือ อริยสจั 4 ตวั อยา่ ง ควำมสนใจ ภาษาไทย ควำมถนัด สนใจ ถนัด วิทยำศำสตร์ จดุ เดน่ พดู เกง่ พรหมวหิ ำร 4 ทาอาหาร ตระหนกั รู้เหน็ คุณค่า พยายาม เป็นคนดี วธิ กี ารคดิ วเิคราะห์ ในตนเองและผูอ้ นื่ สงู ตดั สนิ ใจแกป้ ญั หา ควำมภมู ใิ จ ถกั โครเชต์ ทาความดี ควำมสำมำรถ จดุ ดอ้ ย บทเรยี นชีวิต ของฉัน รอ้ งเพลง ใจรอ้ น ไม่ยอมแพ้ คอมพวิ เตอร์ วธิ กี ารจดั การกบั วธี กี ารสร้าง ความเครยี ด ความสมั พนั ธ์กบั ผูอ้ น่ื ออกกำลงั กำย พดู คยุ ปรกึ ษำ หลกั 5 ย ให้เกียรติ กำย สมำธิ ทกั ทำย

แผนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรูท้ ่ี 14 เรอ่ื ง สรุปประเมนิ ผลการจัดกจิ กรรม เวลา 1 คาบ เวลา 1 คาบ หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 5 ประเมินผล ระดับชน้ั ม.6 1. มาตรฐานการศึกษา มาตรฐานท่ี 5 ผู้เรยี นมีความรู้และทกั ษะทจ่ี ำเป็นตามหลกั สูตร ตัวบ่งช้ี 5.3 ผลการประเมินการอ่านคิดวเิ คราะห์และเขยี นเปน็ ไปตามเกณฑ์ 2. มาตรฐานการเรียนรู้ด้านแนะแนว มาตรฐานท่ี 1 ผเู้ รยี นรจู้ กั ตนเอง รักและเหน็ คุณค่าในตนเองและผู้อนื่ มาตรฐานท่ี 2 ผเู้ รียนสามารถวางแผนชวี ิตในดา้ นการศึกษา และอาชีพ ส่วนตัวและสงั คม มาตรฐานที่ 3 ผเู้ รียนร้แู ละเข้าใจการเปลยี่ นแปลงของสังคม สามารถปรับตัวไดอ้ ยา่ งเหมาะสมและอยู่ รว่ มกบั ผอู้ ื่นไดอ้ ย่างมีความสุข 3. สาระสำคญั หลังจากที่นักเรียนได้ทำกิจกรรม มาจนครบแลว้ คาบเรยี นนี้เป็นคาบทจี่ ัดใหม้ ีการสรปุ ประเมนิ ผลการ จดั กิจกรรม เพ่ือครูจะได้ทราบว่ากิจกรรมที่จัดให้นักเรียนทั้งหมดนนั้ จัดได้ครอบคลมุ มาตรฐานการแนะแนวท้ัง 3 มาตรฐาน และนักเรียนได้รับประโยชน์อะไรบ้าง ตลอดจนนำผลการประเมินก่อนทำกิจกรรมมา เปรียบเทียบกับหลังทำกิจกรรมว่ามีส่วนช่วยทำให้นักเรียนได้พัฒนาตนเองมากน้อยเพียงใด ที่สำคัญต้องการ ขอ้ คดิ เห็นจากนักเรยี นทุกคนเพอื่ นำมาใช้ในการปรับปรุงการจดั กจิ กรรมแนะแนวให้มีประสทิ ธิภาพมากยงิ่ ขึ้น 4. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. เพ่ือให้นักเรยี นบอกข้อคิด ความพึงพอใจทไี่ ดจ้ ากการทำกจิ กรรมท้งั หมดได้ 2. เพื่อใหน้ กั เรียนประเมนิ ตนเองหลงั ทำกจิ กรรม 5. สาระการเรียนรู้ ประเมนิ ผลการจดั กิจกรรม 6. ทกั ษะกระบวนการ การคิดวเิ คราะห์ 7. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ใฝ่เรียนรู้ 8. สมรรถนะสำคัญ 1. ความสามารถในการส่ือสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแกป้ ญั หา

4. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 9. เป้าหมาย/จดุ เน้นของสถานศึกษา นักเรยี นทกุ คน มคี วามสามารถ ทกั ษะ และคุณลักษณะตามจุดเน้นแต่ละชว่ งวัย ม.4-6 แสวงหาความร้เู พื่อการแกป้ ัญหา ใชเ้ ทคโนโลยเี พือ่ การเรยี นรู้ ใชภ้ าษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) มีทกั ษะการคดิ ชั้นสูง ทักษะชีวิต ทักษะการสอ่ื สารอยา่ งสร้างสรรค์ตามชว่ งวัย มงุ่ ม่ันในการศึกษาและการทำงาน 10. ชน้ิ งาน/ภาระงาน ใบงาน 11. วธิ กี ารจดั กิจกรรม ขั้นนำ 1. นักเรียนฟงั CD เพลงอยา่ ยอมแพ้ (แจกเนื้อเพลงให้นักเรียน) รว่ มร้องเพลงพร้อม ๆกัน 2. สุ่มนกั เรยี น 2-3 คน บอกความรู้สึกที่ฟังเพลง ขนั้ กิจกรรม 3. นักเรยี นแบ่งกลุ่มยอ่ ยกลุ่มละ 5-6 คนอภิปราย ข้อคดิ ท่ไี ด้จาการทำกิจกรรมทง้ั หมด 4. นักเรยี นทำแบบประเมินความพงึ พอใจท่มี ีต่อการจัดกจิ กรรมแนะแนว ขัน้ สรปุ 5. นักเรยี นส่งตวั แทนกลุ่ม สรุปข้อคิดท่ีได้จากการทำกจิ กรรม 6. ครูสรปุ เพิม่ เติม 12. สื่อ/อุปกรณ์ 1. CD เพลงอย่ายอมแพ้ และเนื้อเพลง 2. แบบประเมินความพงึ พอใจท่ีมตี อ่ การจดั กจิ กรรมแนะแนว 13. การประเมินผล การประเมนิ 1. ตรวจใบงาน เช่น ตรวจความถูกต้อง ครบถว้ นสมบูรณ์ ความเรียบรอ้ ยของใบงาน 2. สงั เกตพฤติกรรมการเรียนรู้ เชน่ ความสนใจในการฟัง การซักถาม การตอบคำถาม และการ รว่ มอภิปราย 3. สังเกตการทำงานกลมุ่ เครอ่ื งมอื แบบสังเกตพฤติกรรม

เกณฑ์การประเมนิ ขอ้ ความบ่งชค้ี ุณภาพ ระดับคณุ ภาพ ทำใบงานส่ง ให้ความสนใจในการฟงั การซกั ถาม การตอบคำถาม ผ่าน การร่วมอภิปราย ไม่ทำสงิ่ หน่ึงสิง่ ใดใน 3 ข้อ ไมผ่ ่าน 14. ข้อเสนอแนะ 1. กระต้นุ ให้นักเรยี นทุกคนมีส่วนรว่ มในการแสดงความคิดเห็นและข้อเสนอแนะใน การจดั กจิ กรรม 2. นำขอ้ เสนอแนะของนักเรยี นไปพจิ ารณาปรับปรุง พฒั นาการจดั กจิ กรรมแนะแนว

ใบความรู้ เร่ือง เนอื้ เพลงอย่ายอมแพ้ ประกอบการจัดกิจกรรม ประเมินผล เน้อื เพลง ศิลปิน: ออ้ ม สุนิสา ………………………. หากวันนีเ้ ราล้มลงยงั คงลุกขนึ้ ไดใ้ หม่ ก็ยงั คงมหี นทางถ้ายังมยี ิ้มสดใสก้าวไป อย่าหวนั่ ไหวหวาดกลัว พร้อมทนทุกข์หมองหมน่ ผจญความมืดหมองมวั ไมก่ ลัวจะฝันถึงวนั ใหม่ * หากวันใดอ่อนแอท้อแท้อย่าหว่ันไหว ขอใหใ้ จไม่ส้ินหวัง ปัญหาแมจ้ ะหนัก ก็คงไมเ่ กนิ กำลงั อยา่ หยุดยงั้ ก้าวไป ** ขออย่ายอมแพ้ อยา่ อ่อนแอแมจ้ ะรอ้ งไห้ จงลุกข้นึ ส้ไู ป จุดหมายไม่ไกลเกินจรงิ

แบบประเมินความพงึ พอใจของนกั เรยี นท่ีมตี ่อการจดั กจิ กรรมแนะแนว ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 6 ช่อื -สกุล...........................................................................ชน้ั .............................เลขที่........................... คำช้ีแจง ใหน้ ักเรียนทำเครื่องหมาย ✓ ลงในชอ่ งใหต้ รงกับความคิดเห็นของนักเรียน รายการ ระดบั ความคดิ เห็น 54321 เน้ือหาสาระ 1. นักเรียนคดิ วา่ เนื้อหาสาระมคี วามชัดเจน 2. นักเรียนไดร้ ับความรจู้ ากการศกึ ษาใบความรู้ ใบงาน 3. นักเรียนคิดว่าเนื้อหาสาระเหมาะสมกบั เวลา 4. นกั เรียนคดิ ว่าเน้ือหาสาระเหมาะสมกับระดับชัน้ ของนักเรียน รูปแบบกจิ กรรม 5. นักเรียนคดิ วา่ กจิ กรรมท่ีจดั นา่ สนใจ 6. นกั เรยี นคดิ วา่ กิจกรรมทจี่ ดั มคี วามหลากหลาย 7. นกั เรยี นคิดวา่ กิจกรรมทจี่ ดั มีความสนกุ สนาน 8. นกั เรยี นคดิ ว่ากจิ กรรมท่ีจดั เหมาะสมกับวยั ของนักเรียน การมีสว่ นร่วม 9. นักเรียนมสี ่วนรว่ มทำกจิ กรรม 10. นกั เรยี นมีโอกาสแสดงความคดิ เหน็ ด้วยการพดู 11. นกั เรียนมโี อกาสแสดงความคดิ เห็นดว้ ยการเขยี น 12. นกั เรยี นมโี อกาสทำงานร่วมกบั เพื่อนเป็นกลุ่มอยา่ งมีความสขุ ประโยชน์และการนำไปใช้ 13. นกั เรียนมีโอกาสแสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากใบความรู้ 14. นกั เรยี นไดร้ ับความสนุกสนาน 15. นักเรยี นสามารถนำความรูไ้ ปใช้ในชวี ติ ประจำวันได้ 16. นกั เรยี นมคี วามพงึ พอใจต่อการจัดกิจกรรมต้องการใหใ้ ช้วธิ กี าร เช่นเดียวกันน้ีในการจดั กจิ กรรมตอ่ ไป ข้อเสนอแนะ ................................................................................................................... .............................................. ................................................................................................................................................................. เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน 5 หมายถงึ มากทสี่ ดุ 4 หมายถงึ มาก 3 หมายถงึ ปานกลาง 2 หมายถึง นอ้ ย 1 หมายถึง น้อยทส่ี ดุ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook