SAR Self-Assessment Report ก รายงานการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) รายงานการประเมนิ ตนเอง ประจำปีการศกึ ษา 2563 โรงเรยี นโมคลานประชาสรรค์ ตำบลโมคลาน อำเภอทา่ ศาลา จงั หวดั นครศรีธรรมราช สังกดั สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษามธั ยมศกึ ษานครศรธี รรมราช สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ
1 รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คำนำ อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๕ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช ๒๕๕๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๔๕ และมาตรา ๔๗ วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ ได้ออกกฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.๒๕๖1 เพื่อให้การดำเนินการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน สถานศึกษาเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพให้หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่กำกับดูแลสถานศึกษา ให้คำปรึกษา ช่วยเหลือและแนะนำสถานศึกษา เพื่อให้การประกันคุณภาพการศึกษาพัฒนา อย่างต่อเนื่อง ได้รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาให้หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงาน ที่กำกับดูแลสถานศึกษาทราบและใช้เป็นข้อมูลและแนวทางในการประเมินคุณภาพภายนอก การติดตามตรวจสอบ พร้อมข้อเสนอแนะให้แก่สถานศึกษาเพื่อใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงและ พัฒนาคุณภาพการศึกษาต่อไป เอกสารรายงานการประเมินตนเอง ประจำปีการศึกษา ๒๕๖3 ของโรงเรียนโมคลานประชาสรรค์ เล่มนี้ เป็นเอกสารงานพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ได้รวบรวมและสรุปผลการ ดำเนินการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษาเพื่อการรั บรองมาตรฐานการศึกษาของ โรงเรียนโมคลานประชาสรรค์ และใช้เป็นแนวทางการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาระดับ การศกึ ษาข้นั พื้นฐานต่อไป ขอขอบพระคุณผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่านที่ได้ดำเนินการจัดทำรายงานการประเมินตนเอง ประจำปกี ารศกึ ษา ๒๕๖3 จนสำเร็จลลุ ว่ งเป็นอย่างดี (นางสริ วิ รรณ มณีโชติ) ผู้อำนวยการโรงเรยี นโมคลานประชาสรรค์
2 รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) สารบญั เร่อื ง หน้า คำนำ 1 สารบญั 2 สว่ นท่ี 1 บทสรปุ สำหรบั ผู้บรหิ าร 3 ส่วนที่ 2 ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา 6 ขอ้ มูลพื้นฐานของสถานศึกษา 6 ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา 6 6 มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของผ้เู รยี น 15 มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการของผู้บริหารสถานศกึ ษา 21 มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเี่ น้นผูเ้ รียนเป็นสำคญั 26 มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาโดยรวม 29 การประเมินความโดดเดน่ ระดบั การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน 30 ภาคผนวก 31 ประกาศมาตรฐาน และเป้าหมายของสถานศึกษา 45 คำส่งั แต่งตง้ั คณะกรรมการรบั ผิดชอบงานประกันคุณภาพการศึกษา ประจำปกี ารศกึ ษา 2563
3 รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) บทสรุปสำหรับผูบ้ รหิ าร โรงเรียนโมคลานประชาสรรค์ ได้ดำเนินงานด้านการสร้างความเข้มแข็งของระบบประกัน คุณภาพภายในอย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน โดยได้ดำเนินงานตามกฎกระทรวง การประกันคุณภาพ การศึกษา พ.ศ.๒๕๖1 ไดแ้ ก่ กำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาให้สอดคล้องกับมาตรฐานชาติ และมาตรฐานการศึกษาของต้นสังกัด สภาพบริบท ปัญหา ความต้องการโดยเน้นการมีส่วนร่วมของทกุ ภาคส่วน การจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษาและแผนปฏิบัติการประจำปี ดำเนนิ การตามแผนปฏิบัตงิ านโครงการและกิจกรรมต่าง ๆ ตามแผนปฏบิ ตั ิการประจำปี ประเมนิ ผลและ ตรวจสอบคุณภาพการศึกษา ติดตามผลการดำเนินการอย่างต่อเน่ือง และจัดทำรายงานผลการประเมนิ ตนเอง นำมาพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา/ส่งหน่วยงานต้นสังกัด จากการดำเนินงานตามขั้นตอน ระบบการประกนั คณุ ภาพของโรงเรยี นโมคลานประชาสรรค์ สรุปได้ดังนี้ ผลการดำเนินงาน ๑. มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : โรงเรยี นโมคลานประชาสรรค์ ผลการดำเนินงาน การจัดการศึกษา มคี ุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาอยู่ ในระดับ ยอดเยี่ยม 3 มาตรฐาน จากการประเมินผลการปฏิบัติงาน ปีการศึกษา ๒๕๖3 ซึ่งมาตรฐาน สถานศึกษาสอดคล้องตามมาตรฐานระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.๒๕63 ของกระทรวงศึกษาธิการ ทง้ั ๓ มาตรฐาน คือ คณุ ภาพผเู้ รยี น ผู้เรยี นมีคุณธรรม มคี วามสุภาพ มีพฒั นาการดา้ นร่างกายตามวัย ดำรงตนบนหลักความพอเพียง ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง เทดิ ทูนสถาบนั สบื สานงานพระราชดำริ มคี วามรู้ ความสามารถ ตามหลักสูตรสถานศึกษากำหนด มคี วามรู้ ความสามารถดา้ นการส่ือสาร การแก้ปัญหา การคิดวิเคราะห์ การคิดค้นนวัตกรรม มีเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในระดับดีขึ้นไปตามท่ี สถานศึกษากำหนด มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในระดับ 3 ขึ้นไป ร้อยละ ๗๔.๙๓ ของคะแนนเฉลี่ย รายวชิ าตามหลักสูตรสถานศึกษาโดยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนปีการศึกษา 256๓ มคี า่ เฉลี่ย 2.9๙ และ ปีการศึกษา 256๑ มีค่าเฉลี่ย 2.95 ซึ่งมีค่าเฉลี่ยสูงกว่า 0.๐๔ ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึง ประสงคไ์ ด้ระดบั ดี และดเี ยยี่ ม ร้อยละ 100 ผลการทดสอบระดับชาติข้ันพนื้ ฐาน ระดบั ชน้ั มัธยมศึกษา ปีที่ 3 ในปีการศึกษา 256๓ ต่ำกวา่ ปีการศกึ ษา 256๒ ร้อยละ ๒.๔๙ และชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 6 ในปี การศึกษา 256๓ สูงกว่า ปีการศึกษา 256๒ ร้อยละ 11.๓๕ กระบวนการบริหารและการจดั การ กระบวนการบริหารและการจัดการการศึกษาของโรงเรียนโมคลานประชาสรรค์ ได้กำหนด เป้าหมาย วิสัยทัศน์และพันธกิจอย่างชัดเจนสอดคล้องกับความต้องการของชุมชนท้องถิ่น ตามบริบท ของสถานศึกษา ตามวัตถุประสงค์ของแผนการศึกษาชาติ นโยบายของรัฐบาลและต้นสังกัด โรงเรียน โมคลานประชาสรรค์ บริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา 3 ด้าน ได้แก่ ด้านการบริหารสถานศึกษา ด้านการจัดการเรียนการสอน และด้านคุณภาพผู้เรียน โดยการบริหารสถานศึกษาจะใช้กระบวนการ บริหารวงจรคุณภาพ (PDCA) ประกอบด้วย 1) การวางแผนการดำเนินงาน (Plan) 2) การปฏิบัติตาม แผนการดำเนินงาน (Do) 3) การตรวจสอบการปฏิบัติตามแผน (Check) และ 4) การเรียนรู้และการ
4 รายงานการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) ปรับปรุงแก้ไข (Action) ด้านคุณภาพผู้เรียน มีการใช้กระบวนพัฒนาและส่งเสริมศักยภาพผู้เรียน ทางด้านวชิ าการควบคู่กบั การจดั ระบบระบบดูแลช่วยเหลอื นกั เรียนที่เข้มแข็ง เพือ่ ให้ผ้เู รยี น เก่ง ดี มีสุข และด้านการจัดการเรียนการสอน มีการใช้ระบบการนเิ ทศภายในและการใช้แหล่งเรียนรู้ในทอ้ งถิ่นบา้ น มะยิง โดยใช้กลยุทธ์ “MOKKALAN MODEL” ในการยกระดับคุณภาพการเรียนการสอนอย่างมี ประสิทธิภาพ นำไปสู่การเรยี นรแู้ ละการปรบั ปรุงแก้ไขพัฒนาคณุ ภาพตามแผนการดำเนนิ งานท่ีได้วางไว้ อย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง โดยใช้กระบวนการบริหารงานแบบมีส่วนร่วมทุกขั้นตอน (Participation Management) ตามแนวทางศาสตร์พระราชา เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุดต่อ สถานศกึ ษา พัฒนาคุณภาพผู้เรียนทุกกลุ่มรวมทั้งกลุ่มเรียนร่วม ส่งเสริม สนับสนุน จัดให้มีการพัฒนา ทางวิชาชพี ของชุมชนการเรยี นรู้ทางวิชาชีพครู PLC ในสถานศึกษา เปิดโอกาสให้บุคลากรไดแ้ ลกเปล่ียน เรียนรู้ในทางวิชาชีพเพื่อนำมาพัฒนางานและพัฒนาผู้เรียน รวมทั้งจัดสภาพแวดล้อม ให้เอื้อต่อ การจัดการเรียนรู้ของผู้เรียน ให้มีความปลอดภัยและน่าอยู่ น่าเรียนทั้งภายใน ภายนอกห้องเรียน จัดระบบขอ้ มูล สารสนเทศ เทคโนโลยีมาสนับสนุน ในการจดั การเรียนรู้ ในสถานศึกษา กระบวนการจดั การเรียนการสอนทเ่ี น้นผู้เรียนเป็นสำคญั กระบวนการจัดการเรียนการสอนตามมาตรฐานและตวั ชว้ี ัดของสถานศึกษา ให้โอกาส ผู้เรยี นมสี ่วนรว่ มในการเรยี นรู้ ผา่ นกระบวนการวัดและปฏบิ ัตจิ รงิ มีการจดั การเรยี นเชงิ บวก โดยมุ่งเน้น พัฒนาผู้เรียนให้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของโรงเรียนที่ว่า “จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพ ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยชุมชนมีส่วนร่วมตามแนวทางศาสตร์พระราชา ส่งผลให้ กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เนน้ ผูเ้ รยี นเปน็ สำคัญอยู่ในระดบั ดีเลิศ โดยสง่ เสริมครูให้จัดกิจกรรม การเรียนรู้ทเี่ นน้ ผู้เรียนเป็นสำคัญแบบ Active Learning ครรู ักเดก็ เดก็ รักครู และครสู อนให้เด็กมีน้ำใจ กับเพื่อนไม่แข่งขันกัน ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีและครูรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล ตลอดจน ตรวจสอบ และประเมินผลผเู้ รยี นอย่างเป็นระบบและนำผลมาพัฒนาผู้เรียน นำมาปรับปรงุ แก้ไข หาแนวทางพัฒนา ผู้เรียน โดยใช้กระบวนการ PLC ในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และสืบค้นองค์ความรู้เพือ่ พัฒนางาน พัฒนา ผู้เรียนและพฒั นาวชิ าชพี ๒. หลกั ฐานสนบั สนุน : จากการดำเนินงานตามระบบการประกันคุณภาพมีผลงานเชิงประจักษ์และหลักฐานสนับสนุน ดังน้ี ๒.๑ ผลการทดสอบระดบั ชาติขัน้ พืน้ ฐาน (O-NET) ประจำปี ๒๕๖3 ๒.๒ ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นระดับสถานศกึ ษา ประจำปี ๒๕๖3 ๒.3 ผลการจบหลกั สูตรการศกึ ษาและการศึกษาตอ่ ๒.4 รางวัลผลงานเชิงประจักษ์ของโรงเรียน ผู้บริหาร ครูและนักเรียนระดับเขตพื้นที่ การศึกษา ระดับภาคใต้ และระดับชาติ ๒.5 เอกสารทางวิชาการ เช่น แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน แผนปฏิบัติ การประจำปีของโรงเรยี น หลกั สูตรสถานศึกษา เปน็ ตน้ ๒.6 ข้อมลู ผลงานโดดเด่นของโรงเรียน ไดแ้ ก่ 1) มติ ิคณุ ภาพด้านการบริหารจัดการศึกษา เรื่อง การใช้แหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่นบ้านมะยิงเพื่อการจัดการศึกษาในโรงเรียนโมคลานประชาสรรค์ โดยใช้
5 รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) กลยุทธ์ MOKKALAN MODEL และ 2) มิติคุณภาพด้านความสามารถเฉพาะทางที่สำคัญ นวัตกรรมเรื่อง การจัดกจิ กรรมจรวดขวดน้ำโมคลานทะยานฟ้าดว้ ยกระบวนการ 5 ดา่ นอรหนั ต์ 2.7 รายงานการประเมนิ โครงการ ๓. กลยุทธส์ ถานศึกษา (Strategy) • พัฒนากระบวนจัดการเรยี นรู้ท่ีมีคุณภาพและมีประสิทธิภาพในการพฒั นาผู้เรียนให้มี ความรู้ มีคุณธรรมและจริยธรรมบนพื้นฐานของความเปน็ ไทย • พฒั นาครผู ู้สอนให้มสี มรรถนะทเ่ี อื้อตอ่ การดำเนนิ งานท่ีมปี ระสิทธภิ าพ • พัฒนาระบบการบรหิ ารที่เขม้ แขง็ มปี ระสิทธภิ าพบนพ้นื ฐานของหลกั ธรรมาภบิ าล • สง่ เสรมิ และสนับสนนุ ใหช้ มุ ชนและภาคเี ครือข่ายมสี ว่ นร่วมในการพัฒนาสถานศึกษา และการดูแลชว่ ยเหลอื ผ้เู รียน จดุ เนน้ สถานศึกษา • ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา • ผเู้ รยี นมีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคตทิ ่ีดตี อ่ อาชีพ • ผเู้ รยี นและบคุ ลากรมีคุณภาพชวี ติ ท่เี ปน็ มติ รต่อสงิ่ แวดล้อม • ผูส้ อนมคี วามรคู้ วามสามารถในการจัดการเรยี นรูท้ ี่เน้นผูเ้ รยี นเปน็ สำคัญ • โรงเรยี นมกี ารบริหารจดั การศึกษา อย่างมคี ุณภาพตามแนวทางศาสตร์พระราชา • โรงเรียนมีภาคเี ครอื ขา่ ยมีส่วนรว่ มในการบรหิ ารการจัดการศึกษา • โรงเรียนมีระบบประกนั คุณภาพการศกึ ษาท่มี ีประสิทธิภาพ • โรงเรยี นมีระบบดูแลช่วยเหลอื นกั เรียนท่ีเขม้ แข็ง • โรงเรยี นมีระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อใชใ้ นการบริหารจดั การและการจัดการ เรยี นรู้ คา่ นิยมองคก์ ร (Core Value) • ผเู้ รียนสำคัญท่ีสดุ • การบรหิ ารจดั การมีประสิทธิภาพ โปรง่ ใส ถกู ระเบียบสามคั คีและทำงานรว่ มกนั เพอ่ื พัฒนาตามเป้าหมายของสถานศึกษา • ปฏบิ ตั งิ านด้วยจรรยาบรรณของวิชาชีพ คำขวญั จรรยาดี มีวชิ า สามคั คี
6 รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) สว่ นที่ 2 ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา ขอ้ มลู ท่ัวไปของสถานศกึ ษา ช่อื โรงเรียน โรงเรยี นโมคลานประชาสรรค์ ตั้งอยเู่ ลขที่ 26 หมทู่ ่ี 12 ตำบลโมคลาน ชื่อผบู้ รหิ ารโรงเรียน ข้อมูลบคุ ลากร อำเภอทา่ ศาลา จังหวัดนครศรธี รรมราช ขอ้ มูลนักเรียน นางสริ ิวรรณ มณีโชติ เบอร์โทรศัพท์ 089-726-2537 E-mail: [email protected] จำนวนครูและบุคลากร 21 คน จำแนกเปน็ ขา้ ราชการครู 14 คน ครูอตั ราจ้าง 3 คน เจา้ หน้าทีอ่ น่ื ๆ 4 คน จำนวนท้งั หมด 236 คน จำแนกเปน็ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ 131 คน และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 105 คน ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพผเู้ รยี น ๑. ระดับคุณภาพ ยอดเย่ยี ม ๒. กระบวนการพัฒนา โรงเรยี นโมคลานประชาสรรค์ มกี ระบวนการพัฒนาผู้เรียนดว้ ยวิธกี ารที่หลากหลาย เน้นพัฒนา คุณภาพผู้เรียนตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับบที่ 2) พ.ศ. 2545 มาตรา 6 ที่ว่า “การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทย ให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ท้ัง ร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้และคุณธรรมมีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต สามารถอยู่ ร่วมกันกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข” และจุดมุ่งหมายของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 ที่มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข มีศักยภาพในการศึกษาต่อและการประกอบ อาชีพ โดยจัดกระบวนการเรียนรู้ด้วยวิธีการที่หลากหลาย ส่งเสริมครูให้พัฒนานักเรียนอย่างเต็ม ศักยภาพ ครูออกแบบจัดการเรียนรู้ วัดผลประเมินผลที่เหมาะสมตามสภาพจริง พัฒนานักเรียนให้มี ทักษะในการอ่าน การเขียน การสื่อสารและการคิดคำนวณ พัฒนาครูให้มีความสามารถในการใช้สื่อ เทคโนโลยีมาใชใ้ นจดั การเรียนรู้ สง่ เสริมการใช้ ICT เพื่อการเรียนรู้ จัดทำแผนยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การสอนเสริม การสอบวัดความรู้ การจัดค่าย วิชาการ นอกจากนี้สถานศึกษาได้ดำเนินการพัฒนาทักษะชีวิตของนักเรียนเพื่อให้อยู่ในสังคมอย่างมี ความสุขสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ควบคู่กับการจัดการเรียนรู้ จดั ระบบแนะแนวและการดูแลชว่ ยเหลือนักเรยี น ครูพ่อ - ครูแม่ อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ เพื่อให้ครูได้ดูแล นักเรียนอยา่ งทว่ั ถึงเย่ยี มบ้าน 100 เปอรเ์ ซน็ ต์ จัดการเรียนรู้โดยการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาจัดทำเครือข่ายแหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่น จัดทำ โครงงานอาชีพเพื่อให้นักเรียนได้ศึกษาและเรียนรู้อาชีพในท้องถิ่น ส่งเสริมให้นักเรียน ได้เรียนรู้ตามท่ี ตนเองถนดั
7 รายงานการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) ๓. ผลการดำเนนิ งาน ขอ้ มูล หลักฐาน เอกสารเชงิ ประจักษ์ ตามตัวช้ีวัด ด้านผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน นกั เรียนมคี วามรูค้ วามสามารถในการอา่ น การเขยี น การสอื่ สาร และการคิดคำนวณตามเกณฑ์ในแต่ละระดับชั้น มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์และคิดอย่างมี วจิ ารณญาณ อภิปราย แลกเปลยี่ นความคิดเห็นและการแก้ปัญหา มคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยี และการสื่อสาร มีความก้าวหน้าทางการเรียนตามหลักสูตร รู้จักทำงานร่วมกับผู้อื่น มีความเป็น ประชาธิปไตย กล้าแสดงออก มีความคิดสร้างสรรค์ สามารถสืบค้นข้อมูลจากสื่อเทคโนโลยีได้ด้วย ตนเอง มีความสามารถในการตัดสินใจ ในการทำงานหรือการศึกษาต่อ มีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดี ตามหลักสูตรและตามท่สี ถานศึกษากำหนด มีความภาคภูมใิ จในท้องถ่ินและความเปน็ ไทย มีสุขภาพท้ัง รา่ งกายและจิตใจท่ีดีเหมาะสมกบั วัย โดยมผี ลการดำเนินงาน ดงั นี้ ๓.๑ ดา้ นผลสมั ฤทธทิ์ างวิชาการของผูเ้ รียน โรงเรียนโมคลานประชาสรรค์ มีกระบวนการพัฒนาผู้เรียนให้มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณโดยจัดทำโครงการส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน บันทึกการอ่าน จัดทำหนังสือเล่มเล็ก ค่ายภาษาอังกฤษ (English camp) การจัดการเรียนการสอน กิจกรรมส่งเสริม การใช้ภาษาทุกวัน ส่งเสริมผู้เรียนให้มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภปิ รายแลกเปล่ยี นความคดิ เห็นและแกป้ ัญหา ด้วยโครงการพฒั นาการเรียนรู้ 8 กลุม่ สาระ ท่ีเน้นการ จัดการเรียนรู้แบบ Active Learning จัดกิจกรรมวันวิชาการ ส่งเสริมให้ผู้เรียนนำความรู้มาประยุกต์ใช้ ด้วยการจัดทำโครงงานทุกกลุ่มสาระนำเสนอในวนั วิชาการ (OPEN HOUSE เปิดบ้านวันวิชาการ ชวน น้องมอง มส.) พัฒนาผู้เรียนให้มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้ โครงงานเป็นฐาน การจัดการเรียนรู้แนวสะเต็มศึกษา และจัดกิจกรรมส่งเสริมให้ผู้เรียนนำความรู้มา ประยุกต์ใช้ด้วยการจัดแข่งขันการประดิษฐ์จรวดขวดน้ำ มีการจัดการเรียนการสอนที่ส่งเสริมให้ผู้เรียน สบื คน้ ขอ้ มูลจาก Internet และสรปุ ความร้ไู ด้ดว้ ยตนเอง เพ่ือส่งเสริมผู้เรยี นให้มีความสามารถในการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ครูจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มีการวัดและ ประเมินผลตามสภาพจริงด้วยเครื่องมอื และวิธกี ารหลากหลาย และนำผลมาพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพ ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา จัดกิจกรรมส่งเสริมด้านอาชีพด้วยโครงงานอาชีพ ส่งเสริม อาชพี ใหก้ ับผ้เู รยี นโดยได้มีการจัดทำข้อตกลง (MOU) กับวทิ ยาลยั การอาชพี พรหมคีรี ให้ผู้เรยี นวัดความ ถนัดทางด้านอาชีพและจัดทำแฟ้มสะสมผลงาน Portfolio เพอ่ื การศึกษาตอ่ และประกอบอาชีพ ๓.๒ ด้านคุณลักษณะทพ่ี งึ ประสงคข์ องผู้เรยี น โรงเรียนโมคลานประชาสรรค์ มีกระบวนการพัฒนาผู้เรียนในด้านลักษระที่พึงประสงค์ ด้วยวิธีการที่หลากหลาย ส่งผลให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตามค่าเป้าหมายที่กำหนด โดย จัดทำกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ด้วยโครงการส่งเสริมคุณลักษณะที่พึงประสงค์ โครงการส่งเสริมการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ครูพ่อ-ครูแม่พบลูกๆ ทุกวันหลังเลิกแถว ตอนเช้า ระเบียบแถวแนวทหาร กิจกรรม นศท.จิตอาสา จัดแบ่งเขตพื้นที่ให้นักเรียนทุกห้องดูแล รับผิดชอบรักษาความสะอาด ส่งเสริมภาวะผู้นำด้วยกิจกรรมสภานักเรียน คณะกรรมการนักเรียน คณะกรรมการกีฬาสีภานใน จัดกิจกรรมส่งเสริมความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทยด้วยโครงการ ชวนน้องปั้นดิน ศิลป์อาสา นำนักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมตามประเพณี วัฒนธรรม และวันสำคัญของ ทอ้ งถนิ่ ในชมุ ชน จดั กิจกรรมเกีย่ วกับสถาบนั ชาติและพระมหากษตั ริย์ กจิ กรรมชุมนุมดนตรี นาฏศิลป์ กิจกรรมค่ายพักแรมลูกเสือ-เนตรนารี การแข่งขันกีฬาสีภายใน การจัดการเรียนรู้บูรณาการอาเซียน
8 รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) กล่มุ สาระสงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม กิจกรรมการเรยี นรูห้ น้าที่พลเมือง ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง ของผู้เรียนทุกคน และประสานงานเจ้าหน้าที่สาธารณสุขเพื่อแปลผล จัดกิจกรรมพัฒนาสุขภาวะทาง ร่างกายให้กับผู้เรียนท่ีมีภาวะบกพร่องทางโภชนาการทั้งขาดและเกิน ทดสอบสมรรถภาพทางกายของ ผู้เรียนตามเกณฑ์มาตรฐานของกรมพลศึกษา กิจกรรมตรวจสารเสพติดในปัสสาวะ แกนนำลูกเสือต้าน ยาเสพติด อบรมป้องกันการตัง้ ครรภ์ก่อนวัยอันควร แกนนำเยาวชนต้นแบบพลังงานทดแทนในชุมชน นกั เรียนแกนนำเยาวชนจงั หวดั การอบรมขบั ข่ีปลอดภยั การอบรมสอดแทรกใหค้ วามรู้เก่ยี วกับ พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ ในระหว่างการจดั การเรียนการสอนวิชาคอมพวิ เตอร์ ตลอดจนภยั คุกคามและอัตรายทาง social-network เพื่อให้ผู้เรียนทุกคนมีความรู้ทักษะในการป้องกันตนเองจากภัยคุกคามรูปแบบใหม่ จัดกิจกรรมส่งเสริม ปลูกฝัง ให้ผู้เรียนดำเนินชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และมีจิตสาธารณะ ด้วยกิจกรรมจิตอาสา ปลูกป่า ลูกเสืออาสาจราจร ทำความสะอาดร่วมกับชุมชน การคัดแยกขยะ กิจกรรมดแู ลเขตพนื้ ทรี่ ับผดิ ชอบของแต่ละห้องเรยี น โรงเรียนโมคลานประชาสรรค์ ขอรายงานผลการประเมนิ ตนเอง มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรยี น ประกอบดว้ ย 2 ประเดน็ พจิ ารณาดังน้ี ตารางที่ 1 แสดงผลการประเมินตนเอง มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผเู้ รยี น ปีการศกึ ษา 2563 1.1 ผลสัมฤทธิท์ างวิชาการของผ้เู รยี น มผี ลการประเมินดงั น้ี มาตรฐานที่ 1 ประเดน็ การพิจารณา ท่ี 1.1 ระดับคณุ ภาพ สรปุ ผลการประเมิน ต่ำกวา่ เป้าหมาย ดา้ นผลสมั ฤทธท์ิ างวิชาการของผเู้ รียน เป้าหมาย ผลการประเมนิ ตำ่ กวา่ เปา้ หมาย ตำ่ กว่าเปา้ หมาย 1) มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การ ดีเลิศ ดี ต่ำกว่าเปา้ หมาย สื่อสาร และการคิดคำนวณ สงู กว่าเปา้ หมาย ตำ่ กว่าเป้าหมาย 1.1 ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่าน การเขยี นการ ดเี ลิศ ดี ตำ่ กว่าเปา้ หมาย สอื่ สารภาษาไทย อยูใ่ นระดับ ๒.๕ ร้อยละ ๕๘ 1.2 ผู้เรียนมีความสามารถในการอา่ น การเขยี น การส่อื สารภาษาองั กฤษ อยู่ในระดบั ๒.๕ ร้อยละ ดีเลิศ ดี ๗๔ 1.3 ผูเ้ รยี นมีความสามารถในการคิดคำนวณ อยู่ใน ดีเลิศ ดี ระดบั ๒.๕ รอ้ ยละ ๔๖ 1.4 ผเู้ รยี นร้อยละ ๙๖ มคี วามสามารถในการใช้ ภาษาอังกฤษแนะนำตนเอง สถานศกึ ษาและสนทนา ดีเลศิ ยอดเยย่ี ม อยา่ งง่าย 1.5 ผเู้ รยี นทุกคนสามารถนำเสนอผลงานไดต้ ามท่ี ดเี ลศิ ดี สถานศึกษากำหนด 2) มคี วามสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ คดิ อยา่ งมี วจิ ารณญาณ อภปิ รายแลกเปลย่ี นความคดิ เห็น ดเี ลิศ ดี และแกป้ ัญหา
9 รายงานการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) มาตรฐานที่ 1 ประเด็นการพิจารณา ที่ 1.1 ระดับคุณภาพ สรปุ ผลการประเมนิ ตำ่ กวา่ เปา้ หมาย ดา้ นผลสมั ฤทธิ์ทางวิชาการของผูเ้ รียน เป้าหมาย ผลการประเมนิ ต่ำกว่าเป้าหมาย 2.1 ผเู้ รียนรอ้ ยละ ๕๘ มีผลการประเมนิ สมรรถนะ สูงกวา่ เปา้ หมาย ตามเป้าหมาย และผลการประเมินการอา่ น คิดวิเคราะห์ และเขยี น ดเี ลศิ ดี สูงกว่าเป้าหมาย อยูใ่ นระดบั ดีขน้ึ ไป 2.2 ผูเ้ รียนรอ้ ยละ 80 มกี ารอภิปรายแลกเปลี่ยน ความคดิ เหน็ และแกป้ ัญหา โดยผ่านกระบวนการ ดเี ลศิ ดี เรียนรใู้ นชน้ั เรยี นและกจิ กรรมทีห่ ลากหลายได้ เหมาะสมกับวยั และระดับชน้ั ของผเู้ รียน 3) มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม ดีเลศิ ยอดเยี่ยม 3.1 ผู้เรียนร้อยละ 90 มีผลงานหรือชิ้นงาน จาก การทำงานกลุ่มหรือเดี่ยว และสามารถอธิบาย ดีเลศิ ดีเลศิ หลักการขัน้ ตอนการทำงาน และปญั หาอุปสรรคของ การทำงานในลกั ษณะโครงงาน 3.2 ผู้เรยี นทกุ คนสามารถสร้างนวัตกรรมจากงาน ปน้ั พนื้ บ้าน ดเี ลศิ ยอดเยี่ยม 3.3 ผู้เรียนสามารถสรา้ งนวตั กรรมจากงานปั้น ดเี ลศิ ยอดเยี่ยม สูงกวา่ เปา้ หมาย พื้นบา้ น จนได้รบั รางวลั ระดับชาติ/ประเทศ ดีเลิศ ยอดเยย่ี ม สูงกวา่ เปา้ หมาย ดเี ลศิ ยอดเยี่ยม สงู กวา่ เปา้ หมาย 3.4 ผ้เู รียนชุมนุมจรวดขวดนำ้ โมคลานสร้าง นวัตกรรม จนไดร้ ับรางวลั ระดับชาติ/ประเทศ ดเี ลศิ ยอดเยย่ี ม สูงกวา่ เป้าหมาย 4) มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ ดีเลศิ ยอดเย่ยี ม สูงกว่าเป้าหมาย และการสอื่ สาร ดเี ลศิ ยอดเย่ยี ม สูงกวา่ เปา้ หมาย ดีเลิศ ตามเปา้ หมาย 4.1 ผู้เรยี นช้นั ม.4-ม.6 ร้อยละ ๘๓ สามารถใช้ ดเี ลิศ เทคโนโลยสี ารสนเทศในการนำเสนอผลงานผา่ น Power Point และการสือ่ สารเพื่อพฒั นาการเรียนรู้ การสอื่ สาร การทำงานอย่างสรา้ งสรรค์และมี คณุ ธรรม 4.2 รอ้ ยละ ๙๐ ของผู้เรียน ม.1 – ม.6 สามารถใช้ เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สารเพื่อพัฒนา ตนเอง 4.3 รอ้ ยละ 9๘ ของผ้เู รียนช้นั ม. 6 สามารถใช้ เทคโนโลยสี ารสนเทศในการทำแฟม้ สะสมงาน (Portfolio) เพอ่ื ใช้ในการศึกษาตอ่ 5) มผี ลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นตามหลักสตู ร สถานศึกษา
10 รายงานการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) มาตรฐานที่ 1 ประเดน็ การพิจารณา ที่ 1.1 ระดับคุณภาพ สรปุ ผลการประเมนิ ด้านผลสมั ฤทธ์ิทางวิชาการของผู้เรียน เป้าหมาย ผลการประเมิน ๕.๑ นักเรยี นร้อยละ ๕๘ มีระดบั ผลการเรียนเฉลี่ย ดเี ลศิ ดี ตำ่ กว่าเปา้ หมาย วชิ าภาษาไทย ระดับ ๒.50 ข้ึนไป ๕.๒ นกั เรียนรอ้ ยละ 7๒ มีระดับผลการเรยี นเฉลี่ย ดี ดีเลิศ สงู กว่าเป้าหมาย วิชาวิทยาศาสตร์ ระดบั ๒.50 ขน้ึ ไป ๕.๓ นักเรียนร้อยละ ๔๖ มรี ะดับผลการเรยี นเฉลีย่ ดี ปานกลาง ตำ่ กวา่ เป้าหมาย วิชาคณติ ศาสตร์ ระดบั ๒.50 ขึ้นไป ๕.๔ นกั เรยี นรอ้ ยละ ๗๗ มรี ะดับผลการเรียนเฉล่ยี วิชาสงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ระดับ ๒.50 ดเี ลศิ ดเี ลิศ ตามเปา้ หมาย ขึน้ ไป ๕.๕ นักเรียนรอ้ ยละ ๗๔ มีระดบั ผลการเรียนเฉลีย่ ดเี ลศิ ดี ต่ำกว่าเป้าหมาย วชิ าภาษาองั กฤษ ระดับ ๒.50 ขน้ึ ไป ๕.๖ นกั เรยี นรอ้ ยละ ๙๐ มรี ะดับผลการเรยี นเฉล่ีย ดีเลิศ ยอดเย่ยี ม สูงกวา่ เปา้ หมาย วิชาสขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ระดับ 3.00 ข้นึ ไป ๕.๗ นกั เรยี นรอ้ ยละ ๙๐ มีระดับผลการเรียนเฉลย่ี ดเี ลิศ ยอดเย่ยี ม สูงกว่าเป้าหมาย วิชาศิลปะ ระดบั ๒.50 ข้นึ ไป ๕.๘ นักเรียนร้อยละ ๗๙ มีระดบั ผลการเรียนเฉล่ีย ดีเลศิ ดี ตำ่ กว่าเป้าหมาย วชิ าการงานอาชีพและเทคโนโลยี ระดับ 2.50 ข้ึนไป ๕.๙ นกั เรียนร้อยละ ๗๕ มีผลการเรียนเฉล่ยี ใน ดี ดี ตามเป้าหมาย ภาพรวม 2.๕๖ ขนึ้ ไป 6) มคี วามรู้ ทกั ษะพื้นฐาน และเจตคติทด่ี ีตอ่ ดเี ลศิ ดีเลศิ ตามเป้าหมาย อาชพี 6.1 ผู้เรยี นทุกคน ม.1 – ม.6 มคี วามรู้ ทกั ษะ ดเี ลศิ ดีเลิศ ตามเปา้ หมาย พ้ืนฐาน ต่ออาชีพอยา่ งน้อย 1 อาชพี 6.2 ผู้เรียนทกุ คน ม.1 – ม.6 มเี จตคติพร้อมท่ีจะ ดีเลิศ ดีเลิศ ตามเป้าหมาย ฝึกทักษาอาชีพจากแหลง่ เรยี นรใู้ นท้องถน่ิ 6.3 ผู้เรยี นทกุ คน ม.1 – ม.6 มที กั ษะในการทำงาน ดีเลศิ ดีเลิศ ตามเปา้ หมาย ทักษะอาชพี เพื่อการมงี านทำ 6.4 ผ้เู รียน รอ้ ยละ 75 มีความรูแ้ ละความสามารถ ดเี ลิศ ดีเลิศ ตามเป้าหมาย พิเศษในดา้ นกีฬา สรปุ ผลการประเมนิ ประเดน็ การพจิ ารณา ที่ 1.1 ระดับดเี ลิศ ดา้ นผลสัมฤทธท์ิ างวิชาการของผูเ้ รียน
11 รายงานการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) จากตารางที่ 1 แสดงผลการประเมินตนเอง มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรียนทั้ง 27 ประเด็น พิจารณา ด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ปีการศึกษา 2563 พบว่าผลการดำเนินการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ตำ่ กว่าเปา้ หมาย จำนวน 10 ประเดน็ พิจารณา ตามเป้าหมาย 7 ประเด็นพิจารณา สูงกว่าเป้าหมายจำนวน 10 ประเดน็ พจิ ารณา เม่อื พจิ ารณาโดยภาพรวมของการดำเนนิ งานแล้ว อยู่ในระดบั ดีเลิศ ตารางที่ 2 แสดงผลการประเมินตนเอง มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพผู้เรียน ปกี ารศกึ ษา 2563 1.2 คุณลกั ษณะที่พงึ ประสงคข์ องผู้เรยี น มีผลการประเมนิ ดังน้ี มาตรฐานที่ 1 ประเด็นการพิจารณา ท่ี 1.2 ระดบั คณุ ภาพ สรุปผลการประเมิน คณุ ลกั ษณะทพ่ี ึงประสงคข์ องผเู้ รยี น เปา้ หมาย ผลการประเมิน 1) มคี ุณลักษณะและค่านยิ มทดี่ ีตามท่ี ดีเลิศ ยอดเยี่ยม สูงกว่าเปา้ หมาย สถานศึกษากำหนด 1.1 ผเู้ รียนรอ้ ยละ 80 ผ่านการประเมิน ดีเลิศ ยอดเย่ยี ม สงู กว่าเป้าหมาย คณุ ลักษณะตามอตั ลกั ษณข์ องสถานศึกษา เร่อื ง ความมีระเบียบวนิ ัย ระดับดขี ้ึนไป ดีเลิศ ยอดเยยี่ ม สงู กวา่ เป้าหมาย 1.2 ผู้เรยี นทกุ คนรว่ มกจิ กรรม “ระเบยี บแถว แนวทหาร” ผ่านกจิ กรรมการเขา้ แถวหน้าเสาธง ดเี ลิศ ยอดเย่ยี ม สงู กว่าเปา้ หมาย 1.3 ผูเ้ รียนรอ้ ยละ 8๐ ผา่ นผลการประเมิน ดีเลศิ ยอดเย่ียม สงู กวา่ เป้าหมาย คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ตามหลกั สตู ร ระดบั ดี ดีเลิศ ยอดเย่ียม สงู กวา่ เป้าหมาย ข้ึนไป 2) มคี วามภูมิใจในทอ้ งถิน่ และความเปน็ ไทย ดีเลศิ ยอดเยีย่ ม สูงกว่าเป้าหมาย ยอดเย่ียม ยอดเย่ียม ตามเปา้ หมาย 2.1 ผเู้ รียนทกุ คน มคี วามภาคภมู ใิ จและเหน็ คุณคา่ ของงานป้นั พ้ืนบ้านสบื สานมรดกท้องถ่นิ ยอดเยย่ี ม ยอดเยีย่ ม ตามเปา้ หมาย บา้ นมะยงิ 2.2 ผ้เู รยี นทกุ คนมสี ว่ นรว่ มในการอนุรักษ์ วฒั นธรรม และประเพณี ประวัตศิ าสตรท์ อ้ งถ่ิน โมคลาน รวมทงั้ ภูมิปัญญาไทย 3) ยอมรับที่จะอย่รู ว่ มกันบนความแตกต่าง และหลากหลาย 3.1 ผเู้ รียนทุกคนยอมรับและอยูร่ ว่ มกันบนความ แตกตา่ งของ 2 ศาสนา (พุทธกับอิสลาม) ผา่ น กิจกรรมการเขา้ แถวหน้าเสาธง การทำกจิ กรรม 5ส กิจกรรมลูกเสอื ชุมนุม ทัศนศกึ ษา งาน ฟืน้ ฟโู บราณสถานโมคลาน วนั สำคญั ทางศาสนา ประเพณลี อยกระทง การแข่งขนั กฬี าของ โรงเรียนและชุมชน
12 รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) มาตรฐานท่ี 1 ประเด็นการพิจารณา ที่ 1.2 ระดับคุณภาพ คุณลักษณะทีพ่ ึงประสงคข์ องผ้เู รียน เป้าหมาย ผลการประเมิน สรปุ ผลการประเมนิ 4) มีสุขภาวะทางร่างกายและจิตสังคม ดเี ลิศ ดีเลิศ ตามเป้าหมาย 4.1 ผเู้ รยี น ม.1 – ม.3 รอ้ ยละ 96 มสี ุขภาพ ดีเลิศ ดเี ลศิ ตามเป้าหมาย กายตามเกณฑ์ของกรมอนามัย 4.2 ผเู้ รยี น ม.4 – ม.6 รอ้ ยละ 96 มี ดีเลิศ ดเี ลิศ ตามเปา้ หมาย สมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์ของกรมพลศึกษา 4.3 ผเู้ รียน ม.1 – ม.6 รอ้ ยละ 96 มวี ฒุ ภิ าวะ ดีเลศิ ดเี ลศิ ตามเปา้ หมาย ทางอารมณ์อยูใ่ นระดับดี 4.4 ผเู้ รียนทุกคน ผ่านการประเมินเพอื่ สงั คม ยอดเยยี่ ม ยอดเย่ียม ตามเปา้ หมาย สาธารณะประโยชน์ สรุปผลการประเมินมาตรฐานท่ี 1 ประเดน็ การพิจารณา ระดบั ยอดเยย่ี ม ท่ี 1.2 คณุ ลักษณะที่พึงประสงคข์ องผเู้ รียน จากตารางที่ 2 แสดงผลการประเมินตนเอง ตามมาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรียน ทั้ง 10 ประเดน็ พจิ ารณาดา้ นคุณลกั ษณะที่พงึ ประสงคข์ องผู้เรียน ปีการศกึ ษา 2563 พบว่า ผลการดำเนินการ พัฒนาคุณภาพผู้เรยี น ดา้ นคณุ ลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ของผู้เรยี น เปน็ ไปตามเป้าหมายจำนวน 5 ประเด็น พิจารณา สูงกว่าเป้าหมาย จำนวน 5 ประเด็นพิจารณา เมื่อพิจารณาโดยภาพรวมของการดำเนินงาน แล้ว อยใู่ นระดับยอดเย่ยี ม ตารางท่ี 3 แสดงผลการประเมินประเมนิ ตนเอง มาตรฐานท่ี 1 มาตรฐานที่ 1 ประเดน็ การพิจารณา สรปุ ผลการประเมิน รายประเดน็ ผลสมั ฤทธ์ทิ างวิชาการของผู้เรยี น ประกอบดว้ ย 6 ประเด็นพิจารณา ดีเลิศ 1) มีความสามารถในการอา่ น การเขียน การสื่อสาร และการคดิ คำนวณ ต่ำกว่าเปา้ หมาย ๒) มีความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ คดิ อยา่ งมวี ิจารณญาณ อภิปราย ตำ่ กว่าเปา้ หมาย แลกเปลีย่ นความคิดเห็นและแกป้ ัญหา 3) มคี วามสามารถในการสร้างนวัตกรรม สงู กวา่ เปา้ หมาย 4) มีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร ตำ่ กว่าเป้าหมาย 5) มีผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นตามหลักสูตรสถานศึกษา ตามเป้าหมาย 6) มีความรู้ ทักษะพืน้ ฐาน และเจตคติท่ีดีต่ออาชีพ ตามเป้าหมาย คุณลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์ของผ้เู รียน ยอดเยยี่ ม 1) มคี ุณลกั ษณะและค่านิยมท่ดี ตี ามท่สี ถานศึกษากำหนด สงู กว่าเปา้ หมาย 2) มคี วามภูมิใจในท้องถ่ินและความเป็นไทย สงู กว่าเป้าหมาย 3) ยอมรับท่จี ะอยรู่ ่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย ตามเป้าหมาย 4) มสี ุขภาวะทางร่างกายและจติ สงั คม ตามเปา้ หมาย สรุปผลการประเมินมาตรฐานท่ี 1 ยอดเยีย่ ม
13 รายงานการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) จากตารางที่ 3 แสดงผลการประเมินมาตรฐานที่ 1 คุณภาพผเู้ รียนทง้ั 10 ประเด็น พจิ ารณา ผลสมั ฤทธ์ิทางวิชาการและดา้ นคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคข์ องผูเ้ รยี น ปกี ารศึกษา 2563 พบว่า ผลการดำเนินการพัฒนาผู้เรียนและด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนเป็นไปตาม เป้าหมาย 4 ประเด็นพิจารณา สูงกว่าเป้าหมาย จำนวน 3 ประเด็นพิจารณา และต่ำกว่าเป้าหมาย จำนวน 3 ประเด็นพิจารณา เมื่อพิจารณาโดยภาพรวมของการดำเนินงานจะเห็นว่าสูงกว่าเป้าหมาย เพียงเล็กน้อย ๔. แผนการพัฒนาคุณภาพเพอ่ื ยกระดับให้สงู ขน้ึ จุดเดน่ จุดทค่ี วรพัฒนา ๑. นักเรียนโรงเรียนโมคลานประชาสรรค์ ๑. ส่งเสริมและพัฒนานักเรียนให้กล้า ได้รับการพฒั นาความสามารถดา้ นการปน้ั พน้ื บา้ นอย่าง แสดงออกในการนำเสนอ การอภิปราย การคิด ต่อเนื่องเป็นเวลา 21 ปี และเป็นวิทยากรด้านการ วเิ คราะห์สังเคราะห์ และการทำงานอยา่ งเปน็ ระบบ ประดิษฐ์และแข่งขันจรวดขวดน้ำเป็นเวลา 13 ปี เช่น การเรียนรู้แบบโครงงานให้มากขึ้นและเน้น ตลอดจนฝึกการมรี ะเบียบวนิ ยั จากกิจกรรมระเบียบ การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาระดับชาติ แถวแนวทหารหน้าเสาธง ข้นั พน้ื ฐาน (O-NET) ทุกรายวิชา ๒. นักเรียนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง ๒. ส่งเสริมและพัฒนานักเรียนโดยจัด มีส่วนสูงและน้ำหนักตามเกณฑ์ มีระเบียบวินัย กิจกรรมแก้ปัญหานักเรียนที่อ่านและเขียนไม่คลอ่ ง มีมารยาทที่ดี จนเป็นเอกลักษณ์ของสถานศึกษา ฝึกการคิดคำนวณทางคณิตศาสตร์ และการสื่อสาร เป็นที่ยอมรับของชุมชนและสังคม เคารพกฎกติกา ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบต่อหน้าที่ เช่น ดูแลเขต ๓ . ส ่ ง เ ส ร ิ ม แ ล ะ พ ั ฒ น า น ั ก เ ร ี ย น ใ ห ้ มี พ้นื ที่ทีร่ บั ผดิ ชอบ เข้าแถวซ้อื อาหาร ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ ๓. นักเรียนมีทักษะในการแข่งขันทาง อย่างหลากหลาย สามารถนำเสนอ อภิปรายและ วิชาการ ที่มีผลงานเชิงประจักษ์ ในด้านระดับเขต แลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่างสมเหตุสมผล และมีทักษะ พืน้ ทก่ี ารศึกษา ระดบั ภาค และระดับประเทศ ในการแก้ปญั หาตามสถานการณ์ได้อยา่ งเหมาะสม 4. ส่งเสริมและพัฒนานักเรียน โดยครูจัด กิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning ฝึกให้ นักเรียนได้ใช้ความรู้ความสามารถในการใช้ เทคโนโลยีในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง และ สื่อสารข้อมูลผ่านระบบเทคโนโลยีอย่าง สมเหตสุ มผล มาตรฐานที่ 1 คุณภาพผู้เรยี น
14 รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) ผลการทดสอบ O-NET ม.3 ปีการศึกษา 2562 - 2563 70.00 56.67 60.00 51.25 50.00 40.00 21.83 21.78 27.33 24.63 30.00 29.33 30.00 20.00 9.56 2.23 10.00 5.42 0.67 0.00 -10.00 -0.05 -0.23 -2.70 -10.96 -20.00 ปี 62 ปี 63 เพ่ิม/ลด ร้อยละเพ่มิ /ลด 51.25 ภาษาไทย 21.83 56.67 5.42 9.56 คณติ ศาสตร์ 27.33 วทิ ยาศาสตร์ฯ 29.33 21.78 -0.05 -0.23 ภาษาต่างประเทศ 24.63 -2.70 -10.96 30.00 0.67 2.23 ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตรฯ์ ภาษาต่างประเทศ ผลการทดสอบ O-NET ม.6 ปีการศึกษา 2562-2563 45.00 34.10 40.00 15.21 35.00 30.00 24.63 25.00 20.52 20.00 15.00 30.21 10.00 39.81 5.00 18.75 0.00 28.84 ภาษาไทย 22.53 คณิตศาสตร์ 30.62 วทิ ยาศาสตรฯ์ ภาษาต่างประเทศ 5.71 สงั คมศกึ ษา 3.54 4.63 2.01 0.40 14.34 18.88 16.05 8.92 1.31 ปี 62 ปี 63 เพ่ิม/ลด รอ้ ยละเพ่ิม/ลด 34.10 39.81 5.71 14.34 15.21 18.75 3.54 18.88 24.63 28.84 4.63 16.05 20.52 22.53 2.01 8.92 30.21 30.62 0.40 1.31 ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตรฯ์ ภาษาต่างประเทศ สงั คมศกึ ษา
15 รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการของผู้บริหารสถานศึกษา ๑. ระดบั คุณภาพ ยอดเยยี่ ม ๒. กระบวนการพฒั นา โรงเรียนโมคลานประชาสรรค์ ได้ดำเนินการกำหนดวิสยั ทัศน์ พันธกิจและเป้าหมายอย่างเป็น ระบบและเป็นขัน้ ตอน โดยมกี ารแต่งตงั้ คณะกรรมการการทำงาน การรวบรวมข้อมูลของโรงเรียน มีการ วิเคราะห์ SWOT ในการกำหนดจุดยืนของโรงเรียน กำหนดภาพความสำเร็จ ประเมินทบทวนและ ปรับปรุงแก้ไขอย่างต่อเนื่อง พร้อมทั้งจัดหาทรัพยากร จัดสรรงบประมาณ มอบหมายงานให้ ผู้รับผิดชอบดำเนินการ พัฒนาตามแผนงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้ มีการดำเนินการนิเทศ กำกับติดตาม ประเมินผล การดำเนินงานและสรุปผลการดำเนินงาน ส่งผลให้โรงเรียนมีวิสัยทัศน์ พันธกิจและเป้าหมายที่ชัดเจน สอดคล้องกบั บรบิ ทของสถานศึกษา สามารถปฏบิ ัติไดจ้ ริง โรงเรียนโมคลานประชาสรรค์ บริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา 3 ด้าน ได้แก่ ด้านการ บริหารสถานศึกษา ด้านการจัดการเรียนการสอน และด้านคุณภาพผู้เรียน โดยการบริหารสถานศึกษา จะใช้กระบวนการบริหารวงจรคุณภาพ (PDCA) ประกอบด้วย 1) การวางแผนการดำเนินงาน (Plan) 2) การปฏิบัตติ ามแผนการดำเนินงาน (Do) 3) การตรวจสอบการปฏิบตั ติ ามแผน (Check) และ 4) การ เรียนรู้และการปรับปรุงแก้ไข (Action) ด้านคุณภาพผู้เรียน มีการใช้กระบวนพัฒนาและส่งเสริม ศักยภาพผู้เรียนทางด้านวิชาการควบคู่กับการจัดระบบระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่เข้มแข็ง เพื่อให้ ผู้เรียน เก่ง ดี มีสุข และด้านการจัดการเรียนการสอน มีการใช้ระบบการนิเทศภายในและการใช้แหล่ง เรียนรู้ในท้องถิ่นบ้านมะยิง โดยใช้กลยุทธ์ “MOKKALAN MODEL” ในการยกระดับคุณภาพการเรียน การสอนอย่างมีประสิทธิภาพ นำไปสู่การเรียนรู้และการปรับปรุงแก้ไขพัฒนาคุณภาพตามแผนการ ดำเนินงานที่ได้วางไว้อย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง โดยใช้กระบวนการบริหารงานแบบมีส่วนร่วมทุก ขั้นตอน (Participation Management) ตามแนวทางศาสตร์พระราชา เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและ ประสิทธผิ ลสูงสุดต่อสถานศกึ ษา โรงเรียนโมคลานประชาสรรค์ ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนอย่างรอบด้าน ตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย โดยจัดทำหลักสูตรสถานศกึ ษาที่สอดคล้องกับหลักสตู ร แกนกลางการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน (ฉบับปรับปรงุ 2560) และสอดคล้องกับผู้เรียน จดั ทำหลักสูตรท้องถ่ิน งานป้ันพ้ืนบ้านมะยงิ ที่สอดคล้องกับบรบิ ทของท้องถ่ิน พฒั นาจนสามารถเปน็ แหล่งเรียนรู้ในการศึกษาดู งานของโรงเรยี นและหน่วยงานต่าง ๆ สร้างขวญั กำลังใจสำหรบั นักเรยี น และครูที่มีผลงานในระดับต่างๆ และจัดทำข้อตกลงกับหน่วยงานตา่ งๆ ท่สี ง่ เสริมการพฒั นาผ้เู รยี น โรงเรยี นโมคลานประชาสรรค์ สง่ เสริมและพฒั นาครตู ลอดจนบคุ ลากรให้มีความเชีย่ วชาญทาง วิชาชพี โดยครูทุกคนจดั ทำแผนพฒั นาตนเองและพัฒนาทางวิชาชพี อย่างน้อย 2 ครง้ั ตอ่ ปี เขียนรายงาน การประเมนิ ตนเอง (T-SAR) และปฏิบัติหน้าทต่ี ามเกณฑ์ท่ี กคศ. กำหนด โรงเรียนโมคลานประชาสรรค์ จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการ เรียนการสอน โดยจัดห้องเรียน แหล่งเรียนรู้ที่เพียงพอและเอื้อต่อการจัดการเรียนการสอน จัดให้มีส่ือ วัสดุ อุปกรณ์ที่เพียงพอต่อการจัดการเรียนการสอน จัดสภาพแวดล้อมและระบบสาธารณูปโภคท่ี เหมาะสมกับการเรียนการสอนและมีความปลอดภัย จัดบรรยากาศร่มรื่น สะอาด เป็นมิตรกับ สงิ่ แวดล้อม จัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพือ่ สนับสนนุ การบรกิ ารจัดการและการจดั การเรยี นรู้
16 รายงานการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) ๓. ผลการดำเนนิ งาน ข้อมลู หลักฐาน เอกสารเชิงประจักษ์ ตามตัวชี้วัด โรงเรียนโมคลานประชาสรรค์ ขอรายงานผลการประเมินตนเอง มาตรฐานที่ 2 กระบวนการ บรหิ ารและการจดั การ ปกี ารศกึ ษา 2563 ดังนี้ ตารางที่ 4 แสดงผลการประเมินประเมินตนเอง มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ปกี ารศกึ ษา 2563 มาตรฐานที่ 2 ประเดน็ การพิจารณา ระดบั คณุ ภาพ สรปุ ผลการ เปา้ หมาย ผลการประเมนิ ประเมนิ 2.1 มเี ป้าหมาย วสิ ัยทัศนแ์ ละพนั ธกจิ ที่ ยอดเยี่ยม ยอดเยี่ยม ตามเปา้ หมาย สถานศกึ ษากำหนดชดั เจน 2.1.1 มเี ป้าหมายวิสัยทศั น์ และพนั ธกิจที่ สถานศึกษากำหนดชดั เจน สอดคล้องกับบรบิ ทของ สถานศึกษา ความต้องการของชุมชน และท้องถน่ิ ยอดเย่ยี ม ยอดเยย่ี ม ตามเปา้ หมาย นโยบายรฐั แผนการศกึ ษาแห่งชาติ เป็นไปในการ ปฏบิ ตั ทิ ันตอ่ การเปล่ียนแปลง 2.2 มีระบบบริหารจดั การคุณภาพของสถานศกึ ษา ดเี ลศิ ยอดเย่ียม สงู กว่าเปา้ หมาย 2.2.1 โรงเรยี นใชร้ ะบบ PDCA ในการบรหิ ารจดั การ คุณภาพของสถานศึกษาทช่ี ัดเจนมปี ระสทิ ธภิ าพ สง่ ผลตอ่ คณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษาโดยความ ดเี ลิศ ดีเลศิ ตามเป้าหมาย ร่วมมอื ของผเู้ ก่ยี วขอ้ งทุกฝา่ ย มีการนำข้อมลู มาใชใ้ น การปรับปรุงพัฒนางานอย่างต่อเนือ่ ง 2.2.2 โรงเรยี นมรี ะบบดูแลช่วยเหลอื นกั เรียนท่ี ดีเลศิ ยอดเยยี่ ม สูงกว่าเปา้ หมาย เขม้ แข็ง 2.2.3 โรงเรียนมรี ะบบการนเิ ทศภายใน “MOKKALAN MODEL” ท่ใี ชย้ กระดับคุณภาพการ ยอดเยีย่ ม ยอดเย่ยี ม ตามเปา้ หมาย เรียนการสอนอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ 2.3 ดำเนนิ งานพัฒนาวชิ าการท่ีเนน้ คุณภาพ ผ้เู รียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุก ดีเลศิ ยอดเยี่ยม สงู กวา่ เป้าหมาย กลมุ่ เป้าหมาย ๒.๓.๑ โรงเรยี นมีหลักสูตรสถานศึกษาทสี่ อดคล้องกบั ดีเลศิ ดีเลศิ ตามเปา้ หมาย หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐานและผู้เรียน 2.3.2 โรงเรียนมีหลักสตู รท้องถ่ินงานปนั้ พื้นบ้านมะยงิ ยอดเยีย่ ม ยอดเยยี่ ม ตามเปา้ หมาย ท่ีสอดคล้องกับบริบทของท้องถน่ิ 2.3.3 โรงเรียนเป็นแหล่งเรียนรู้ในการศึกษาดูงาน ยอดเย่ียม ยอดเยยี่ ม ตามเป้าหมาย ของโรงเรยี นตา่ ง ๆ
17 รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) มาตรฐานที่ 2 ประเด็นการพิจารณา ระดบั คุณภาพ สรปุ ผลการ เป้าหมาย ผลการประเมิน ประเมนิ สูงกว่าเป้าหมาย 2.3.4 โรงเรียนมกี ารใหข้ วัญกำลงั ใจสำหรับ ดเี ลิศ ยอดเยี่ยม ตามเปา้ หมาย นักเรียนและครทู ม่ี ผี ลงานในระดับตา่ งๆ ตามเปา้ หมาย สงู กวา่ เปา้ หมาย 2.3.5 โรงเรยี นทำขอ้ ตกลงกับหน่วยงานตา่ งๆ ดีเลิศ ดีเลิศ ตามเป้าหมาย ที่สง่ เสรมิ การพฒั นาผเู้ รียน ตามเปา้ หมาย สูงกว่าเป้าหมาย 2.4 พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาใหม้ ี ยอดเย่ียม ยอดเยี่ยม ตามเป้าหมาย ความเช่ยี วชาญทางวิชาชพี ตามเปา้ หมาย ๒.๔.๑ ครูทกุ คนมแี ผนพฒั นาตนเองและไดร้ ับการ ดเี ลิศ ยอดเยย่ี ม สงู กวา่ เป้าหมาย พฒั นาทางวชิ าชพี อย่างน้อย 2 ครง้ั ตอ่ ปี สงู กว่าเป้าหมาย 2.4.2 ครทู ุกคนมรี ายงานการประเมินตนเอง ยอดเยีย่ ม ยอดเยย่ี ม (T-SAR) ตามเปา้ หมาย ๒.๔.3 ครูทุกคนผ่านการประเมนิ ผลงานจากการ ยอดเยยี่ ม ยอดเย่ียม ตามเป้าหมาย ปฏบิ ตั ิหน้าที่ตามเกณฑท์ ่ี กคศ. กำหนด ตามเป้าหมาย ระดับยอดเยย่ี ม 2.5 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและ ดีเลิศ ยอดเย่ียม สังคมทีเ่ อือ้ ต่อการจดั การเรยี นการสอน ๒.๕.๑ โรงเรียนมหี ้องเรียน แหล่งเรียนรู้ ที่ ดเี ลศิ ดีเลิศ เพียงพอ และเอ้ือต่อการจดั การเรยี นการสอน ๒.๕.๒ โรงเรยี นมีส่ือ วัสดุ อุปกรณท์ ี่เพียงพอ ดเี ลศิ ดเี ลิศ ตอ่ การจดั การเรียนการสอน ๒.๕.๓ โรงเรียนจัดสภาพแวดลอ้ มและระบบ สาธารณปู โภคที่เหมาะสมกับการเรยี นการสอน ดีเลิศ ยอดเยี่ยม ปลอดภัย 2.5.4 โรงเรยี นมบี รรยากาศ ร่มรื่น สะอาด ดีเลิศ ยอดเยย่ี ม เป็นมติ รกบั ส่งิ แวดล้อม 2.6 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพอื่ สนับสนุนการบริการจัดการและการจัดการ ดีเลิศ ดเี ลิศ เรียนรู้ ๒.๖.๑ โรงเรียนมีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่ ดีเลิศ ดเี ลิศ พร้อมในการบรหิ ารจัดการใหเ้ กิดคณุ ภาพ ๒.๖.๒ โรงเรียนมีระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศที่ ดเี ลิศ ดีเลศิ พรอ้ มในการจัดการเรียนการสอน สรปุ ผลการประเมนิ มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
18 รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) จากตารางที่ 4 แสดงผลประเมินมาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ปีการศึกษา 2563 พบว่า ผลการดำเนินการตามกระบวนการบริหารและการจัดการเป็นไปตาม เป้าหมาย 13 ประเด็นพิจารณา และสูงกว่าเป้าหมาย 5 ประเด็นพิจารณา เมื่อพิจารณาโดยภาพรวม ของการดำเนนิ งานแล้ว อยู่ในระดบั ยอดเย่ยี ม ผลการดำเนินงานในการกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจและเป้าหมายอย่างเป็นระบบและเป็น ขั้นตอน โดยมีการแต่งตั้งคณะกรรมการทำงาน การรวบรวมข้อมูลของโรงเรียน มีการวิเคราะห์ SWOT ศึกษาแผนการศึกษาแห่งชาติ นโยบายรัฐบาลและนโยบายต้นสังกัดเพื่อกำหนดเป้าหมาย ตัวชี้วัดและ มาตรฐานของโรงเรียน บนพื้นฐานบริบทของสถานศึกษาและสามารถปฏิบัติได้จริง ดังปรากฏใน แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนโมคลานประชาสรรค์ โดยขับเคลื่อนแต่ละประเด็นผ่าน โครงการและวัดความสำเร็จของโครงการและกิจกรรม โดยในปีการศึกษา 2563 โรงเรียนโมคลาน ประชาสรรค์ มีโครงการทั้งหมด 7 โครงการ (ประกอบด้วยกิจกรรมย่อย ๆ) ดำเนินการสำเร็จตาม เป้าหมายของโครงการ ทั้งสิ้น 7 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 100 มีตัวชี้วัดทั้งหมด 103 ตัวชี้วัด ซึ่งบรรลุ 103 ตัวชี้วัด คิดเป็นร้อยละ 100 และสามารถสรุปเป็นร้อยละความสำเร็จของ แผนกลยุทธ์ของโรงเรียนโมคลานประชาสรรค์ ซึ่งพบว่าโรงเรียนโมคลานประชาสรรค์ มีค่า รอ้ ยละความสำเร็จของแผนพัฒนาการศึกษาสงู กว่าค่าเปา้ หมายที่กำหนดไว้ ผลการบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา 3 ด้าน ได้แก่ ด้านการบริหารสถานศึกษา ด้านการจัดการเรียนการสอน และด้านคุณภาพผู้เรียน โดยการบริหารสถานศึกษาจะใช้กระบวนการ บริหารวงจรคุณภาพ (PDCA) ประกอบด้วย 1) การวางแผนการดำเนินงาน (Plan) 2) การปฏิบัติตาม แผนการดำเนินงาน (Do) 3) การตรวจสอบการปฏิบัติตามแผน (Check) และ 4) การเรียนรู้และการ ปรับปรุงแก้ไข (Action) และด้านคุณภาพผู้เรียน มีการใช้กระบวนพัฒนาและส่งเสริมศักยภาพผู้เรียน ทางด้านวิชาการควบคู่กับการจัดระบบระบบดูแลช่วยเหลอื นักเรยี นที่เข้มแข็ง เพอื่ ใหผ้ เู้ รยี น เก่ง ดี มีสุข และด้านการจัดการเรียนการสอน มีการใช้ระบบการนิเทศภายใน “MOKKALAN MODEL” ในการ ยกระดับคุณภาพการเรยี นการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ นำไปส่กู ารเรียนร้แู ละการปรับปรุงแก้ไขพัฒนา คุณภาพตามแผนการดำเนินงานที่ได้วางไว้อย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง โดยใช้กระบวนการบริหารงาน แบบมีส่วนร่วมทุกขั้นตอน (Participation Management) ตามแนวทางศาสตร์พระราชา เพื่อให้เกิด ประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธิผลสูงสุดตอ่ สถานศกึ ษา ประกอบกับผลการดำเนินงานด้านการพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนอย่างรอบด้านตาม หลักสูตรสถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย โดยโรงเรยี นมีหลักสูตรสถานศกึ ษาที่สอดคล้องกับหลักสตู ร แกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน (ฉบับปรับปรุง 2560) และสอดคล้องกับผู้เรียน มีหลักสูตรทอ้ งถิน่ งาน ปั้นพื้นบ้านมะยิงที่สอดคล้องกับบริบทของท้องถิ่น จนทำให้เป็นหลักสูตรท้องถิ่นต้นแบบที่มี ประสิทธิภาพ ส่งผลให้โรงเรียน นักเรียนและชุมชน ได้รับรางวัลเชิงประจักษ์ระดับหน่วยงาน เขตพื้นท่ี ระดับภาค ระดับประเทศ หลากหลายรายการ สรุปดงั น้ี 1. โรงเรียนได้รับรางวัลเหรียญทองแดง หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม ประจำปี 2563 ระดบั ประเทศ เร่อื ง การใชแ้ หลง่ เรียนรู้ในท้องถิ่นบ้านมะยิงเพ่ือการจัดการศึกษา ในโรงเรยี นโมคลานประชาสรรค์ โดยใช้กลยุทธ์ Mokkalan Model (เลขที่ 4/2563)
19 รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) 2. โรงเรียนผ่านการคัดเลือกผลงาน รางวัลทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ด้าน สถานศึกษายอดเยี่ยมขนาดเล็ก การจัดการศึกษาโรงเรียนสุขภาวะระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ด้าน นวตั กรรมและเทคโนโลยี ระดบั ภูมิภาค คร้งั ท่ี 10 ผลการดำเนินงานด้านการพัฒนาครูและบุคลากรให้ความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ โดยโรงเรียน จัดสรรงบประมาณที่เพียงพอและส่งเสริมสนับสนุนให้ครูได้มีโอกาสพัฒนาตนเอง ทั้งการอบรม การศึกษาดูงานและการประชุม สัมมนา โดยมีโครงการยกระดบั สมรรถนะการปฏิบัติงานของบคุ ลากร ท่ี ประกอบด้วยกิจกรรมการอบรมสัมมนาของครูและบุคลากร กิจกรรมการศึกษาดูงานและกิจกรรมสร้าง ขวัญกำลังใจ สนับสนุนให้ครูได้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ โดยจำแนกตามจำนวนชั่วโมงที่ได้รับการ พัฒนาเพื่อและเปลี่ยนเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา มีครูทำผลงานเพื่อขอมีและเลื่อนวิทย ฐานะเชี่ยวชาญ 1 คน โดยในปัจจุบันครู จำนวน 13 คน มีวิทยฐานะชำนาญการ 2 คน คิดเป็นร้อยละ 15.38 และมีวิทยฐานะชำนาญการพิเศษ 9 คน คิดเป็นร้อยละ 69.23 นอกจากนี้จากการประเมิน ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของครู รอบที่ 1 ของในปีการศึกษา 2564 พบว่าครูทุกคนมีผลการ ประเมินระดับดีเด่น อีกทั้งครูทุกคนมีแผนพัฒนาตนเองและพัฒนาทางวิชาชีพอย่างน้อย 2 ครั้งต่อปี รายงานการประเมินตนเอง (T-SAR) และปฏิบัติหน้าที่ตามเกณฑ์ที่ กคศ. กำหนดแสดงให้เห็นถึง ประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการดำเนินงานด้านการบริหารจัดการท่ีส่งผลต่อครแู ละนำไปสู่คุณภาพ ผเู้ รียน ผลงานเชิงประจกั ษ์ สรุปดงั น้ี 1. นางวิมพ์วิภา รักสม ได้รับรางวัลเหรียญทองแดง หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม ประจำปี 2563 ระดับประเทศ เรื่อง การใช้แหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่นบ้านมะยิงเพื่อการจัดการศึกษาในโรงเรียน โมคลานประชาสรรค์ โดยใช้กลยุทธ์ Mokkalan Model (เลขท่ี ปท.ผส. 4/2563) 2. นางสิรวิ รรณ มณีโชติ ผา่ นการคัดเลือกผลงาน รางวัลทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ดา้ นผู้บริหารสถานศึกษายอดเยี่ยม ระดบั มัธยมศกึ ษาขนาดเล็ก ด้านบรหิ ารจัดการ ระดับภูมภิ าค คร้ังท่ี 10 3. นายธรรมรัตน์ วงศ์สุวรรณ ได้รับรางวัลเหรียญทองแดง หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม ประจำปี 2563 ระดับประเทศ ผพู้ ฒั นานวัตกรรม เร่ือง การใชแ้ หลง่ เรยี นรู้ในท้องถิ่นบา้ นมะยงิ เพ่ือการ จัดการศึกษา ในโรงเรียนโมคลานประชาสรรค์ โดยใช้กลยุทธ์ Mokkalan Model (เลขที่ ปท. 23/2563) 4. นางสลุ พี ร วงศส์ วุ รรณ ได้รับรางวัลเหรยี ญทองแดง หนึ่งโรงเรียน หน่ึงนวัตกรรม ประจำปี 2563 ระดับประเทศ ผู้พัฒนานวัตกรรม เรื่อง การใช้แหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่นบ้านมะยิงเพื่อการจัด การศกึ ษา ในโรงเรยี นโมคลานประชาสรรค์ โดยใช้กลยทุ ธ์ Mokkalan Model (เลขท่ี ปท. 24/2563) 5. นายอุดมศักดิ์ จันทร์จำปา ผ่านการคัดเลือกรางวัลทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ด้านครูผู้สอนยอดเยี่ยม ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ ด้านบริหารจัดการ ระดับ ภูมิภาค ครั้งที่ 10 6. นายธรรมรัตน์ วงศ์สุวรรณ ผ่านการคัดเลือกรางวัลทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ด้านครูผู้สอนยอดเยี่ยม Active Teacher ระดับมัธยมศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ด้านนวัตกรรม และเทคโนโลยีเพื่อการเรยี นการสอน ระดับภูมภิ าค ครง้ั ที่ 10
20 รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) 7. นางสาวศลัยฉัตร ยีหมัน นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ได้รับรางวัล Popular Vote การ แข่งขันประกวดเรยี งความวิทยาศาสตร์ในหัวข้อ “ขยะทะเลกบั วกิ ฤติทะเลไทย 8. นางสาวภัทราภรณ์ ชมุ ศรี นักเรยี นชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 ได้รับรางวัล Popular Vote การ แขง่ ขันประกวดเรยี งความวทิ ยาศาสตรใ์ นหัวขอ้ “ขยะทะเลกบั วิกฤตทิ ะเลไทย 9. รางวลั นกั เรียนในการแข่งขันจรวดขวดนำ้ ระดับหน่วยงาน ระดบั ภาคและระดบั ประเทศ โรงเรียนโมคลานประชาสรรค์ มีสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการ เรียนการสอน โดยจัดห้องเรียน แหล่งเรียนรู้ที่เพียงพอและเอื้อต่อการจัดการเรียนการสอน มีสื่อ วัสดุ อปุ กรณท์ เ่ี พียงพอต่อการจัดการเรียนการสอน มสี ภาพแวดล้อมและระบบสาธารณปู โภคที่เหมาะสมกับ การเรียนการสอนมีความปลอดภัย จัดบรรยากาศร่มรื่น สะอาด เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและจัดระบบ เทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่อื สนับสนุนการบริการจดั การและการจัดการเรยี นรู้ ๔. แผนการพฒั นาคณุ ภาพเพือ่ ยกระดบั ให้สงู ขึ้น จดุ เดน่ จุดทค่ี วรพัฒนา ๑. โรงเรียนมีการดำเนินการพัฒนาคุณภาพ ๑. พัฒนาองค์กรสู่ความเป็นเลิศ โดยใช้ การศึกษาแบบมีส่วนร่วม มีการกำหนดวิสัยทัศน์ กระบวนการมสี ่วนร่วมของผเู้ ก่ียวข้องทุกภาคส่วน พนั ธกิจ เป้าหมายทีช่ ัดเจน มีนำไปส่กู ารปฏิบัติท่ี 2. พัฒนารูปแบบการประชุมและแลกเปลี่ยน มปี ระสทิ ธภิ าพและประสิทธผิ ล เรียนรู้ให้เกิดประโยชน์ที่เป็นรูปธรรมและนำไปสู่ ๒. โรงเรียนมีนวัตกรรมทางการบริหารและการ การปฏบิ ัตไิ ด้ จัดการในการพฒั นาการจดั การเรียนการสอนของ ครอู ยา่ งเป็นระบบ ๓. โรงเรียนมีหลักสูตรท้องถิ่นที่เป็นต้นแบบและ เหมาะสมกบั บริบทในทอ้ งถนิ่ ๔. โรงเรียนมีผลงานเชิงประจักษ์ ทั้งในด้าน สถานศึกษา ผู้เรียน ครูและผู้บริหาร ทั้งในระดับ จงั หวดั ระดับภาค และระดับชาติ 5.โรงเรียนมีการพัฒนากระบวนการนิเทศ กำกับ ติดตามและกระบวนการให้ข้อมูลป้อนกลับเพ่ือ การพัฒนาที่ชดั เจน มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ
21 รายงานการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนทเ่ี น้นผูเ้ รยี นเป็นสำคญั ๑. ระดบั คณุ ภาพ ยอดเยีย่ ม ๒. กระบวนการพัฒนา โรงเรียนโมคลานประชาสรรค์ ดำเนินการพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้น ผู้เรียนเป็นสำคัญด้วยวิธีการที่หลากหลาย โดยมุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนให้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ ของ โรงเรียนที่วา่ “จดั การศึกษาเพ่ือพฒั นาผู้เรยี นให้มีคณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน โดยชุมชน มีส่วนร่วมตามแนวทางศาสตร์พระราชา ส่งผลให้กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็น สำคัญ อยู่ในระดับดีเลิศ โดยส่งเสริมครูให้จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญแบบ Active Learning ด้วยเทคนิควิธีการที่หลากหลาย การเรียนรู้แบบใช้เกม การเรียนรู้แบบแผนผังความคิด (Concept Mapping) การสอนแบบโครงงาน (Project based Learning) การสอนแบบใช้ปัญหาเป็น ฐาน (Problem based Learning) การจัดการเรียนรู้แนวสะเต็มในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อพัฒนากระบวนการคิด นักเรียนได้ปฏิบัติจริงผ่านการจัดกิจกรรม OPEN HOUSE เปิดบ้านวัน วิชาการ ชวนน้องมอง มส.) นักเรียนสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ตลอดจน พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาโดยให้นักเรียนได้มีส่วนร่วมในการเลือกแผนการเรียนและรายวิชาเพิ่มเติม ท่ีตรงกับความตอ้ งการและความสนใจ กำหนดกจิ กรรมใหน้ ักเรียนรูจ้ ักการคน้ ควา้ ด้วยตนเอง การสอน แบบบูรณาการโดยใช้แหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่น การพัฒนาและใช้สื่อการเรียนการสอน นวตั กรรมและเทคโนโลยี การวัดและประเมินผลตามสภาพจรงิ ดว้ ยเคร่ืองมือและวิธีการที่สอดคล้องกับ ตัวชี้วัดผลการเรียนรู้ของหลักสูตร สนับสนุนการใช้เทคโนโลยีเพื่อยกระดับคุณภาพการเรียนการสอน ตลอดจนการวจิ ยั ในชัน้ เรยี น ส่งเสริมให้ครูใช้สื่อการเรียนรู้ที่หลากหลาย ทั้งสื่อของจริง สื่อสิ่งพิมพ์และสื่อมัลติมีเดี ย เอกสารประกอบการเรียนรู้ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ ด้วยการจัดทำสื่อมลั ตมิ ีเดีย การใช้ ICT การสืบค้นข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต และจัดกิจกรรม การเรียนร้โู ดยใช้ภูมิปญั ญาและแหล่งเรียนรู้ในท้องถ่นิ ส่งเสริมให้ครูที่ปรึกษา และครูผูส้ อนทุกคน บริหารชัน้ เรียนด้วยการสรา้ งวินัยเชิงบวก โดย การเสริมแรง มอบรางวัล ยกย่อง ชมเชย ให้กำลังใจนักเรียน ตลอดจนสร้างบรรยากาศที่อบอุ่น มปี ฏสิ ัมพนั ธ์เชิงบวก เพอื่ จงู ใจผเู้ รียนให้รักการเรียรแู้ ละเรยี นร้อู ยา่ งมีความสขุ ครูตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ โดยการวัดผลประเมินผลตามสภาพจริง ด้วยเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพ โดยจัดทำข้อสอบจากการวางแผนการสร้างแบบทดสอบ ( Test Blueprint) และหาค่า IOC ของข้อสอบ ใช้วิธีการวัดผลประเมินผลที่หลากหลาย ด้วยการสังเกต สอบถาม การประเมินผลงาน ชิ้นงาน และนำผลการประเมินมาพัฒนากระบวนการจัดการเรียน การสอน การทำวจิ ัยในชั้นเรยี น เพ่อื พฒั นาผเู้ รยี นให้มคี ณุ ภาพตามมาตรฐานกำหนด ครูมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ด้วยกระบวนการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ PLC การนิเทศ ชั้นเรียน และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ของคุณครู โดยจัดตาราง PLC ทุกวนั พธุ ของแตล่ ะสปั ดาห์
22 รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) ๓. ผลการดำเนินงาน ข้อมูล หลกั ฐาน เอกสารเชิงประจกั ษ์ ตามตัวชวี้ ัด โรงเรียนโมคลานประชาสรรค์ ขอรายงานผลการประเมินตนเอง มาตรฐานที่ 3 กระบวนการ จัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรยี นเป็นสำคัญ ประกอบดว้ ย 5 ประเดน็ พิจารณาดงั น้ี ตารางท่ี 5 แสดงผลการประเมินประเมินตนเอง มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่ีเน้น ผเู้ รยี นเป็นสำคัญ ปกี ารศึกษา 2563 มาตรฐานท่ี 3 ประเด็นการพิจารณา ระดบั คณุ ภาพ สรปุ ผล กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทีเ่ น้นผเู้ รียน เป้าหมาย ผลการประเมิน การประเมนิ เปน็ สำคัญ ดเี ลศิ ยอดเย่ียม สงู กว่าเป้าหมาย 3.1 จดั การเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและการ ดีเลิศ ยอดเยี่ยม สูงกว่าเปา้ หมาย ปฏิบัตจิ ริง และสามารถนำไปประยุกต์ใชใ้ น ชีวิตประจำวันได้ ดเี ลิศ ยอดเยี่ยม สงู กว่าเปา้ หมาย ดีเลิศ ยอดเยย่ี ม สูงกวา่ เป้าหมาย 3.1.1 ครูทกุ คนวเิ คราะห์หลักสูตรออกแบบ หน่วยการเรยี นร้ทู ่ีสอดคล้องกับมาตรฐานการ ดเี ลิศ ยอดเยี่ยม สงู กวา่ เป้าหมาย เรยี นรแู้ ละตัวชี้วัด และผลการเรยี นรทู้ ่สี อดคล้อง กบั บรบิ ทของสถานศึกษาตามความถนดั และ ดเี ลศิ ยอดเย่ยี ม สูงกวา่ เป้าหมาย บริบทของผู้เรยี น ดเี ลิศ ดีเลศิ ตามเป้าหมาย 3.1.2 ครทู กุ คนจดั ทำแผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ เน้นกระบวนการคดิ และปฏิบัติจรงิ (Active Learning) 3.1.3 ครูทกุ คนมีรปู แบบการจดั การเรียนรู้อยา่ ง นอ้ ย 2 รปู แบบต่อ 1 ภาคเรียน 3.1.4 ครสู ามารถจัดกจิ กรรมให้ผเู้ รียนไดร้ ับการ ฝกึ ทักษะ กลา้ แสดงออก แสดงความคดิ เห็น สรปุ องคค์ วามรนู้ ำเสนอผลงานและสามารถ นำไปประยุกตใ์ ช้ในชวี ิตได้ 3.1.5 ครมู นี วัตกรรมการจัดการเรียนรู้และมี การเผยแพรผ่ ลงานอยา่ งต่อเนื่อง 3.1.6 ครูสามารถสร้างนวตั กรรมจนได้รบั รางวัล ระดบั ประเทศ/ชาติ
23 รายงานการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) มาตรฐานท่ี 3 ประเด็นการพิจารณา ระดบั คณุ ภาพ สรปุ ผลการประเมิน กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทีเ่ นน้ ผเู้ รยี น เป้าหมาย ผลการประเมิน สงู กว่าเป้าหมาย เป็นสำคัญ ดีเลิศ ยอดเย่ียม 3.2 ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่ง สงู กวา่ เป้าหมาย เรียนรทู้ ีเ่ ออื้ ตอ่ การเรยี นรู้ ดเี ลศิ ยอดเยย่ี ม 3.2.1 ครทู กุ คนใชส้ อ่ื การสอน ส่ือเทคโนโลยี สูงกวา่ เปา้ หมาย สารสนเทศในการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ที่ ดีเลศิ ยอดเย่ียม ตามเป้าหมาย สอดคล้องตามมาตรฐานและตัวชี้วัด ดีเลิศ ดีเลิศ ตามเป้าหมาย 3.2.2 ครูทุกคนใช้กระบวนจัดการเรียนการรู้ แบบ Active Learning ยอดเยี่ยม ยอดเย่ยี ม ตามเป้าหมาย 3.2.3 ครูทกุ คนผลติ สื่อการสอน สูงกว่าเป้าหมาย 3.2.4 ครูทกุ กลุม่ สาระการเรียนรู้บรู ณาการ ดีเลศิ ดเี ลศิ สูงกวา่ เปา้ หมาย แหลง่ เรยี นร้แู ละภูมปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ งานป้นั บ้าน ดีเลิศ ยอดเย่ียม มะยิงกับการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน สูงกว่าเป้าหมาย 3.2.5 ครูทกุ คนส่งเสริมให้ผูเ้ รียนไดแ้ สวงหา ดเี ลศิ ยอดเยี่ยม สูงกว่าเปา้ หมาย ความร้ดู ว้ ยตนเองจากสอื่ ที่หลากหลาย ตามเปา้ หมาย 3.3 มีการบริหารจดั การชนั้ เรียนเชงิ บวก ดเี ลิศ ยอดเย่ียม ตามเป้าหมาย ดีเลิศ ยอดเยี่ยม ตามเปา้ หมาย 3.3.1 ครูทกุ คนจดั บรรยากาศในชั้นเรียนใหเ้ อื้อ ยอดเยย่ี ม ยอดเยี่ยม ตามเป้าหมาย ตอ่ การเรียนรู้ และสร้างแรงจูงใจแกน่ ักเรยี นให้ ดเี ลศิ เกิดการเรยี นรู้ ดีเลิศ ดเี ลิศ ตามเป้าหมาย 3.3.2 ครทู ุกคนเปดิ โอกาสให้นักเรียนมสี ว่ นร่วม ดีเลศิ ดเี ลศิ ในการจดั การเรียนรู้ ดเี ลศิ 3.3.3 ครแู ละนกั เรยี นร่วมกันกำหนดข้อตกลง ในการจดั การเรยี นรู้ ดีเลศิ ดีเลิศ 3.3.4 ครทู กุ คนนำระบบดแู ลช่วยเหลือนักเรียน มาใช้ในการพัฒนาผูเ้ รียน 3.4 ตรวจสอบและประเมินผู้เรยี นอยา่ งเป็น ระบบ และนำผลมาพฒั นาผู้เรยี น 3.4.1 ครูมีการวิเคราะหผ์ ู้เรียนเปน็ รายบุคคล 3.4.2 ครูทุกคนมีเครื่องมือการวดั และ ประเมินผลที่หลากหลาย มีคุณภาพ เปน็ ระบบ ให้ข้อมูลสะท้อนกลับและนำผลมาพฒั นาผเู้ รียน 3.4.3 ครทู ุกคนมีการประเมินผ้เู รยี นตามสภาพ จริงหลากหลายและสอดคลอ้ งตามมาตรฐานและ ตัวช้ีวดั
24 รายงานการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) มาตรฐานที่ 3 ประเดน็ การพิจารณา ระดับคณุ ภาพ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนที่เน้นผู้เรียน เป้าหมาย ผลการประเมนิ สรุปผลการประเมิน เปน็ สำคญั 3.5 มีการแลกเปลยี่ นเรียนรแู้ ละให้ข้อมูล สะท้อนกลบั เพือ่ พัฒนาและปรบั ปรุงการจัดการ ดีเลิศ ดเี ลศิ ตามเปา้ หมาย เรยี นรู้ 3.5.1 ครทู ุกคนรว่ มแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ รวมทัง้ ปัญหาท่พี บจากการจัดการเรียนการสอน ผา่ น ดเี ลศิ ดีเลิศ ตามเปา้ หมาย กระบวนการชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้ PLC 3.5.2 ครูและผมู้ สี ่วนเกีย่ วขอ้ งร่วมแลกเปล่ียน ประสบการณ์ และให้ขอ้ มลู สะท้อนกลบั เพือ่ ดเี ลศิ ดเี ลิศ ตามเป้าหมาย พัฒนาการจดั การเรยี นรู้ 3.5.3 ครูทกุ คนไดร้ ับการนิเทศภายใน อยา่ ง ยอดเย่ียม ยอดเยีย่ ม ตามเป้าหมาย นอ้ ยภาคเรียนละ 1 คร้ัง สรุปผลการประเมินมาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียน ระดับยอดเยี่ยม การสอนท่ีเนน้ ผู้เรียนเป็นสำคัญ จากตารางที่ 5 แสดงผลประเมินมาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่ีเน้นผู้เรยี น เป็นสำคัญ ปีการศึกษา 2563 พบว่า ผลกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เป็นไปตามเป้าหมาย 11 ประเด็นพิจารณา และสูงกว่าเป้าหมาย 10 ประเด็นพิจารณา เมื่อพิจารณา โดยภาพรวมของการดำเนนิ งานแล้ว อยใู่ นระดบั ยอดเย่ยี ม ๔. แผนการพฒั นาคุณภาพเพอ่ื ยกระดับให้สูงขึ้น จุดเดน่ จดุ ท่คี วรพัฒนา ๑. ครูมีความตั้งใจ ทุ่มเท เสียสละในการปฏิบัติงาน มีการ ๑. โรงเรียนพัฒนานักเรียนรายบุคคลและราย พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการ กลุ่มสร้างแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์อย่างต่อเนื่องเพ่ือ ปฏบิ ัติงาน ยกระดับคณุ ภาพนกั เรียนให้สูงยงิ่ ขึน้ ทุกกลุ่มสาระ ๒. ครูมีการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มีการจัดการชั้นเรียนเชิงบวก มีการพัฒนานวัตกรรมที่เหมาสม ๒. การพัฒนานวัตกรรมเพื่อช่วยแก้ปัญหา ต่อผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้และนำประสบการณ์ไปใช้ใน นักเรียนที่บกพร่องทางการเรียนรู้และส่งเสริมให้ ชวี ติ ประจำวันอย่างเหมาะสม นักเรยี นได้เรียนรูอ้ ยา่ งเต็มศักยภาพ ๓. ครูมีระบบการดูแลช่วยเหลอื นักเรียนเปน็ รายบคุ คลอย่าง ๓. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อ เข้มแข็ง และมีระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนกลุ่มเสี่ยงแบบ พัฒนาสมรรถนะสำคัญ การอ่าน คิดวิเคราะห์และ คสู่ ญั ญา ดูแลให้นักเรียนทำกจิ กรรมบำเพญ็ ประโยชนใ์ นโรงเรยี น การเขียนของผเู้ รียน 4. ครูทุกคนได้รับการนิเทศจากผู้บริหารทุกด้าน โดยเฉพาะ อย่างย่ิงด้านการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนในชนั้ เรียน 5. ครูทุกคนนำภูมิปัญญาท้องถิ่นเครื่องปั้นดินเผามาเขียน แผนบรู ณาการ
25 รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) ครทู ่ไี ด้รบั การนิเทศการสอน ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2563 (คิดเป็นร้อยละ) 120 100 100 100 100 100 100 100 100 100 80 60 40 20 0 การนเิ ทศการสอน วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ภาษาไทย สังคมศกึ ษา สุขศึกษา ภาษาตา่ ง ศลิ ปะ การงานอาชพี วทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ ภาษาไทย สงั คม สขุ ภาษาตา่ ง ศลิ ปะ การงาน ศึกษา ศึกษา ประเทศ อาชพี จำนวนครู 4 2 2 2 1 31 1 ครทู ี่ได้รับการนเิ ทศการสอน ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2563 (คดิ เป็นร้อยละ) 120 100 100 100 100 100 100 100 100 100 80 60 40 20 0 การนิเทศการสอน วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ภาษาไทย สงั คมศึกษา สุขศกึ ษา ภาษาต่าง ศิลปะ การงานอาชีพ มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่ีเนน้ ผ้เู รียนเปน็ สำคัญ
26 รายงานการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) มาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษาโดยรวม ๑. ระดบั คณุ ภาพ ยอดเย่ียม ๒. กระบวนการพัฒนา โรงเรียนมีกระบวนการพัฒนาผู้เรียนด้วยวิธีการที่หลากหลาย เน้น “การจัดการศึกษาต้อง เป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทย ให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้และคุณธรรมมี จรยิ ธรรมและวัฒนธรรมในการดำรงชวี ิต สามารถอยู่รว่ มกันกับผู้อน่ื ได้อยา่ งมีความสุข” และมุ่งพัฒนา ผเู้ รยี นให้เปน็ คนดี มีปัญญา มคี วามสุข มศี กั ยภาพในการศึกษาตอ่ และการประกอบอาชีพ โรงเรียนได้บริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา 3 ด้าน ได้แก่ ด้านการบริหารสถานศึกษา ด้านการจัดการเรียนการสอน และด้านคุณภาพผู้เรียน โดยการบริหารสถานศึกษาจะใช้กระบวนการ บริหารวงจรคุณภาพ (PDCA) มีการใช้กระบวนพัฒนาและส่งเสริมศักยภาพผู้เรียนทางด้านวิชาการ ควบคู่กับการจัดระบบระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่เข้มแข็ง เพื่อให้ผู้เรียน เก่ง ดี มีสุข และด้านการ จดั การเรยี นการสอน มีการใช้ระบบการนเิ ทศภายในและการใช้แหล่งเรยี นรู้ในท้องถ่นิ บ้านมะยิง โดยใช้ กลยุทธ์ “MOKKALAN MODEL” ในการยกระดับคุณภาพการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ นำไปสู่การเรียนรู้และการปรับปรุงแก้ไขพัฒนาคุณภาพตามแผนการดำเนินงานที่ได้วางไว้อย่างเป็น ระบบและตอ่ เน่อื ง โรงเรียนได้ดำเนินการส่งเสริมและสนับสนุนให้ครูจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยส่งเสริมและสนับสนุนให้ครูจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ที่ยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ ศึกษานักเรียน เป็นรายบุคคล จัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อเทคโนโลยี (ICT) จัดการเรียนรู้ควบคู่กับการปฏิบัติจริง จัดกิจกรรม การเรียนรู้ร่วมกับชุมชน ส่งเสริมให้ครูวัดและประเมินผลตามสภาพจริงโดยใช้เครื่องมือ อย่างหลากหลาย และพัฒนาเครื่องมือวัดประเมินผลที่ส่งเสริมและพัฒนานักเรียนที่สอดคล้องกับ ศกั ยภาพนักเรยี น ๓. ผลการดำเนินงาน ข้อมลู หลักฐาน เอกสารเชงิ ประจกั ษ์ ตามตวั ชี้วดั นกั เรียนมคี วามรู้ความสามารถในการอ่าน การเขยี น การส่อื สาร และการคิดคำนวณตามเกณฑ์ ในแต่ละระดับชั้น มีความก้าวหน้าทางการเรียนตามหลักสูตร มีสุขภาพทั้งร่างกายและจิตใจที่ดี เหมาะสมกับวัยและมีความรู้ ความสามารถด้านการสื่อสาร การแก้ปัญหา การคิดวิเคราะห์ การคิดค้น นวัตกรรม มีเจตคติที่ดีต่องานอาชีพ โดยสถานศึกษามีการกำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์และพันธกิจท่ี สอดคล้องกับสภาพปญั หา ความตอ้ งการพฒั นาของสถานศกึ ษา ความต้องการของชุมชน ทอ้ งถนิ่ และ สอดคลอ้ งกับแนวทางการปฏิรปู ตามแผน การศึกษาชาติ จดั ทำแผนพฒั นาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบตั ิการประจำปีทส่ี อดคล้องกบั การพฒั นาผู้เรียน มีการพฒั นาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้ มีความรู้ความเชี่ยวชาญตามมาตรฐานตำแหน่ง พัฒนานวัตกรรมสู่การปฏิบัติที่เป็นเลิศ มีการนิเทศ กำกับติดตามและประเมินผล กำหนดให้มีการประชุมติดตามการดำเนินงานเป็นระยะการแลกเปลีย่ นรู้ เพอื่ การพฒั นาท่ีเหมาะสมเป็นระบบและต่อเนื่อง มีการบรหิ ารและการจัดการเชิงระบบ โดยมุ่งพัฒนา กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญด้วยวิธีการที่หลากหลาย โดยมุ่งเน้นพัฒนา ผู้เรียนให้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของโรงเรียนที่ว่า “จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตาม มาตรฐานการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน โดยชุมชนมสี ว่ นร่วมตามแนวทางศาสตรพ์ ระราชา”
27 รายงานการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) ๔. แผนการพฒั นาคุณภาพเพอ่ื ยกระดบั ให้สูงขน้ึ จดุ เด่น จุดทคี่ วรพัฒนา ดา้ นคุณภาพผเู้ รยี น ด้านคุณภาพผู้เรียน ๑. นักเรียนโรงเรียนโมคลานประชาสรรค์ได้รับการ ๑. ส่งเสริมและพัฒนานักเรียนให้กล้าแสดงออกในการ พฒั นาความสามารถดา้ นการปนั้ พ้ืนบ้านอย่างต่อเน่ือง นำเสนอ การอภิปราย การคิดวิเคราะห์สังเคราะห์ และ เป็นเวลา 21 ปี และเป็นวิทยากรด้านการประดิษฐ์ การทำงานอย่างเป็นระบบ เช่น การเรียนรู้แบบโครงงาน และแข่งขันจรวดขวดน้ำเป็นเวลา 13 ปี ตลอดจน ให้มากขึ้นและเน้นการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา ฝึกการมีระเบียบวินัยจากกิจกรรมระเบียบแถว ระดับชาตขิ ั้นพ้ืนฐาน (O-NET) ในทกุ รายวิชา แนวทหารหนา้ เสาธง ๒. ส่งเสริมและพัฒนานักเรียนโดยจัดกิจกรรมแก้ปัญหา ๒. นักเรียนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงมีส่วนสูงและ นกั เรียนท่ีอ่านและเขียนไม่คล่อง ฝกึ การคดิ คำนวณทาง น้ำหนักตามเกณฑ์ มีระเบียบวินัย มีมารยาทที่ดี คณติ ศาสตร์ และการสื่อสารได้อย่างเหมาะสม จนเป็นเอกลกั ษณ์ของสถานศึกษา ๓. ส่งเสริมและพัฒนานักเรียนให้มีความสามารถใน เป็นท่ยี อมรับของชุมชนและสงั คม เคารพกฎกติกา การคิดวิเคราะห์ คิดสร้างสรรค์อย่างหลากหลาย มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบต่อหน้าที่ เช่น ดูแลเขต สามารถนำเสนอ อภิปรายและแลกเปล่ียนเรียนรู้อย่าง พื้นท่ที ีร่ บั ผิดชอบ เขา้ แถวซ้ืออาหาร สมเหตุสมผล และมีทักษะในการแก้ปัญหาตาม ๓. นักเรียนมีทักษะในการแข่งขันทางวิชาการ ที่มี สถานการณ์ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ผลงานเชิงประจักษ์ ทั้งในด้านระดับเขตพื้นท่ี 4. ส่งเสริมและพัฒนานักเรียน โดยครูจัดกิจกรรมการ การศึกษา ระดับภาค และระดับประเทศ เรียนรู้แบบ Active Leaning ฝึกให้นักเรียนได้ใช้ ความรู้ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีในการ แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง และสื่อสารข้อมูลผ่าน ระบบเทคโนโลยีอยา่ งสมเหตุสมผล ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ ดา้ นกระบวนการบริหารและการจดั การ ๑. โรงเรียนมีการดำเนินการพัฒนาคุณภาพ ๑.พัฒนาองค์กรสู่ความเป็นเลิศ โดยใช้กระบวนการ การศึกษาแบบมีส่วนร่วม มีการกำหนดวิสัยทัศน์ มสี ่วนร่วมของผเู้ กยี่ วข้องทกุ ภาคสว่ น พันธกิจ เป้าหมายที่ชัดเจน มีนำไปสู่การปฏิบัติท่ี ๒. สร้างเครือขา่ ยความร่วมมือทางการศกึ ษา มีประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธิผล ๓. พฒั นารูปแบบการประชุมและแลกเปล่ยี นเรียนรู้ให้ ๒. โรงเรียนมีนวัตกรรมทางการบริหารและการ เกดิ ประโยชนท์ เ่ี ป็นรูปธรรมและนำไปสกู่ ารปฏิบตั ิได้ จัดการในการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนของ ครอู ย่างเป็นระบบ ๓. โรงเรียนมีหลักสูตรท้องถิ่นที่เป็นต้นแบบและ เหมาะสมกบั บริบทในทอ้ งถนิ่ ๔. โรงเรียนมีผลงานเชิงประจักษ์ ทั้งในด้าน สถานศึกษา ผู้เรียน ครูและผู้บริหาร ทั้งในระดับ จังหวดั ระดับภาค และระดับชาติ 5. โรงเรียนมีกระบวนการนิเทศ กำกับติดตามและ กระบวนการให้ข้อมูลป้อนกลับ เพื่อการพัฒนาท่ี ชดั เจน
28 รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) จดุ เดน่ จดุ ทค่ี วรพฒั นา ด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้น ด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียน ผเู้ รียนเปน็ สำคัญ เป็นสำคญั ๑. ครูมีความตั้งใจ ทุ่มเท เสียสละในการ ๑. โรงเรียนพัฒนานักเรียนรายบุคคลและรายกลุ่ม ปฏิบัติงาน มีการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง สร้างแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์อย่างต่อเนื่องเพื่อยกระดับ เพอื่ ใหเ้ กดิ ประสทิ ธิภาพในการปฏิบตั งิ าน คณุ ภาพนกั เรยี นให้สูงย่งิ ข้นึ ทกุ กลมุ่ สาระ ๒. ครูมีการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียน ๒. นำระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนมาใช้ ในการ เป็นสำคัญ มีการจัดการชั้นเรียนเชิงบวก มีการ ส่งเสริมและแก้ปัญหานักเรียนอย่างเป็นระบบโดยใช้ พัฒนานวัตกรรมที่เหมาสมต่อผู้เรียนให้เกิดการ ข้อมูลสารสนเทศในการพัฒนานักเรียน ที่สอดคล้อง เรียนรู้และนำประสบการณ์ไปใช้ในชีวิตประจำวัน กับสภาพปัญหาที่เกิดขึ้น ตลอดจนทำงานวิจัยเพ่ือ อยา่ งเหมาะสม พฒั นาระบบดแู ลช่วยเหลือนกั เรยี น ๓. ครูมีระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนเป็น ๓. การพัฒนานวัตกรรมเพอ่ื ชว่ ยแก้ปัญหานักเรียน รายบุคคลอย่างเข้มแข็ง และมีระบบการดูแล ที่บกพร่องทางการเรียนรู้และส่งเสริมให้นักเรียนได้ ช่วยเหลือนักเรียนกลุ่มเสี่ยงแบบคู่สัญญา ดูแลให้ เรียนร้อู ยา่ งเต็มศักยภาพ นกั เรยี นทำกิจกรรมบำเพญ็ ประโยชน์ในโรงเรียน ๔. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อพัฒนา 4. ครูทุกคนได้รับการนิเทศจากผู้บริหารทุก สมรรถนะสำคัญ การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนของ ด้าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านการจัดกิจกรรมการ ผเู้ รยี น เรียนการสอนในชัน้ เรยี น 5. ครูทุกคนนำภูมิปัญญาท้องถิ่นงานป้ัน พื้นบ้านมาเขียนแผนบูรณาการในการจัดการเรยี น การสอน
29 รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) การประเมนิ ความโดดเด่น ระดบั การศึกษาข้นั พนื้ ฐาน โดยมติ ิคณุ ภาพทส่ี ถานศกึ ษาขอรบั การประเมนิ ความโดดเด่น คอื 1. การบริหารจัดการศึกษา : การใช้แหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่นบ้านมะยิงเพื่อการจัดการศึกษาใน โรงเรยี นโมคลานประชาสรรค์ โดยใชก้ ลยทุ ธ์ MOKKALAN MODEL 2. ความสามารถเฉพาะทางที่สำคัญ : การจัดกิจกรรมจรวดขวดน้ำโมคลานทะยานฟ้าด้วย กระบวนการ 5 ดา่ นอรหนั ต์ มรี ายละเอียด ดงั นี้ การจัดกิจกรรมจรวดขวดนำ้ โมคลาน ทะยานฟา้ ดว้ ยอกรกรหะาันบรตใวช์ น้แกหาลร่ง5เรยีดจน่าดั รนก้ใู านรทศอ้กึ งษถานิ่ ขบอ้างนมะยิงเพ่อื การ โรงเรียนโมคลานประชาสรรค์ การจดั กจิ กรรมจรวดขวดน้ำโมคลาน ทะยานฟา้ ดว้ ยกระบวนการ 5 ด่าน อรหันต์
30 รายงานการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) ภาคผนวก
31 รายงานการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) ประกาศโรงเรยี นโมคลานประชาสรรค์ เรือ่ ง ใชม้ าตรฐานการศึกษาและกำหนดเป้าหมายความสำเรจ็ ตามมาตรฐานการศกึ ษาของ สถานศึกษาระดับการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน ....................................................................... พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ ที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๙ (๓) ได้กำหนดการจัดระบบ โครงสร้าง และกระบวนการจัดการศึกษาให้ยึดหลักที่สำคัญข้อ หน่ึง คือ มีการกำหนดมาตรฐานการศึกษา และจดั ระบบประกนั คณุ ภาพการศึกษาทุกระดับและประเภท และมาตรา ๔๘ ให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของการบริหารการศึกษาที่ต้องดำเนินการอย่าง ต่อเนื่อง โดยมีการจัดทำรายงานการประเมินตนเอง เสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเปิดเผยต่อสาธารณชน เพื่อนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษา และเพื่อรองรับการ ประกันคุณภาพภายนอก (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553 มาตรา 9 (3) มีการกำหนดมาตรฐานการศึกษาและ จัดระบบประกนั คณุ ภาพการศึกษาทุกระดบั และประเภทการศึกษา และ (ฉบบั ท่ี 4) พ.ศ. 2562 มาตรา ๔๗ ให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ของการศึกษา ขั้นพื้นฐาน และการศึกษาระดับอุดมศึกษา ประกอบด้วย ระบบการประกันคุณภาพภายใน และระบบ การประกันคุณภาพภายนอก ระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษาของการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน และการอาชวี ศกึ ษา ให้เปน็ ไปตามทก่ี ำหนดในกฎกระทรวง กฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ นโยบายการปฏิรูปการศึกษาใน ทศวรรษที่สองที่กำหนดเป้าหมายและยุทธศาสตร์ในการพัฒนาคุณภาพคนไทยและการศึกษาไทยใน อนาคต ประกอบกับมีนโยบายให้ปฏิรูประบบการประเมินและการประกันคุณภาพทั้งภายในและ ภายนอกของทุกระดับการศึกษา และประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวัย ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และระดับการศึกษาขัน้ พืน้ ฐานศูนยก์ ารศึกษาพิเศษ เมื่อวันท่ี 6 สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ มติในการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานของโรงเรียนโมคลานประชาสรรค์ ครั้งที่ 1เมื่อวันที่ 29 เดือน มิถุนายน พ.ศ. 2563 ให้ความเห็นชอบร่างมาตรฐานการศึกษาของ สถานศึกษาและเป้าหมายความสำเร็จของมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา โรงเรียนโมคลานประชา สรรค์จงึ ประกาศ เรือ่ ง ใช้มาตรฐานการศึกษาและกำหนดเป้าหมายความสำเรจ็ ตามมาตรฐานการศึกษา ของสถานศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อเป็นกลไกในการควบคุม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
32 รายงานการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) ของสถานศึกษา ให้เกิดการพัฒนาและสร้างความเชื่อมั่นให้แก่สังคม ชุมชน และผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ตาม เอกสารแนบท้ายประกาศฉบบั น้ี ประกาศ ณ วนั ท่ี 30 เดอื น มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๕๖3 (นางวิมพ์วภิ า รกั สม) ผ้อู ำนวยการโรงเรยี นโมคลานประชาสรรค์
33 รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) มาตรฐานการศกึ ษาและคา่ เปา้ หมายความสำเร็จตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน แนบทา้ ยประกาศโรงเรียนโมคลานประชาสรรค์ ประกาศ ณ วนั ท่ี 30 เดือน มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๕๖3 โรงเรียนโมคลานประชาสรรค์ ได้กำหนดเป้าหมายความสำเร็จตามมาตรฐานการศึกษาของ สถานศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา 2563 คุณภาพของสถานศึกษาโดยรวมอยู่ใน ระดับ ดีเลิศ ประกอบดว้ ย ๓ มาตรฐาน มาตรฐานการศกึ ษา เป้าหมาย/ระดับคณุ ภาพ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของนกั เรยี น ดเี ลิศ มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ยอดเย่ียม มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นนักเรียนเป็น ดีเลศิ สำคัญ มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพของนกั เรยี น ๑.๑ ผลสมั ฤทธทิ์ างวิชาการของนกั เรยี น 1) มคี วามสามารถในการอา่ น การเขยี น การสือ่ สาร และการคดิ คำนวณ ๑.๑ นักเรียนร้อยละ 75 มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร ภาษาไทย อยู่ใน ระดับดขี ึน้ ไป ๑.๒ นักเรียนร้อยละ 75 มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร ภาษาอังกฤษ อยู่ใน ระดับดขี นึ้ ไป 1.3 นักเรียนร้อยละ 75 มีความสามารถในการคิดคำนวณ อยู่ในระดับปานกลาง 1.4 นักเรียนร้อยละ 75 มีความสามารถในการใชภ้ าษาองั กฤษแนะนำตนเอง สถานศึกษาและสนทนา อย่างง่ายได้ 1.5 นักเรียนทุกคนสามารถนำเสนอผลงานได้ตามทส่ี ถานศกึ ษากำหนด ๒) มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความ คดิ เห็นและแก้ปญั หา ๒.๑ นกั เรียนรอ้ ยละ 75 มผี ลการประเมนิ สมรรถนะและผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน อยใู่ นระดับดขี ้ึนไป ๒.๒ นักเรียนร้อยละ 8๐ มีการอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและแก้ปัญหา โดยผ่าน กระบวนการเรยี นรใู้ นช้ันเรยี นและกิจกรรมท่หี ลากหลายไดเ้ หมาะสมกบั วยั และระดับชนั้ ของนักเรยี น 3) มีความสามารถในการสรา้ งนวัตกรรม 3.1 นักเรียนทุกคนมีผลงานหรือชิ้นงาน จากการทำงานกลุ่มหรือเดี่ยว และสามารถอธิบาย หลักการขั้นตอนการทำงาน และปัญหาอุปสรรคของการทำงาน ในลักษณะโครงงานตามรายวิชาทุก กลุ่มสาระการเรยี นรู้ 3.2 นกั เรยี นทกุ คนสามารถสร้างนวัตกรรมจากงานปน้ั พื้นบา้ น 3.3 นักเรียนสามารถสรา้ งนวัตกรรมจากงานป้ันพื้นบ้าน จนได้รบั รางวลั ระดับชาติ/ประเทศ
34 รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) 3.4 นกั เรยี นชุมนมุ จรวดขวดนำ้ โมคลานสรา้ งนวตั กรรม จนไดร้ ับรางวลั ระดับชาติ/ประเทศ 4) มคี วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร 4.1 นักเรียนชั้น ม.4-ม.6 ร้อยละ 75 สามารถใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศในการนำเสนอผลงาน ผ่าน Power Point และการสื่อสารเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ การสื่อสาร การทำงานอย่างสร้างสรรค์และมี คุณธรรม 4.2 นักเรียนชั้น ม.1 – ม.6 ร้อยละ 75 สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพ่ือ พฒั นาตนเองได้ 4.3 นักเรียนชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 ร้อยละ 90 สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการทำแฟ้ม สะสมงาน (Portfolio) เพอ่ื ใช้ในการศกึ ษาต่อได้ 5) มีผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นตามหลกั สตู รสถานศึกษา ๕.๑ นกั เรยี นรอ้ ยละ 75 มผี ลการเรยี นกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ระดับ ๒.50 ขึ้นไป ๕.๒ นกั เรยี นร้อยละ 70 มผี ลการเรียนกลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ระดบั ๒.50 ข้นึ ไป ๕.๓ นักเรียนรอ้ ยละ 5๐ มีผลการเรยี นกลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ ระดับ ๒.50 ขนึ้ ไป ๕.๔ นักเรียนร้อยละ 75 มีผลการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ระดับ ๒.50 ข้ึนไป ๕.๕ นักเรียนร้อยละ 80 มีผลการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างอังกฤษ ระดับ ๒.50 ขน้ึ ไป ๕.๖ นักเรียนร้อยละ 85 มีผลการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ระดับ 3.00 ข้นึ ไป ๕.๗ นักเรียนร้อยละ 75 มรี ผลการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ศลิ ปะ ระดับ ๒.50 ขึน้ ไป ๕.๘ นักเรียนร้อยละ 80 มีผลการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ระดับ 2.50 ขึ้นไป ๕.๙ นักเรยี นรอ้ ยละ 80 มผี ลการเรยี นเฉลี่ยทกุ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ระดับ 2.75 ข้ึนไป 6) มคี วามรู้ ทักษะพน้ื ฐาน และเจตคติทด่ี ตี ่ออาชีพ 6.1 นักเรยี นทุกคน มีความรู้ ทกั ษะพน้ื ฐาน ต่ออาชพี อย่างนอ้ ย 1 อาชีพ 6.2 นักเรยี นทุกคน มเี จตคติพรอ้ มที่จะฝึกทักษาะอาชพี จากแหลง่ เรียนรู้ในท้องถิน่ 6.3 นักเรียนทุกคน มีทกั ษะในการทำงาน ทกั ษะอาชพี เพื่อการมีงานทำ 6.4 นักเรียน รอ้ ยละ 75 มคี วามรูแ้ ละความสามารถพเิ ศษในด้านกฬี า 1.2 คณุ ลกั ษณะทีพ่ ึงประสงค์ของนักเรยี น 1) การมคี ุณลักษณะและค่านยิ มท่ดี ี “มีระเบียบวินัย” 1.1 นกั เรยี นรอ้ ยละ 80 มคี ณุ ลักษณะและค่านยิ มทีด่ ี “มรี ะเบยี บวนิ ยั ” ในระดบั ดีข้นึ ไป 1.2 นกั เรียนทุกคนรว่ มกิจกรรม “ระเบยี บแถวแนวทหาร” ผ่านกจิ กรรมการเขา้ แถวหน้าเสาธง 1.3 นกั เรียนร้อยละ 8๐ มีคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลกั สูตร ระดับดีขนึ้ ไป 2) มคี วามภูมใิ จในทอ้ งถ่นิ และความเปน็ ไทย 2.1 นักเรียนทุกคน มีความภาคภูมิใจและเห็นคุณค่าของงานปั้นพื้นบ้านสบื สานมรดกท้องถน่ิ บ้านมะยงิ
35 รายงานการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) 2.2 นักเรียนทุกคนม่สี ่วนรว่ มในการอนุรักษว์ ัฒนธรรม และประเพณี ประวัตศิ าสตรท์ ้องถ่ิน โม คลาน รวมทง้ั ภมู ปิ ัญญาไทย 3) การยอมรบั ท่จี ะอยรู่ ว่ มกันบนความแตกตา่ งและหลากหลาย 3.1 นักเรียนทุกคนยอมรับและอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างของ 2 ศาสนา (ไทยพุทธกับมุสลิม) ผ่านกิจกรรมการเข้าแถวหน้าเสาธง การทำกิจกรรม 5ส กิจกรรมลูกเสือ ชุมนุม ทัศนศึกษา งานฟื้นฟู โบราณสถานโมคลาน วันสำคัญทางศาสนา ประเพณีลอยกระทง การแข่งขันกีฬาของโรงเรียนและ ชมุ ชน 4) มสี ุขภาวะทางร่างกายและจิตสังคม 4.1 นักเรยี นช้ันมธั ยมศึกษาตอนตน้ ร้อยละ 96 มีสขุ ภาพกายตามเกณฑข์ องกรมอนามยั 4.2 ชัน้ มัธยมศึกษาตอนปลาย ร้อยละ 96 มีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์ของกรมพลศึกษา 4.3 นักเรยี นในทกุ ระดบั ชนั้ ร้อยละ 96 มวี ฒุ ิภาวะทางอารมณอ์ ย่ใู นระดับดีข้นึ ไป 4.4 นักเรยี นทกุ คน เขา้ รว่ มกจิ กรรมเพื่อสาธารณะประโยชน์ มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ 2.1 มเี ป้าหมาย วสิ ยั ทัศน์ และพนั ธกจิ ท่ีสถานศึกษากำหนดชัดเจน 2.1.1 โรงเรียนมเี ป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจท่ีชัดเจน สอดคลอ้ งกับบริบทของสถานศึกษา ความต้องการของชุมชน ทอ้ งถน่ิ นโยบายรัฐ แผนการศึกษาแหง่ ชาติ ทนั ต่อการเปลยี่ นแปลงของสังคม 2.2 มีระบบบรหิ ารจัดการคณุ ภาพของสถานศึกษา 2.2.1 โรงเรียนใช้วงจรบริหารคุณภาพ PDCA ในการบริหารจัดการสถานศึกษาโดยให้ คณะกรรมการสถานศกึ ษามีส่วนร่วมในการวางแผน 2.2.2 โรงเรียนมรี ะบบดูแลชว่ ยเหลือนกั เรยี นท่เี ข้มแข็ง 2.2.3 โรงเรียนมีระบบการนิเทศภายใน “MOKKALAN MODEL” ท่ีใช้ยกระดับคุณภาพการ เรียนการสอนอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ 2.3 ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพนักเรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและ ทุกกลุ่มเป้าหมาย ๒.๓.๑ โรงเรียนมีหลักสูตรสถานศึกษาที่สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน และนกั เรยี น 2.3.2 โรงเรียนมหี ลกั สูตรท้องถ่นิ งานปน้ั พืน้ บ้านมะยงิ ทส่ี อดคลอ้ งกับบริบทของทอ้ งถ่นิ 2.3.3 โรงเรยี นเปน็ แหล่งเรียนรใู้ นการศกึ ษาดงู านของโรงเรยี นตา่ ง ๆ 2.3.4 โรงเรยี นมกี ารใหข้ วญั กำลังใจสำหรบั นักเรียนและครูทมี่ ีผลงานในระดับต่าง ๆ 2.3.5 โรงเรียนทำขอ้ ตกลงกับหน่วยงานต่าง ๆ ทีส่ ง่ เสริมการพัฒนานักเรียน 2.4 พัฒนาครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาให้มคี วามเชีย่ วชาญทางวชิ าชพี ๒.๔.๑ ครูทุกคนมีแผนพฒั นาตนเองและไดร้ บั การพัฒนาทางวชิ าชีพอยา่ งน้อย 2 ครง้ั ตอ่ ปี 2.4.2 ครูทกุ คนมีรายงานการประเมินตนเอง (T-SAR) ๒.๔.3 ครูทุกคนผา่ นการประเมนิ ผลงานจากการปฏบิ ัติหนา้ ทต่ี ามเกณฑท์ ี่ กคศ. กำหนด 2.5 จดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคมท่ีเอือ้ ตอ่ การจัดการเรยี นการสอน ๒.๕.๑ โรงเรียนมีห้องเรียน แหลง่ เรียนรู้ ทเี่ พยี งพอ และเอ้อื ต่อการจัดการเรยี นการสอน
36 รายงานการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) ๒.๕.๒ โรงเรียนมีสือ่ วสั ดุ อุปกรณท์ ่เี พียงพอตอ่ การจัดการเรยี นการสอน ๒.๕.๓ โรงเรียนจัดสภาพแวดล้อมและระบบสาธารณูปโภคที่เหมาะสมกับการเรียนการสอน และปลอดภยั 2.5.4 โรงเรยี นมีบรรยากาศร่มรน่ื สะอาดเป็นมติ รกบั สิ่งแวดล้อม 2.6 จดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนบั สนนุ การบรกิ ารจดั การและการจดั การเรียนรู้ ๒.๖.๑ โรงเรียนมีระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศทพ่ี ร้อมในการบรหิ ารจัดการให้เกิดคุณภาพ ๒.๖.๒ โรงเรยี นมีระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศทพี่ รอ้ มในการจดั การเรียนการสอน มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจดั การเรียนการสอนที่เนน้ นกั เรยี นเป็นสำคัญ 3.1 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและการปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจำวนั ได้ 3.1.1 ครูทุกคนวิเคราะหห์ ลักสตู รออกแบบหนว่ ยการเรยี นรู้ที่สอดคล้องกบั มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัด และผลการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษาตามความถนัดและบริบทของ นักเรยี น 3.1.2 ครูทุกคนจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นกระบวนการคิด และปฏิบัติจริง (Active Learning) 3.1.3 ครูทุกคนมรี ปู แบบการจดั การเรยี นร้อู ย่างน้อย 2 รปู แบบต่อ 1 ภาคเรยี น 3.1.4 ครูสามารถจัดกิจกรรมให้นักเรียนได้รับการฝึกทักษะ กล้าแสดงออก แสดงความคิดเห็น สรุปองคค์ วามรู้นำเสนอผลงานและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวติ ได้ 3.1.5 ครมู นี วตั กรรมการจดั การเรียนรแู้ ละมีการเผยแพรผ่ ลงานอย่างต่อเนื่อง 3.1.6 ครสู ามารถสรา้ งนวัตกรรมจนไดร้ บั รางวลั ระดบั ประเทศ/ชาติ 3.2 ใชส้ อื่ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหลง่ เรียนร้ทู ี่เอื้อตอ่ การเรียนรู้ 3.2.1 ครูทุกคนใช้สื่อการสอน สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ท่ี สอดคลอ้ งตามมาตรฐานและตวั ชีว้ ัด 3.2.2 ครูทุกคนใชก้ ระบวนจัดการเรยี นการรู้ แบบ Active Learning 3.2.3 ครทู กุ คนผลติ สอ่ื การสอนได้ 3.2.4 ครทู กุ กลมุ่ สาระการเรียนรบู้ ูรณาการแหลง่ เรียนรูแ้ ละภมู ิปญั ญาท้องถิ่นงานปนั้ บ้านมะยิง กับการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน 3.2.5 ครทู ุกคนสง่ เสริมใหน้ ักเรียนไดแ้ สวงหาความรูด้ ว้ ยตนเองจากส่อื ท่ีหลากหลาย 3.3 มกี ารบริหารจัดการช้ันเรยี นเชิงบวก 3.3.1 ครทู กุ คนจัดบรรยากาศในช้ันเรยี นให้เอื้อต่อการเรียนรู้ และสร้างแรงจงู ใจแกน่ ักเรยี นให้เกิด การเรียนรู้ 3.3.2 ครูทกุ คนเปดิ โอกาสใหน้ กั เรยี นมีส่วนรว่ มในการจัดการเรียนรู้ 3.3.3 ครแู ละนกั เรียนรว่ มกันกำหนดขอ้ ตกลงในการจดั การเรยี นรู้ 3.3.4 ครูทุกคนนำระบบดูแลช่วยเหลือนักเรยี นมาใช้ในการพฒั นานักเรียน
37 รายงานการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) 3.4 ตรวจสอบและประเมินนกั เรยี นอยา่ งเปน็ ระบบ และนำผลมาพัฒนานักเรยี น 3.4.1 ครมู กี ารวเิ คราะห์นกั เรยี นเป็นรายบคุ คล 3.4.2 ครูทุกคนมีเครือ่ งมือการวดั และประเมินผลท่ีหลากหลาย มีคุณภาพ เป็นระบบ ให้ข้อมูล สะท้อนกลับและนำผลมาพัฒนานกั เรยี น 3.4.3 ครูทุกคนมีการประเมินนักเรียนตามสภาพจริงหลากหลายและสอดคล้องตามมาตรฐาน และตวั ช้ีวดั 3.5 มีการแลกเปลยี่ นเรยี นรูแ้ ละใหข้ ้อมลู สะทอ้ นกลับเพอื่ พัฒนาและปรบั ปรุงการจัดการเรียนรู้ 3.5.1 ครูทุกคนร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ รวมทั้งปัญหาที่พบจากการจัดการเรียนการสอน ผ่าน กระบวนการชุมชนแหง่ การเรียนรู้ PLC 3.5.2 ครูและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องร่วมแลกเปลี่ยนประสบการณ์ และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อ พฒั นาการจดั การเรียนรู้ 3.5.3 ครูทุกคนได้รบั การนิเทศภายใน อยา่ งน้อยภาคเรยี นละ 1 ครง้ั เกณฑ์ท่ใี ชใ้ นการพิจารณากำหนดเปา้ หมาย/ระดบั คณุ ภาพ กรณีกำหนดเป้าหมายเชงิ ปรมิ าณ ระดบั คุณภาพ รอ้ ยละตามเกณฑพ์ จิ ารณาระดบั คณุ ภาพ กำลังพฒั นา (1) ตำ่ กวา่ รอ้ ยละ 50 ปานกลาง (2) ระหว่างร้อยละ 50-59 ดี (3) ระหวา่ งรอ้ ยละ 60-74 ดีเลศิ (4) ระหว่างรอ้ ยละ 75-89 ยอดเย่ยี ม (5) ตง้ั แตร่ ้อยละ 90 ขึ้นไป กรณกี ำหนดเป้าหมายเชิงคณุ ภาพ ระดับคณุ ภาพ หลักฐาน/ รางวัล ข้อความทีใ่ ช้ตัดสินคุณภาพ รอ่ งรอย กำลังพัฒนา (1) มี/ไม่มี ไม่มี ไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด/ต่ำกว่า เกณฑ์มาตรฐาน/ไม่สอดคล้อง/ไม่เป็นไป ตามเป้าหมาย/ไมส่ ง่ ผล/ไมส่ ่งเสริม ปานกลาง (2) มี ระดบั โรงเรียน/ศนู ย์ มีแต่ไม่ครบ/มีบางส่วน/เป็นไปตาม เครอื ข่าย/กลุ่มโรงเรยี น เปา้ หมายบางสว่ น ดี (3) มี ระดบั หนว่ ยงานต้น เป็นทย่ี อมรับ/เปน็ ไปตามเกณฑ์ที่กำหนด/ สงั กดั /หน่วยงานใน ครบกระบวนการ/มีความเหมาะสม/อยา่ ง กำกับ เพียงพอ/อยา่ งหลากหลาย
38 รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) ดีเลิศ (4) มี ระดบั ภาค/จงั หวัด/ มีการพัฒนา/สูงขึ้น/เพิ่มขึ้น/เป็นระบบ หนว่ ยงานในระดับ จ. มากขึ้น/มีการบูรณาการ/หลากหลาย รูปแบบ ยอดเยยี่ ม (5) มี ระดบั ประเทศ/กรม/ สูงกว่าเป้าหมายที่กำหนดมาก/เป็นเลิศ กระทรวง/สช./สพฐ. อย่างที่ดี/เป็นตัวอย่างที่ดีได้/มีความเป็น เ ล ิ ศ / ม ี ก า ร พ ั ฒ น า อ ย ่ า ง ต ่ อ เ น ื ่ อ ง / มี นวัตกรรม
39 รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) การกำหนดคา่ เป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา ระดบั การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เพือ่ ประกันคุณภาพภายในของสถานศกึ ษา แนบทา้ ยประกาศโรงเรยี นโมคลานประชาสรรค์ ……………………………………………………………….. มาตรฐาน / ประเด็นการพิจารณา ค่าเปา้ หมายมาตรฐาน/ มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพดา้ นนักเรยี น ประเดน็ การพจิ ารณา ๑.๑ ผลสมั ฤทธิท์ างวิชาการของนกั เรียน ดีเลศิ 1) มคี วามสามารถในการอ่าน การเขียน การสอื่ สาร และการคิดคำนวณ ดเี ลศิ 1.1 นักเรียนร้อยละ 75 มีความสามารถในการอ่าน การเขยี น การสอ่ื สาร ภาษาไทย ดเี ลศิ อยู่ในระดับดีขึ้นไป ดเี ลิศ 1.2 นักเรียนมคี วามสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสารภาษาองั กฤษ อยู่ในระดบั ดีเลิศ 3 รอ้ ยละ 80 ดเี ลิศ ดีเลิศ 1.3 นักเรยี นร้อยละ 75 มคี วามสามารถในการคิดคำนวณ อยใู่ นระดบั ปานกลาง ดเี ลศิ 1.4 นกั เรียนรอ้ ยละ 75 มคี วามสามารถในการใช้ภาษาองั กฤษแนะนำตนเอง ดเี ลิศ สถานศกึ ษาและสนทนาอย่างง่ายได้ 1.5 นกั เรยี นทุกคนสามารถนำเสนอผลงานไดต้ ามท่ีสถานศึกษากำหนด 2) มคี วามสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ คดิ อย่างมีวจิ ารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยน ความคิดเหน็ และแก้ปญั หา 2.1 นกั เรียนร้อยละ 75 มีผลการประเมินสมรรถนะและผลการประเมินการอ่าน คิด วิเคราะห์ และเขียน อยใู่ นระดับดีขึน้ ไป 2.2 นักเรียนรอ้ ยละ 8๐ มกี ารอภปิ รายแลกเปล่ียนความคดิ เหน็ และแกป้ ญั หา โดย ดเี ลิศ ผ่านกระบวนการเรยี นร้ใู นชน้ั เรยี นและกิจกรรมท่ีหลากหลายได้เหมาะสมกับวยั และ ระดบั ชนั้ ของนกั เรยี น 3) มีความสามารถในการสร้างนวตั กรรม ดีเลศิ 3.1 นักเรียนทกุ คนมีผลงานหรือชิ้นงาน จากการทำงานกลุ่มหรอื เด่ยี ว และสามารถ ดเี ลิศ อธบิ ายหลักการข้นั ตอนการทำงาน และปญั หาอุปสรรคของการทำงาน ในลักษณะ โครงงานตามรายวชิ าทุกกลมุ่ สาระการเรียนรู้ ดีเลิศ ดีเลิศ 3.2 นักเรยี นทกุ คนสามารถสร้างนวัตกรรมจากงานป้นั พ้ืนบ้าน ดเี ลศิ 3.3 นกั เรยี นสามารถสรา้ งนวัตกรรมจากงานป้นั พน้ื บ้าน จนได้รบั รางวลั ระดบั ชาติ/ ดีเลศิ ประเทศ 3.4 นกั เรียนชมุ นุมจรวดขวดนำ้ โมคลานสรา้ งนวัตกรรม จนไดร้ บั รางวลั ระดบั ชาต/ิ ประเทศ 4) มคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร
40 รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) มาตรฐาน / ประเดน็ การพจิ ารณา ค่าเป้าหมายมาตรฐาน/ ประเด็นการพจิ ารณา 4.1 นกั เรยี นชนั้ ม.4-ม.6 รอ้ ยละ 75 สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการ นำเสนอผลงานผ่าน Power Point และการส่ือสารเพ่ือพัฒนาการเรียนรู้ การสื่อสาร ดีเลิศ การทำงานอยา่ งสรา้ งสรรค์และมีคุณธรรม 4.2 นักเรยี นชั้น ม.1 – ม.6 ร้อยละ 75 สามารถใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการ ดเี ลิศ สื่อสารเพื่อพฒั นาตนเองได้ 4.3 นักเรียนชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6 รอ้ ยละ 90 สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศใน ดีเลศิ การทำแฟ้มสะสมงาน (Portfolio) เพือ่ ใชใ้ นการศึกษาต่อได้ 5) มีผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นตามหลกั สูตรสถานศึกษา ดีเลศิ ๕.๑ นักเรียนร้อยละ 75 มีผลการเรยี นกลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ระดับ ๒.50 ขึ้นไป ดเี ลศิ ๕.๒ นักเรยี นร้อยละ 70 มผี ลการเรยี นกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ระดับ ๒.50 ข้ึนไป ดี ๕.๓ นกั เรยี นรอ้ ยละ 5๐ มผี ลการเรียนกลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ระดับ ๒.50 ขึ้นไป ดี ๕.๔ นักเรยี นรอ้ ยละ 75 มผี ลการเรียนกล่มุ สาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและ ดเี ลศิ วฒั นธรรม ระดบั ๒.50 ขนึ้ ไป ๕.๕ นกั เรียนร้อยละ 80 มีผลการเรยี นกลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาตา่ งอังกฤษ ระดับ ดีเลศิ ๒.50 ข้ึนไป ๕.๖ นกั เรยี นรอ้ ยละ 85 มีผลการเรยี นกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ดีเลศิ ระดบั 3.00 ข้ึนไป ๕.๗ นักเรยี นร้อยละ 75 มีรผลการเรียนกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ศิลปะ ระดับ ๒.50 ขึ้นไป ดีเลศิ ๕.๘ นักเรยี นร้อยละ 80 มีผลการเรียนกล่มุ สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ดเี ลศิ ระดับ 2.50 ข้นึ ไป ๕.๙ นักเรยี นร้อยละ 80 มีผลการเรยี นเฉลย่ี ทุกกล่มุ สาระการเรยี นรูร้ ะดับ 2.75 ข้ึนไป ดี 6) มคี วามรู้ ทกั ษะพื้นฐาน และเจตคตทิ ีด่ ตี ่ออาชีพ ดีเลิศ 6.1 นกั เรยี นทกุ คน มีความรู้ ทักษะพ้ืนฐาน ต่ออาชีพอย่างนอ้ ย 1 อาชีพ ดเี ลศิ 6.2 นักเรยี นทุกคน มีเจตคติพรอ้ มทจี่ ะฝึกทกั ษาะอาชีพจากแหล่งเรียนรูใ้ นท้องถนิ่ ดเี ลศิ 6.3 นักเรยี นทกุ คน มีทักษะในการทำงาน ทักษะอาชพี เพอ่ื การมีงานทำ ดเี ลศิ 6.4 นกั เรียน ร้อยละ 75 มคี วามรแู้ ละความสามารถพเิ ศษในดา้ นกีฬา ดีเลศิ 1.2 คณุ ลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ ดีเลศิ 1) การมีคุณลกั ษณะและคา่ นิยมทดี่ ี “มีระเบียบวนิ ัย” ดเี ลศิ 1.1 นกั เรยี นรอ้ ยละ 80 มีคุณลักษณะและค่านิยมท่ีดี “มีระเบยี บวนิ ัย” ในระดบั ดี ดีเลิศ ข้นึ ไป 1.2 นักเรียนทกุ คนรว่ มกิจกรรม “ระเบยี บแถวแนวทหาร” ผา่ นกิจกรรมการเขา้ แถว ดเี ลิศ หน้าเสาธง 1.3 นกั เรยี นรอ้ ยละ 8๐ มคี ุณลักษณะอันพึงประสงคต์ ามหลักสตู ร ระดบั ดขี ึ้นไป ดเี ลิศ
41 รายงานการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) มาตรฐาน / ประเดน็ การพจิ ารณา คา่ เป้าหมายมาตรฐาน/ ประเด็นการพิจารณา 2) มคี วามภูมใิ จในท้องถ่นิ และความเป็นไทย ดเี ลศิ 2.1 นักเรยี นทกุ คน มคี วามภาคภมู ิใจและเห็นคณุ ค่าของงานปัน้ พืน้ บ้านสบื สานมรดก ดีเลิศ ท้องถ่ินบา้ นมะยิง 2.2 นักเรยี นทุกคนมส่ี ่วนรว่ มในการอนุรักษ์วัฒนธรรม และประเพณี ประวัตศิ าสตร์ ดีเลิศ ท้องถ่นิ โมคลาน รวมทง้ั ภูมปิ ัญญาไทย ยอดเยี่ยม 3) ยอมรับทีจ่ ะอยู่รว่ มกนั บนความแตกตา่ งและหลากหลาย ยอดเยย่ี ม 3.1 นกั เรยี นทุกคนยอมรบั และอยูร่ ว่ มกันบนความแตกต่างของ 2 ศาสนา (ไทยพุทธกับ มุสลมิ ) ผ่านกจิ กรรมการเข้าแถวหน้าเสาธง การทำกจิ กรรม 5ส กิจกรรมลูกเสือ ชมุ นุม ทัศนศึกษา งานฟ้ืนฟูโบราณสถานโมคลาน วันสำคัญทางศาสนา ประเพณลี อย กระทง การแขง่ ขนั กีฬาของโรงเรยี นและชมุ ชน 4) มีสุขภาวะทางรา่ งกายและจิตสังคม ดีเลิศ ดีเลศิ 4.1 นกั เรยี นชั้นมธั ยมศกึ ษาตอนต้น ร้อยละ 96 มสี ขุ ภาพกายตามเกณฑ์ของกรม อนามยั ดเี ลิศ 4.2 ช้ันมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ร้อยละ 96 มสี มรรถภาพทางกายตามเกณฑ์ของกรม ดเี ลศิ พลศึกษา ยอดเยย่ี ม 4.3 นกั เรยี นทุกระดบั ช้ัน รอ้ ยละ 96 มีวุฒิภาวะทางอารมณอ์ ยูใ่ นระดับดีขน้ึ ไป 4.4 นักเรียนทกุ คน เขา้ รว่ มกิจกรรมเพ่ือสาธารณะประโยชน์ มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ยอดเยี่ยม 2.1 มเี ปา้ หมาย วิสัยทศั นแ์ ละพันธกิจทส่ี ถานศกึ ษากำหนดชดั เจน ยอดเยี่ยม 2.1.1 โรงเรยี นมีวิสัยทศั น์ และพันธกิจท่ีชัดเจน สอดคลอ้ งกับบริบทของสถานศึกษา ดีเลิศ ความต้องการของชมุ ชน ท้องถนิ่ นโยบายรฐั แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ ทนั ต่อการ ดีเลศิ เปลยี่ นแปลงของสังคม ดีเลศิ ยอดเยี่ยม 2.2 มีระบบบริหารจดั การคณุ ภาพของสถานศึกษา ดีเลิศ 2.2.1 โรงเรียนใช้ วงจรบรหิ ารคุณภาพ PDCA ในการบรหิ ารจัดการสถานศึกษาโดย ให้คณะกรรมการสถานศึกษามีส่วนร่วมในการวางแผน ดีเลิศ 2.2.2 โรงเรียนมีระบบดแู ลช่วยเหลอื นกั เรยี นทเ่ี ขม้ แข็ง ยอดเยี่ยม ยอดเยย่ี ม 2.2.3 โรงเรียนมีระบบการนิเทศภายใน “MOKKALAN MODEL” ทใ่ี ช้ยกระดบั คุณภาพการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ 2.3 ดำเนินงานพัฒนาวชิ าการทเ่ี นน้ คณุ ภาพนักเรยี นรอบด้านตามหลกั สูตร สถานศกึ ษาและทกุ กลุ่มเปา้ หมาย ๒.๓.๑ โรงเรยี นมีหลกั สตู รสถานศึกษาท่ีสอดคล้องกบั หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พ้ืนฐานและนักเรยี น 2.3.2 โรงเรียนมหี ลักสตู รท้องถนิ่ งานปัน้ พืน้ บ้านมะยิง ทสี่ อดคล้องกับบริบทของท้องถนิ่ 2.3.3 โรงเรยี นเป็นแหลง่ เรียนรใู้ นการศึกษาดูงานของโรงเรยี นตา่ ง ๆ
42 รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) มาตรฐาน / ประเดน็ การพจิ ารณา คา่ เปา้ หมายมาตรฐาน/ ประเด็นการพจิ ารณา 2.3.4 โรงเรียนมกี ารใหข้ วัญกำลังใจสำหรับนักเรยี นและครูท่มี ีผลงานในระดบั ต่าง ๆ ดเี ลิศ 2.3.5 โรงเรียนทำขอ้ ตกลงกับหน่วยงานต่าง ๆ ที่สง่ เสริมการพัฒนานักเรียน ดีเลิศ 2.4 พฒั นาครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาใหม้ คี วามเช่ียวชาญทางวิชาชีพ ยอดเยี่ยม ๒.๔.๑ ครูทกุ คนมแี ผนพัฒนาตนเองและไดร้ บั การพัฒนาทางวชิ าชพี อย่างน้อย 2 คร้งั ตอ่ ปี ดเี ลิศ 2.4.2 ครทู กุ คนมรี ายงานการประเมินตนเอง (T-SAR) ยอดเย่ยี ม ๒.๔.3 ครูทุกคนผ่านการประเมนิ ผลงานจากการปฏบิ ตั ิหน้าที่ตามเกณฑ์ที่ กคศ. กำหนด ยอดเยย่ี ม 2.5 จดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสงั คมทเ่ี อื้อต่อการจดั การเรยี นการสอน ดีเลิศ ๒.๕.๑ โรงเรียนมีห้องเรียน แหลง่ เรียนรู้ ท่ีเพยี งพอ และเอื้อต่อการจัดการเรียนการสอน ดีเลศิ ๒.๕.๒ โรงเรยี นมีสอื่ วัสดุ อปุ กรณ์ที่เพียงพอต่อการจดั การเรยี นการสอน ดีเลศิ ๒.๕.๓ โรงเรียนจดั สภาพแวดลอ้ มและระบบสาธารณปู โภคที่เหมาะสมกับการเรียน ดีเลศิ การสอน และปลอดภยั ดีเลศิ 2.5.4 โรงเรยี นมีบรรยากาศร่มร่นื สะอาดเป็นมติ รกับสิ่งแวดล้อม ดีเลิศ 2.6 จดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพอื่ สนบั สนุนการบรกิ ารจัดการและการจดั การ ดเี ลศิ เรียนรู้ ดเี ลศิ ๒.๖.๑ โรงเรยี นมรี ะบบเทคโนโลยีสารสนเทศทีพ่ ร้อมในการบรหิ ารจดั การใหเ้ กดิ คุณภาพ ๒.๖.๒ โรงเรียนมรี ะบบเทคโนโลยีสารสนเทศท่พี รอ้ มในการจดั การเรยี นการสอน ดเี ลิศ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเี่ นน้ นกั เรยี นเป็นสำคัญ 3.1 จัดการเรยี นรูผ้ า่ นกระบวนการคิดและการปฏิบตั ิจริง และสามารถนำไป ประยุกต์ใชใ้ นชีวิตประจำวนั ได้ 3.1.1 ครูทกุ คนวิเคราะหห์ ลักสูตรออกแบบหนว่ ยการเรยี นรทู้ ่สี อดคล้องกับมาตรฐาน ดีเลศิ การเรยี นรแู้ ละตวั ชีว้ ดั และผลการเรยี นรูท้ ี่สอดคลอ้ งกบั บริบทของสถานศึกษาตาม ความถนดั และบริบทของนักเรียน ดีเลศิ ดเี ลศิ 3.1.2 ครูทุกคนจัดทำแผนการจัดการเรยี นรทู้ ีเ่ นน้ กระบวนการคิด และปฏิบตั ิจริง ดเี ลศิ (Active Learning) ดีเลิศ ดเี ลศิ 3.1.3 ครูทุกคนมรี ปู แบบการจดั การเรียนรอู้ ยา่ งน้อย 2 รูปแบบตอ่ 1 ภาคเรยี น ดีเลิศ 3.1.4 ครูสามารถจดั กิจกรรมใหน้ กั เรียนไดร้ บั การฝกึ ทักษะ กล้าแสดงออก แสดง ความคดิ เหน็ สรุปองคค์ วามรู้นำเสนอผลงานและสามารถนำไปประยุกต์ใชใ้ นชวี ติ ได้ 3.1.5 ครูมีนวตั กรรมการจัดการเรียนรู้และมกี ารเผยแพร่ผลงานอยา่ งต่อเนอื่ ง 3.1.6 ครูสามารถสร้างนวตั กรรมจนไดร้ บั รางวัลระดับประเทศ/ชาติ 3.2 ใชส้ ือ่ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรยี นรทู้ เ่ี อ้ือต่อการเรียนรู้ 3.2.1 ครูทุกคนใชส้ อื่ การสอน สอ่ื เทคโนโลยสี ารสนเทศในการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ดีเลิศ ที่สอดคล้องตามมาตรฐานและตวั ช้วี ดั ดีเลศิ 3.2.2 ครทู กุ คนใชก้ ระบวนจัดการเรยี นการรู้ แบบ Active Learning ดีเลิศ 3.2.3 ครทู ุกคนผลิตสอ่ื การสอน
43 รายงานการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) มาตรฐาน / ประเดน็ การพจิ ารณา คา่ เป้าหมายมาตรฐาน/ ประเดน็ การพจิ ารณา 3.2.4 ครทู ุกกลมุ่ สาระการเรียนรูบ้ รู ณาการแหลง่ เรียนรูแ้ ละภมู ิปญั ญาท้องถิ่นงานปน้ั ยอดเยยี่ ม บ้านมะยิงกับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 3.2.5 ครูทุกคนส่งเสรมิ ให้นักเรียนไดแ้ สวงหาความรดู้ ว้ ยตนเองจากสอื่ ท่หี ลากหลาย ดีเลิศ 3.3 มีการบรหิ ารจัดการชน้ั เรยี นเชงิ บวก ดีเลศิ 3.3.1 ครูทกุ คนจัดบรรยากาศในช้นั เรียนใหเ้ อ้ือต่อการเรยี นรู้ และสรา้ งแรงจงู ใจแก่ ดเี ลศิ นักเรยี นให้เกดิ การเรียนรู้ 3.3.2 ครทู กุ คนเปดิ โอกาสให้นกั เรียนมสี ่วนรว่ มในการจัดการเรยี นรู้ ดเี ลศิ 3.3.3 ครูและนกั เรียนรว่ มกันกำหนดข้อตกลงในการจดั การเรียนรู้ ดเี ลศิ 3.3.4 ครทู ุกคนนำระบบดูแลชว่ ยเหลอื นักเรยี นมาใชใ้ นการพฒั นานกั เรยี น ยอดเย่ียม 3.4 ตรวจสอบและประเมินนักเรียนอยา่ งเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนานกั เรียน ดเี ลศิ 3.4.1 ครูมกี ารวเิ คราะห์นักเรียนเป็นรายบคุ คล ดีเลศิ 3.4.2 ครูทุกคนมเี ครื่องมือการวัดและประเมนิ ผลทีห่ ลากหลาย มีคุณภาพ เปน็ ระบบ ดเี ลิศ ใหข้ อ้ มูลสะท้อนกลับและนำผลมาพฒั นานกั เรียน 3.4.3 ครูทุกคนมกี ารประเมินนักเรียนตามสภาพจริงหลากหลายและสอดคล้องตาม ดีเลศิ มาตรฐานและตวั ชวี้ ดั 3.5 มกี ารแลกเปล่ียนเรยี นรู้และให้ขอ้ มลู สะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการ ดเี ลศิ จัดการเรียนรู้ 3.5.1 ครทู ุกคนร่วมแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ รวมท้งั ปัญหาท่ีพบจากการจัดการเรยี นการ ดเี ลิศ สอน ผ่านกระบวนการชุมชนแหง่ การเรียนรู้ PLC 3.5.2 ครูและผมู้ ีสว่ นเก่ียวขอ้ งร่วมแลกเปลี่ยนประสบการณ์ และใหข้ ้อมูลสะท้อน ดเี ลิศ กลับเพื่อพัฒนาการจดั การเรยี นรู้ 3.5.3 ครทู ุกคนได้รบั การนเิ ทศภายใน อยา่ งน้อยภาคเรยี นละ 1 ครัง้ ยอดเยย่ี ม
44 รายงานการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) คำสง่ั โรงเรียนโมคลานประชาสรรค์ ที่ 25 / ๒๕63 เรื่อง แต่งต้ังคณะกรรมการรับผดิ ชอบงานประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา ประจำปีการศกึ ษา 2563 ***************************************** เพื่อใหก้ ารบรหิ ารงานสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่เป็นนิตบิ ุคคล ตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบ บรหิ ารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พทุ ธศกั ราช ๒๕๔๖ พระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติ พุทธศกั ราช ๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ ๒) พุทธศักราช ๒๕๔๕ เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและมี ประสิทธิภาพ อาศัยอำนาจตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๗ มาตรา ๒๗ ให้ผู้บริหารสถานศึกษาเป็นผู้บังคับบัญชาของข้าราชการครูและบุคลากรทางการ ศึกษาในสถานศึกษา คำสั่งสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานที่ ๙/๒๕๔๖ (๒) เรื่อง การ มอบอำนาจบังคับบัญชาลูกจ้างประจำ และระเบียบคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑๒ ว่าด้วย การแบ่งส่วนราชการภายในสถานศึกษา พุทธศักราช ๒๕๕๕ โรงเรียนจึงขอแต่งต้ัง คณะกรรมการรับผดิ ชอบงานประกนั คณุ ภาพการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2563 ดงั ต่อไปนี้ 1. คณะกรรมการทป่ี รกึ ษา ประกอบดว้ ย ๑. นางวมิ พว์ ิภา รักสม ตำแหนง่ ผอู้ ำนวยการ ประธานกรรมการ ตำแหนง่ ครู กรรมการ 2. นางสุลพี ร วงศส์ ุวรรณ ตำแหน่ง ครู กรรมการ ตำแหน่ง ครู กรรมการ 3. นายถาวร ยอดเจริญ ตำแหนง่ ครู กรรมการ ตำแหนง่ ครู กรรมการ 4. นายพัฒนา ยงั ชว่ ย ตำแหนง่ ครู กรรมการและเลขานุการ ตำแหน่ง ครูอัตราจา้ ง กรรมการและผชู้ ่วยเลขานกุ าร 5. นางสกุ ัญญา จันทรจ์ ำปา 6. นางสายสกุล เกษรบัว 7. นางมาลวี รรณ องอาจ 8. นางสาวชนกมลย์ คงยก มหี นา้ ท่ี 1.1 เปน็ ที่ปรกึ ษาใหข้ ้อเสนอแนะแกค่ ณะกรรมการดำเนนิ การ 1.2 ติดตามผลการปฏบิ ตั ิงานของคณะกรรมการฝา่ ยตา่ งๆ 1.3 ชว่ ยพจิ ารณากำหนดแนวทางในการดำเนินการเพ่ือให้เกิดความเรียบร้อย และมี ประสทิ ธิภาพ
45 รายงานการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) ๒. คณะกรรมการฝ่ายดำเนินการ ประธานกรรมการ ประกอบด้วย กรรมการ กรรมการ 1. นางมาลวี รรณ องอาจ ตำแหนง่ ครู กรรมการ 2. นายถาวร ยอดเจรญิ ตำแหนง่ ครู กรรมการและเลขานุการ 3. นางสลุ ีพร วงศส์ ุวรรณ ตำแหน่ง ครู กรรมการและผ้ชู ว่ ยเลขานกุ าร 4. นางสกุ ัญญา จันทรจ์ ำปา ตำแหน่ง ครู 5. นางสายสกุล เกษรบวั ตำแหน่ง ครู 6. นางสาวชนกมลย์ คงยก ตำแหน่ง ครูอัตราจา้ ง มีหนา้ ที่ 2.1 กำหนดวางแผนการประเมิน 2.2 สรุปผลรายงานการประเมิน 2.3 นำรายงานการประเมนิ ส่งเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา 2.4 นำรายงานการประเมนิ เผยแพรแ่ ก่สาธารณชน 2.5 ปฏบิ ตั งิ านอ่ืนๆ ที่ไดร้ บั มอบหมาย 3. คณะกรรมการฝ่ายปฏิบัติงานประเมินมาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผู้เรยี น ประกอบด้วย 1. นายถาวร ยอดเจริญ ตำแหน่ง ครู ประธานกรรมการ 2. นางพมิ ลรัตน์ รฐั ธรรม ตำแหนง่ ครู กรรมการ 3. นางอาวรณ์ เมฆมณี ตำแหนง่ ครู กรรมการ 4. นางสาวพรทพิ า มณีพรหม ตำแหนง่ ครอู ัตราจ้าง กรรมการ 5. นางเรณู รกั ษารัตน์ ตำแหน่ง ครู กรรมการและเลขานุการ มหี น้าท่ี 3.1 จัดเตรยี มเอกสารข้อมูล หลักฐาน และทำการประเมนิ 3.2 สง่ ผลการประเมนิ ตอ่ กรรมการดำเนนิ การ 3.3 ปฏบิ ัตงิ านอื่นๆ ท่ีไดร้ ับมอบหมาย 4. คณะกรรมการฝา่ ยปฏิบัติงานประเมนิ มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและจดั การ ประกอบดว้ ย 1. นางสุกัญญา จนั ทร์จำปา ตำแหนง่ ครู ประธานกรรมการ 2. นางมาลีวรรณ องอาจ ตำแหน่ง ครู กรรมการ 3. นายพัฒนา ยงั ช่วย ตำแหน่ง ครู กรรมการ 4. นางสาวชนกมลย์ คงยก ตำแหน่ง ครูอัตราจา้ ง กรรมการและเลขานุการ มหี น้าที่ 4.1 จัดเตรยี มเอกสาร ข้อมูล หลกั ฐาน และทำการประเมินผล 4.2 ส่งผลการประเมนิ ตอ่ คณะกรรมการดำเนนิ การ 4.3 ปฏบิ ตั งิ านอน่ื ๆ ทไ่ี ด้รับมอบหมาย
46 รายงานการประเมนิ ตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) 5. คณะกรรมการฝ่ายปฏบิ ัติงานประเมินมาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนทเ่ี นน้ ผู้เรียน เป็นสำคัญ ประกอบดว้ ย 1. นางสลุ ีพร วงศ์สวุ รรณ ตำแหนง่ ครู ประธานกรรมการ 2. นายธรรมรตั น์ วงศ์สวุ รรณ ตำแหนง่ ครู กรรมการ 3. นายจรูญ เชาวลิต ตำแหน่ง ครู กรรมการ 4. นางปรญี า ยอดเพ็ชร ตำแหนง่ ครู กรรมการ 5. นายอดุ มศกั ด์ิ จันทร์จำปา ตำแหน่ง ครู กรรมการ 6. นางสาวจริ าภรณ์ จนั ทรช์ ุม ตำแหน่ง ครูอัตราจา้ ง กรรมการ 7. นางสายสกุล เกษรบัว ตำแหนง่ ครู กรรมการและเลขานุการ มหี นา้ ที่ 5.1 จดั เตรียมเอกสาร ข้อมูลหลกั ฐาน และทำการประเมินผล 5.2 สง่ ผลการประเมินตอ่ คณะกรรมการดำเนินการ 5.3 ปฏบิ ตั ิงานอ่นื ๆ ทไี่ ด้รบั มอบหมายให้ผทู้ ่ีได้รบั การแต่งตั้งตามคำส่งั น้ี ปฏิบตั ิหนา้ ทีด่ ว้ ย ความรบั ผดิ ชอบอย่างเต็มความสามารถ เพื่อเกดิ ประโยชน์สูงสดุ แก่ทางราชการสบื ไป สง่ั ณ วันท่ี 22 เดอื น พฤษภาคม พุทธศกั ราช ๒๕63 ( นางวิมพว์ ิภา รักสม ) ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นโมคลานประชาสรรค์
Search
Read the Text Version
- 1 - 47
Pages: