Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือสถานศึกษาปลอดภัย

คู่มือสถานศึกษาปลอดภัย

Published by napat.et50, 2023-07-24 03:24:01

Description: คู่มือสถานศึกษาปลอดภัย

Search

Read the Text Version

1

2 ประกาศโรงเรยี นโมคลานประชาสรรค์ ด้วยโรงเรียนโมคลานประชาสรรค์ มีความห่วงใยและตระหนักถึงความปลอดภัยในชีวิตและ ทรัพย์สินของบุคลากร และนักเรียน เพื่อให้นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา ตลอดจนผู้มาติดต่อ ราชการปลอดภัยจากอุบัติเหตุ เหตุร้าย ภัย พิบัติ สิ่งที่เป็นอันตราย ทั้งต่อจิตใจ ชีวิต ทรัพย์สิน และรักษา ทรพั ยส์ นิ ของทางราชการ จึงกำหนดมาตรการรักษาความ ปลอดภัยของโรงเรยี นโมคลานประชาสรรค์ ดังน้ี 1. ใหค้ รูและนกั การภารโรงสำรวจ ตรวจสอบ หอ้ งเรยี น อาคารเรียน อาคารประกอบ ห้องปฏิบัติการ ห้องพิเศษ หอ้ งนำ้ หอ้ งส้วม แหลง่ เรยี นรู้ อปุ กรณเ์ ครอื่ งเล่นกีฬา พัสดุ อปุ กรณอ์ น่ื ๆ โดยรอบบริเวณโรงเรียน เป็นประจำทุกวันให้อยู่ในสภาพท่ีม่ันคง แข็งแรง หากพบว่าวัสดุอปุ กรณ์ต่างๆ อาจเกิดอันตราย ให้ แจ้งต่อครู เวรประจำวัน หัวหน้างาน อาคารสถานที่และหรือผู้บริหารสถานศึกษาทราบทันทีแล้วดำเนินการซ่อมแซมให้ เปน็ ทีเ่ รยี บร้อย 2. ให้ครูและนักการภารโรงสำรวจ ตรวจสอบ เครื่องตัดหญ้า รถตัดหญ้า อุปกรณ์ตัดหญ้า ให้อยู่ใน สภาพที่มั่นคง แข็งแรง หากพบว่าอุปกรณ์ต่างๆ ชำรุด ให้แจ้งต่อครูเวรประจำวัน หัวหน้างานอาคารสถานท่ี และหรือผู้บริหารสถานศึกษาทราบ ทันทีและดำเนินการซ่อมแซมให้เป็นที่เรียบร้อย กรณีการตัดหญ้าให้ใช้ ความระมัดระวัง ไม่ประมาท เลินเล่อ ควรเลือกเวลา ที่ปลอดภัย เช่น หลังเลิกเรียน หรือวันหยุดเสาร์อาทิตย์ เพ่อื ปอ้ งกนั การเกดิ อุบตั เิ หตุ 3. ให้ครูและนกั การภารโรงตรวจตรา ตรวจสอบ สายไฟฟา้ ระบบไฟฟา้ เครื่องใช้ไฟฟา้ ทุกชนดิ ระบบ ประปา ทั้งใน อาคารเรียน นอกอาคารเรียน บริเวณโรงเรียน เป็นประจำทุกวัน หากพบข้อบกพร่อง อุปกรณ์ วัสดุ ชำรุดเสียหาย ไฟฟ้ารั่ว น้ำประปารั่ว ให้แจ้งครูเวรประจำวัน หัวหน้างานอาคารสถานที่ และหรือแจ้ง ผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษาทราบ และดำเนนิ การ ปรบั ปรงุ แกไ้ ขให้เรยี บรอ้ ย 4. ให้ครูเวรประจำวนั เฝา้ ระวัง สำรวจ ตรวจสอบ ป้องกนั แก้ไข เร่ืองมลภาวะท่ีเปน็ พิษท่ีอาจเกิดขึ้นและเป็น อันตรายต่อสุขภาพ วัตถุที่เป็นอันตราย เช่น ระเบิด อาวุธ สารพิษ แก๊สพิษ สิ่งแปลกปลอม เศษแก้วเศษตะปู ฯลฯ โดย ตดิ ต่อประสานงาน ผู้นำชุมชน คณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพื้นฐาน ผ้ปู กครองนักเรียนหน่วยงานท่ี เกี่ยวข้อง เพื่อ ดำเนินการแก้ไขให้ทันท่วงที และแจ้งให้หัวหน้าฝ่ายงานที่รับผิดชอบและหรือแจ้งผู้บริหาร สถานศึกษาทราบด้วย 5. หากสำรวจพบว่า อาคารสถานท่ี วัสดุ อุปกรณ์ ระบบไฟฟ้า ระบบประปาชำรุดเสียหาย และ สุดวิสัยที่ไม่ สามารถดำเนินการแก้ไขได้เสร็จทันท่วงที ให้นักการภารโรง จัดทำแนวกั้น จัดทำป้ายเตือน ประสานครูเวรใหแ้ จ้งเตือน นกั เรียนใหร้ ะมดั ระวงั ไม่เข้าใกล้ และรีบดำเนนิ การแก้ไขให้แลว้ เสร็จในระยะเวลา ทเ่ี รว็ ที่สุด และแจง้ ใหห้ ัวหน้างานอาคาร สถานท่ี และหรอื แจง้ ผบู้ รหิ ารทราบดว้ ย 6. ให้ครูเวรประจำวันและครูที่ปรึกษา ดูแลนักเรียนที่มาถึงโรงเรียนในตอนเช้า ควบคุมการทำความ สะอาด ห้องเรียน เขตรับผิดชอบ กิจกรรมโฮมรูมหลังเลิกแถว ประจำวัน การรับประทานอาหาร โดยควบคุม ตรวจตราตรวจสอบ ความผิดปกติของนักเรียน หากพบปัญหาใหป้ ระสานงานครูที่ปรึกษา และหรือผู้ปกครอง เพือ่ ทำการแก้ไขและแจ้งให้ ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาทราบทันที

3 7. ให้ครูที่ปรึกษาทำหน้าที่ครูแนะแนว ให้คำแนะนำ ปรึกษา จัดทำระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ใน ชั้นเรียนที่ได้รับ มอบหมาย ให้ความรัก ความเอาใจใส่ เอื้ออาทร พัฒนานักเรียนให้เต็มศักยภาพ โดยการ สนทนา ซักถาม ควบคุม กำกับ ติดตาม อยู่เสมอ หากพบความผิดปกติหรือการเปลี่ยนแปลงของนักเรียน ให้ ดำเนนิ การใหค้ วามช่วยเหลือ พรอ้ มทัง้ แจง้ ให้ผู้บรหิ ารสถานศึกษาทราบทันที 8. ให้ครเู วรประจำวัน และครูทปี่ รึกษา ตดิ ตาม ดแู ล เอาใจใส่ ตอ่ พฤติกรรมเสี่ยงต่อยาเสพติดให้โทษ พฤติกรรม เสี่ยงด้านการพนัน อบายมุขต่าง ๆ พฤติกรรมเสี่ยงด้านชู้สาว พฤติกรรมเสี่ยงปัญหาทางเพศ พฤติกรรมเส่ยี งการเล่นเกมและ อินเตอรเ์ น็ต พฤติกรรมเสี่ยงการทะเลาะววิ าท การถกู เอารัดเอาเปรียบการถูก รงั แก ถูกละเมิดทางร่างกายและจิตใจ หาก พบความผดิ ปกตใิ หด้ ำเนินการช่วยเหลือ ประสานงานผู้ที่เกี่ยวข้อง และแจง้ ใหผ้ ู้บรหิ ารทราบต่อไป 9. ใหค้ รูผทู้ ีเ่ กีย่ วขอ้ ง ไดต้ รวจสอบการประกอบอาหารกลางวนั การจำหน่ายสินคา้ ของรา้ นคา้ ผู้ค้าท้ัง ใน สถานศึกษา และโดยรอบสถานศึกษา เน้นย้ำให้นักเรียนได้บริโภคอาหารที่สะอาด ปลอดภัย มีประโยชน์ และประสานงาน ขอความร่วมมือร้านค้า ผู้ค้าให้จำหน่ายสินค้าทีด่ ี มีคุณภาพ ถูกต้อง ตามระเบียบ กฎหมาย และนโยบายของโรงเรียน 10. ให้ผู้ที่ได้แต่งตั้งเป็นเจ้าหน้าที่เวรรักษาความปลอดภัยสถานที่ราชการตามระเบียบว่าด้วยการ รกั ษาความ ปลอดภยั แหง่ ชาติ พ.ศ. 2552 โดยเครง่ ครดั 10.1 หากผู้ใดได้รับคำสั่งจากผู้บังคับบัญชาให้เดินทางไปราชการนอกท้องที่อำเภอหรือจังหวัด หรอื ไดร้ ับ อนญุ าตใหล้ าตามระเบยี บสำนักนายกรฐั มนตรี วา่ ดว้ ยการลาของข้าราชการ พ.ศ. 2555 และจะตอ้ ง จัดหาเจ้าหน้าที่ใน โรงเรียนโมคลานประชาสรรค์ ให้ปฏิบัติหน้าที่อยู่เวรแทนผู้อื่น แล้วแจ้งให้ผู้บังคับบัญชา ทราบ 10.2 หากผใู้ ดทป่ี ว่ ยและวนั ที่ปว่ ยตรงกบั วนั ที่ท่ีจะปฏิบัติหนา้ ทรี่ ักษาเวรรกั ษาความปลอดภัย และ การป่วย นั้นยังสามารถที่จะแจ้งให้ผู้บังคับบัญชาทราบว่าตนได้ป่วย และไม่สามารถจะปฏิบัติหน้าที่เวรรักษา ความปลอดภัยสถานที่ ราชการได้ ให้ผู้นั้นแจ้งผู้บังคับบัญชาหรือผู้ตรวจเวรทราบโดยวิธีใดวิธีหนึ่งที่ ผู้บงั คบั บญั ชาหรือผู้ตรวจเวรจะพงึ ทราบได้ เพอ่ื พจิ ารณาวนิ จิ ฉยั ส่ังการตอ่ ไป 11. ให้หัวหน้าฝ่ายบริหารกิจการนักเรียน และหรือครูที่รับผิดชอบอาคารสถานท่ี จัดทำข้อมูล สารสนเทศ ที่อยู่ เบอร์ติดต่อ ของนักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครองครอง ผู้นำชุมชน สถานี อนามัย โรงพยาบาลตำรวจ หน่วยกู้ชีพ องค์การบริหารส่วนตำบล หน่วยงานต้นสังกัด อำเภอ จังหวัด ศาล และที่เกี่ยวข้องเพื่อการติดต่อประสานงาน การส่งต่อได้ทันท่วงที และให้ปรากฏได้ชัดเจนไว้ในที่ต่าง ๆ ตาม ความเหมาะสม

4 12. ใหค้ รผู ูท้ ม่ี ีส่วนเกยี่ วข้อง ไดร้ บั แตง่ ตั้งควบคุมนักเรียนไปทำกิจกรรมทั้งใน และนอกสถานท่ีการไปทศั น ศึกษา การอยู่คา่ ยพกั แรมลูกเสือ เนตรนารี การไปเขา้ ค่าย การไปรว่ มกิจกรรม การไปแข่งขัน จดั ทำประวตั ิ และประกนั ชีวติ แสดง รายละเอียดของนักเรยี น กำกับ ควบคมุ ดแู ล เอาใจใส่ รกั ษาความปลอดภัย ให้แก่ นกั เรียนอยา่ งเตม็ ความสามารถ หากเกดิ เหตุอนั ตรายให้ดำเนินการแก้ไข และหรือนำนักเรียนไปเขา้ รับการ รักษาโดยดว่ น ตลอดทั้งประสานงานใหผ้ ู้ปกครอง หรือ หน่วยงานที่เก่ยี วข้อง และแจง้ ให้ผูบ้ รหิ ารทราบทันที 13. ให้ครูผ้มู ีสว่ นเกี่ยวข้องจดั ทำรายงานผลการดำเนนิ งานตามมาตรการรักษาความปลอดภัยของโรงเรยี นโม คลานประชาสรรค์เม่ือส้ินปกี ารศึกษา เสนอตอ่ ผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษา ผ้มู ีส่วนเก่ียวข้องและเผยแพร่ตอ่ สารธารณ ชน แลว้ นำขอ้ มลู มาปรบั ปรุง แกไ้ ข พฒั นามาตรการรักษาความปลอดภยั ในปีการศกึ ษาต่อไปอย่างต่อเนื่อง จงึ ประกาศมาเพื่อทราบและถือปฏบิ ัตโิ ดยท่ัวกนั ประกาศ ณ วันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2564 (นางสิรวิ รรณ มณีโชติ) ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นโมคลานประชาสรรค์

5 คำนำ ด้วยโรงเรียนโมคลานประชาสรรค์ มีความห่วงใยและตระหนักถึงความปลอดภัยในชีวิตและ ทรัพย์สินของบุคลากร และนักเรียน จึงกำหนดนโยบายด้านความปลอดภัยในสถานศึกษาและสร้างมาตรการ รักษาความปลอดภัยของสถานศึกษา โดยผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายจะต้องร่วมกันหาแนวทางที่เป็นรูปธรรมใน การดูแลช่วยเหลือนักเรียนให้ได้เรียนรู้อย่างมี ความสุขเป็นไปตามหลักสูตร มีทักษะชีวิตที่จะดูแลตนเองให้ ปลอดภยั ดังนัน้ โรงเรียนโมคลานประชาสรรค์ซ่ึงมภี ารกิจและความรับผิดชอบในการจัดการศึกษาต้องดำเนินการ อย่างมีคุณภาพความปลอดภัยของสถานศึกษาจึงเป็นเรื่องที่มี ความสำคัญต่อการจัดการศึกษาของสถานศึกษา เพราะนอกจากจะทำให้นกั เรยี นได้เรียนรู้อย่างมีความสุขแลว้ ยังมผี ลต่อการพัฒนาด้านอ่ืน ๆ อกี ดว้ ย เอกสารมาตรการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษา เลม่ นี้ จัดทำขนึ้ เพ่ือใชเ้ ป็นแนวทางใน การดูแลความ ปลอดภัยของนักเรียนทุกคนในโรงเรยี นโมคลานประชาสรรค์ด้านการปอ้ งกันและแก้ไขอุบัติเหตุ อุบตั ิภยั และปญั หา ทางสังคม ด้านสุขภาพอนามัยของนักเรียน ด้านสัตวม์ พี ิษ ขอขอบคุณผู้ที่เกี่ยวข้องทุกท่าน ที่มีส่วนสนับสนุนให้คู่มือเล่มนี้มีความสมบูรณ์ เพื่อให้ สถานศึกษาได้นำไปใช้อยา่ ง มีประสทิ ธิภาพ โรงเรยี นโมคลานประชาสรรค์

6 สารบัญ หน้า เรอื่ ง 1 1 1. นโยบายและการวางแผนการรกั ษาความปลอดภัยของโรงเรียนโมคลานประชาสรรค์ 2 1) เปา้ ประสงค์ 2 2) เปา้ หมาย 2 3) ยุทธศาสตร์ 3 3 2. การวางแผนรักษาความปลอดภัยของโรงเรยี นโมคลานประชาสรรค์ 5 3. แนวทางและมาตรการป้องกนั และแกไ้ ขปญั หา อุบตั ิเหตุ อุบตั ิภยั และปญั หาทางสังคมอื่น 8 9 1. ภยั บุคคล 15 2. ภยั จากอบุ ัตเิ หตุ 20 3. การป้องกันอบุ ัติภยั 20 4. การปอ้ งกันและแก้ไขปญั หาทางสงั คม 21 5. สุขภาพอนามัยของนักเรียน 21 ยุทธศาสตร์การดำเนนิ งาน 22 มาตรการท่ี 1 แนวทางการป้องกนั ภยั 23 มาตรการที่ 2 แนวทางการชว่ ยเหลือเม่อื เผชญิ เหตุและการแกป้ ัญหา 23 มาตรการที่ 3 การเยียวยาและการบำรุงขวัญ 24 มาตรการท่ี 4 การรายงานเหตุ 25 กระบวนการ/แนวทางการดำเนนิ งานมาตรการปอ้ งกันภยั 26 1. มาตรการป้องกนั ภยั 2. มาตรการแนวทางการชว่ ยเหลอื เมื่อเผชญิ เหตุและการแก้ปัญหา 3. มาตรการเยียวยาและการบำรงุ ขวญั 4. มาตรการการรายงานเหตุ

1 มาตรการป้องกันภัยของข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา นักเรียนและผู้มีสว่ นเกี่ยวข้อง โรงเรียนโมคลานประชาสรรค์ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร “สถานศึกษาปลอดภยั ” ****************************************************** ๑. นโยบายและการกำหนดมาตรการปอ้ งกันภัยของขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา นกั เรยี นและ ผูม้ สี ่วนเกี่ยวข้อง เพอื่ สรา้ งมาตรฐาน ความปลอดภัยในโรงเรียนโมคลานประชาสรรค์ ด้วยโรงเรียนโมคลานประชาสรรค์ มีความห่วงใยและตระหนักถึงความปลอดภัยในชีวิตและ ทรัพย์สินของ บุคลากร และนักเรียน จึงกำหนดนโยบายด้านความปลอดภัยในสถานศึกษาและสร้างมาตรการ รักษาความปลอดภัยของสถานศึกษา โดยผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายจะต้องร่วมกันหาแนวทางที่เป็นรูปธรรมใน การดูแลช่วยเหลือนักเรียนให้ได้เรียนรู้อย่างมี ความสุข เป็นไปตามหลักสูตร มีทักษะชีวิตที่จะดูแลตนเองให้ ปลอดภยั ดงั น้ันโรงเรยี นโมคลานประชาสรรค์ ซึง่ มภี ารกจิ และความรับผิดชอบในการจัดการศึกษาต้องดำเนินการ อย่างมีคุณภาพความปลอดภัยของสถานศึกษาจึงเป็นเรื่องที่มีความสำคัญต่อการจัดการศึกษาของสถานศึกษา เพราะนอกจากจะทำใหน้ ักเรียนได้เรียนรู้อย่างมีความสุขแลว้ ยังมีผลต่อการพฒั นาดา้ นอ่ืน ๆ อีกดว้ ย ดังนั้นโรงเรียนโมคลานประชาสรรค์ ซึ่งมีความรับผิดชอบในการจัดและพัฒนาการศึกษาให้เกิด คุณภาพพร้อมทั้ง ดูแล ปกป้อง คุ้มครองและช่วยเหลือให้บุคลากรและนักเรียนในสถานศึกษามีความมั่นใจใน ความปลอดภยั และอยู่รว่ มกนั ใน สถานศึกษาอยา่ งมีความสขุ จึงไดก้ ำหนดแนวทางและมาตรการป้องกนั ภัยของ ขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา นกั เรียนและผ้มู สี ่วนเกย่ี วข้องขึ้น 1) เปา้ ประสงค์ (1) เพื่อให้มีรูปแบบแนวทางการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษาด้านอุบัติเหตุ ด้าน อุบัติภัย และ ด้านปัญหาทางสังคม โดยอาศัยแนวคิดเชิงสร้างสรรค์ภายใต้หลักการกระจายอำนาจการมีส่วน ร่วมและยดึ ประโยชนส์ ูงสุด ของนักเรยี นเปน็ สำคญั (2) เพื่อสร้างความเข้มแข็งระบบการรักษาความปลอดภัยของสถานศึกษาให้มีความพร้อม สามารถ ป้องกันและแก่ไขสถานการณ์ปัญหาของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา นักเรียน ทั้งด้าน อบุ ัตเิ หตุ อบุ ตั ิภัย และ ปญั หาทางสงั คมทจี่ ะเกดิ ขึ้นอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ (3) เพื่อให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา นักเรียนทุกคนได้รับการปกป้องและ ค้มุ ครองความ ปลอดภยั ท้งั ดา้ นร่างกายและจติ ใจโดยเฉพาะนักเรียนจะได้รบั การดูแลอย่างใกล้ชิดและสามารถ อยู่ในสงั คมได้อยา่ ง ปลอดภัยและมคี วามสขุ (4) เพื่อสร้างความตระหนักในการรักษาความปลอดภัยของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษา โดยการให้ความรคู้ วามเข้าใจแกผ่ ู้ที่รบั ผิดชอบและผู้ท่ีมสี ว่ นเกี่ยวข้องกบั การรักษาความปลอดภัย ของสถานศึกษา

2 2) เป้าหมาย (1) ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษานักเรียนและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกคนใน สถานศึกษาได้รบั การค้มุ ครองดูแลความปลอดภัยและป้องกันความขัดแยง้ ท่เี กดิ จากความคิดเห็นท่ีแตกตา่ ง (2) ผู้บริหารสถานศึกษาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาผู้ปกครองนักเรียนมี แนวทางในการ ป้องกันและรักษาความปลอดภยั แก่นกั เรียน (3) เครอื ข่ายหนว่ ยงานภาครฐั และเอกชนมีส่วนร่วมในการดูแลความปลอดภัยให้แก่นักเรียน 3) ยทุ ธศาสตร์ (1) จัดระบบการรักษาความปลอดภัยและป้องกันความขัดแย้งให้แก่ข้าราชการครูและ บุคลากรทางการ ศึกษานักเรียนโดยการมีส่วนร่วมของ ครู ผู้ปกครอง เครือข่ายทั้งภาครัฐและเอกชนอย่างมี ประสทิ ธภิ าพ (2) กำหนดมาตรการรักษาความปลอดภัยของนกั เรยี น (3) มกี ารกำกับ ติดตาม ประเมนิ ผลและรายงาน ๒. การวางแผนรกั ษาความปลอดภัยของโรงเรียนโมคลานประชาสรรค์ แนวทางการวางแผนการรักษาความปลอดภัยให้แก่นักเรียน เนน้ การมสี ว่ นรว่ มของทุกภาค ส่วน ในสังคม ระหว่าง นักเรียน ครู ผู้ปกครอง ชุมชน และเครือข่าย โดยร่วมกันวางแผนเฝ้าระวัง ป้องกัน แก้ไข ควบคุม กำกับ ติดตาม ประเมินผลและรายงาน จึงจำเป็นต้องมีมาตรการและกิจกรรมเพื่อให้รับประโยชน์ สูงสดุ ตามเจตนารมณ์ของ หลักสทิ ธิ มนุษยชน พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และที่แก่ไข เพิ่ม เดิม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 และพระราชบัญญัติ คุ้มครองเด็ก พ.ศ.2546 พร้อมทั้งนโยบายของสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ดงั น้ี ข้ันตอน ภารกจิ 1. ศกึ ษาสภาพท่ัวไป ศึกษาสภาพทัว่ ไปของโรงเรยี น ชุมชน ความเข้มแข็งของเครือขา่ ยเพ่ือ วเิ คราะห์ ความเสีย่ งจากการเกิดอุบตั เิ หตุ อุบัติภยั และภยั จาก สภาพแวดลอ้ ม 2. กำหนดมาตรการหลกั ปฏิบตั มิ าตรการหลักเพื่อป้องกนั และ/หรือ แก้ไข ตามมาตรการ 3. กำหนดมาตรการเสรมิ กำหนดมาตรการเสริมใหเ้ หมาะสมกบั ความเชอื่ วฒั นธรรมและประเพณี ของท้องถิน่ และสภาพความเสยี่ งของทอ้ งถ่นิ 4. กำหนดกิจกรรม จดั กจิ กรรมสนับสนนุ มาตรการหลักและมาตรการเสริม (กจิ กรรมรณรงค์ สวม หมวกนริ ภัย 100 เปอรเ์ ซ็นต์ ,กิจกรรมรณรงค์ต่อตา้ นยาเสพตดิ ฯลฯ) 5. กำหนดเวลาและ กำหนดปฏิทนิ การปฏิบตั ิงานและผรู้ ับผิดชอบอย่างชัดเจน ผู้รับผิดชอบ

3 3. แนวทางและมาตรการปอ้ งกนั และแก้ไขปญั หา อุบัติเหตุ อบุ ตั ภิ ัย และปัญหาทางสังคมอืน่ สาเหตุ มาตรการป้องกนั และแก้ไข ผู้รบั ผิดชอบ 1. ภัยบุคคล 1. โรงเรียนกำหนด กฎ ระเบียบ ที่มาจากข้อเสนอแนะ 1. ผบู้ ริหารโรงเรยี น 1.1. ครูกับนักเรยี น และการมีส่วนร่วม ของนักเรียน เพื่อให้นักเรียนถือ 2. ครปู ระจำชั้น ปฏิบัติได้โดยไม่ขัดต่อหลักสิทธิเสรีภาพของ บุคคลโดย 3. นกั เรยี น จัดพิมพ์เผยแพร่ประขาสัมพันธ์ เพื่อให้ครูและบุคลากร 4. ผปู้ กครอง ทางการ ศึกษาผปู้ กครองได้ทราบ 2. จัดให้มีการประชุมผู้ปกครองนักเรียนปีการศึกษาละ 2 ครั้ง (ภาคเรียนละ 1 ครั้ง) เพื่อทำความเข้าใจและ หารือข้อตกลงร่วมกันเกี่ยวกับการคุ้มครอง ดูแล ช่วยเหลือนักเรียนและแจ้งระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการ ลงโทษนกั เรียน 3. ผู้บริหารสถานศึกษากำกับติดตามไม่ให้ข้าราชการครู และบคุ ลากรทางการ ศกึ ษาลงโทษนักเรียนดว้ ยวิธีความ รุนแรงหรือแบบกลั่นแกล้งความโกรธหรือ ความ พยาบาท โดยคำนึงถึงอายุของนักเรียนและความ ร้ายแรงของ พฤติการณ์ประกอบการลงโทษด้วย เพื่อที่จะแก้นิสัยความประพฤติที่ไม่ดีของ นักเรียน ใน กรณีที่ข้าร าช การ คร ูแล ะ บุ คล า กร ทา ง กา รศ ึก ษ า ไ ด้ ลงโทษนักเรียน ทปี่ ระพฤติผดิ กฎ ระเบียบ กฎหมายตอ้ ง ทำหนังสือแจ้งผู้บังคับบัญชาทราบพร้อมระบุเหตุและ การลงโทษการกระทำความผิด โดยให้ ถือปฏิบัติตาม ระเบยี บกระทรวงศึกษาธกิ ารว่าด้วย การลงโทษนักเรียน และ นักศึกษา พ.ศ.2548 ซึ่งมีการลงโทษ ผู้กระทำ ความผิด 4 สถาน ดังน้ี (1) ว่ากล่าวตักเตือน : ใช้ในกรณีที่นักเรียนทำความผิด ไม่ร้ายแรง (2) การทำทัณฑ์บน : ใช้ในกรณีที่นักเรียนประพฤติตน ไม่เหมาะสมกับ สภาพนักเรียนตามกฎกระทรวงว่าด้วย ความประพฤติ นักเรียน นักศึกษา ใน กรณีทำให้เสีย ชื่อเสียงและเกียรติศักดิ์ ของส ถาน ศึก ษาหรื อฝ่ า ฝื น

1.2 ครกู ับบคุ คลอ่นื 4 ระเบยี บของ สถานศกึ ษาหรือได้รับโทษว่ากล่าวตักเตือน แล้วแตย่ งั ไมเ่ ข็ด หลาบ การทำทัณฑ์บนเป็นหนังสือและเชิญบิดา มารดา หรือผู้ปกครองมารับทราบความผิด และรับรองการทำ ทัณฑ์บนไว้ด้วย (3) การตัดคะแนนความประพฤติ : ให้เป็นไปตาม ระเบียบว่าด้วย การตัด คะแนนความประพฤตินักเรียน และนักศึกษาของแต่ละสถานศึกษากำหนด และให้ทำ บันทกึ เป็นข้อมูลหลักฐาน (4) ทำกิจกรรมเพอ่ื ใหป้ รับเปลยี่ นพฤติกรรม : ใชใ้ นกรณี ท่ี นักเรียนและนักศึกษากระทำความผิดที่สมความ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจัดกิจกรรมให้ เป็นไปตาม แนวทางกระทรวงกำหนด 1. จัดให้มีการประชุมผู้ปกครองนักเรียนปีการศึกษาละ 1. ผูบ้ รหิ ารโรงเรยี น 2 ครั้ง (ภาคเรียนละ 1 ครั้ง) โดยให้ผู้บริหารและครูที่ 2. ครูประจำชั้น ปรึกษาได้พบกับผู้ปกครองเพื่อแจ้ง พฤติกรรมของ 3. นักเรยี น นักเรียนให้ผู้ปกครองรับทราบแลกเปลี่ยนความคิดเห็น 4. ผู้ปกครอง และทำ ความเข้าใจรวมทั้งหารือแนวทางแก้ไข ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของนกั เรียน 2. จัดให้ครูที่ปรึกษาได้มีการเยี่ยมบ้านนักเรียนอย่าง นอ้ ยปีละ 1 คร้ัง 3. เมื่อข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาได้ ลงโทษ นักเรียนที่ ประพฤติผิดกฎระเบียบ กฎหมาย ต้องแจ้งให้ผู้ปกครองรับทราบพร้อมระบุ เหตุและการ ลงโทษการกระทำความผิด โดยใหถ้ ือปฏบิ ัติตามระเบียบ กระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการลงโทษนักเรียนและ นักศึกษา พ.ศ. 2548 ซึ่ง มีการลงโทษผู้กระทำความผิด 4 สถาน ดงั น้ี (1) ว่ากล่าวตักเดือน : ใช้ในกรณีที่นักเรียนทำความผิด ไม่รา้ ยแรง (2) การทำทัณฑ์ ใช้ในกรณีที่นักเรียนประพฤติตนไม่ เหมาะสมกับสภาพ นักเรียนตามกฎกระทรวงว่าด้วย

5 ความประพฤตินักเรียน นักศึกษาในกรณี ทำให้เสีย ชื่อเสียงและ เกียรติศักดิ์ของสถานศึกษาหรือฝ่าฝืนระเบียบของ สถานศึกษาหรือได้รับโทษว่ากล่าวตักเตือนแล้วแต่ยงั ไม่ เข็ดหลาบ การทำ ทัณฑ์บนเป็นหนังสือและเชิญบิดา มารดาหรือผู้ปกครองมารับทราบ ความผิด และรับรอง การทำทัณฑบ์ นไว้ดว้ ย (3) การตัดคะแนนความประพฤติ : ให้เป็นไปตาม ระเบียบว่าด้วยการตัด คะแนนความประพฤตินักเรียน และนักศึกษาของแต่ละสถานศึกษากำหนด และให้ทำ บันทกึ เป็นขอ้ มลู หลกั ฐาน (4) ทำกจิ กรรมเพื่อใหป้ รบั เปล่ียนพฤติกรรม : ใชใ้ นกรณี ที่นักเรียนกระทำ ความผิดที่สามารถปรับเปลี่ยน พฤติกรรมการจัดกิจกรรมให้เป็นไปตาม แนวทางท่ี กระทรวงกำหนด 1.3 ครูกับครู 1. ส่งเสริมให้ครูเข้ารับการอบรมมีความเข้าใจใน 1. ผบู้ รหิ ารโรงเรียน 2. ภัยจากอุบตั เิ หตุ ระเบียบกฎหมาย ของข้าราชการ วิธีปฏิบัติราชการใน 2. ครปู ระจำชั้น 2.1 อุบัติเหตุจาก อาคารเรยี นอาคาร สถานศกึ ษา 3. นักเรียน ประกอบ 2. ประเมินสภาวะทางอารมณ์ให้กับข้าราชการครูอย่าง 4. ผู้ปกครอง นอ้ ยปลี ะ 1 ครง้ั 3. จัดกิจกรรมส่งเสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่าง เพือ่ นครู 1. ตรวจสอบระบบไฟฟา้ สายไฟโครงสร้างและ 1. ผบู้ รหิ ารโรงเรยี น ส่วนประกอบอาคารเดอื นละ 1 คร้งั /ตามความจำเปน็ 2. ครปู ระจำช้นั 2. แต่งต้ังผู้รับผิดชอบดูแลในการดูแลรักษาอาคาร 3. นกั การภารโรง สถานท่ี 4. ผู้ปกครอง 3. ปฐมนเิ ทศนกั เรียนใหม่เกยี่ วกบั อาคารสถานท่ี 5. ชุ 4. ช้ีแจงให้ความรกู้ ารดแู ลรักษาเฝ้าระวังความปลอดภัย ของอาคารเรียน อาคารประกอบ 5. จดั ทำปา้ ยและแผนผังข้อควรระวงั ดา้ นความปลอดภัย ในจดุ อันตราย ทุกชน้ั เรยี นและแผนผงั

6 สาเหตุ มาตรการป้องกนั และแก้ไข ผรู้ บั ผิดชอบ 2.2 อุบัติเหตจุ าก 6. จัดให้มีแผนซักซ้อมการป้องกันและซักซ้อมการ บริเวณภายใน เคลื่อนย้าย กรณีเกิดเหตุ ฉุกเฉินอย่างน้อยภาคเรียนละ สถานศกึ ษา 1 คร้ัง 7. แต่งตั้งเวรยามรกั ษาความปลอดภยั ในสถานศึกษา 1. มีนโยบายความปลอดภัยในสถานศึกษาเป็นลาย 1. ผบู้ ริหารโรงเรียน ลกั ษณอ์ ักษร และมี ประกาศนโยบายให้เห็นไดช้ ัดเจน 2. ครูเวรประจำวนั 2. มีแผนงานและงบประมาณดำเนินการด้านความ 3. ครูอนามัยโรงเรยี น ปลอดภัยในสถานศกึ ษาที่ ชัดเจน 4. นักการภารโรง 3. อบรมหรือสาธิตหรือจัดกิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับ 5. เจา้ หน้าที่ โรงพยาบาล การปฐมพยาบาล เบ้ืองตน้ แกบ่ คุ ลากร สง่ เสริม สขุ ภาพ 4. แต่งตั้งครูเวรประจำวันคอยควบคุม กำกับ ติดตาม 6. นักเรียน ดูแลการรักษา ความปลอดภัยตลอดทัง้ วนั 7. ผปู้ กครอง 5. จัดให้มีผู้รับผิดชอบปฐมพยาบาลเบื้องต้นและนำส่ง สถานพยาบาล 6. กำหนดควบคมุ ดแู ลการจัดกจิ กรรมท่ีเกี่ยวข้องกับการ ปีนปา่ ยในที่สูง/ บอ่ น้ำ/สระนำ้ อย่างเขม้ งวด 7. ดูแลตัดแต่งกิ่งไม้ให้อยู่ในสภาพที่ปลอดภัยและบำรุง ดแู ลรกั ษาความ สะอาดโดยรอบสถานศึกษาสม่ำเสมอ 8. จัดให้ป้ายคำเตอื นเพื่อหลีกเลีย่ งการเกดิ อุบัตเิ หตุ 9. ใหค้ วามรู้และแนวทางปฏิบตั ิแก่นักเรยี นในกรณีที่พบ วัตถุสิ่งแปลกปลอม ซึ่งอาจเป็นวัตถุระเบิดหรือวัตถุ อนั ตราย 10. ติดต้ังไฟฟา้ ส่องสว่างรอบบริเวณสถานศึกษาและจุด เสีย่ ง 11. จัดใหม้ ีระบบการขออนุญาตออกนอกสถานศึกษา 12. จัดให้มีถงั ขยะแยกประเภทเพ่อื สะดวกในการจัดเก็บ และทำลาย

7 สาเหตุ มาตรการป้องกันและแก้ไข ผ้รู บั ผิดชอบ 2.3 อบุ ตั ิเหตจุ าก สภาพแวดลอ้ ม 1. สำรวจสภาพปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม มลภาวะใน 1. ผู้บริหาร โรงเรยี น ภายนอกของ สถานศกึ ษา สถานศกึ ษาและชุมชน เพอ่ื หาแนวทางแก้ไข 2. ครู 2.4 อุบตั ิเหตุจาก 2. แต่งตั้งคณะกรรมการโดยใช้ชุมชนและองค์กร 3. นักเรียน เครอื่ งมอื เครอ่ื งใช้ เครอ่ื งเล่นสนาม ปกครองส่วนท้องถิ่นมีส่วน ร่วมในการหาแนวทาง 4. ผปู้ กครอง อปุ กรณ์ตา่ งๆ เช่น เครื่องทำน้ำเย็น พัดลม ปอ้ งกันและแก่ไข 5. ชมุ ชน โทรทศั น์ ฯลฯ 3. ประสานงานกับหน่วยงานอน่ื 2.5 อุบตั ิเหตุ จากการ เดินทาง ไป-กลบั 4. จัดกิจกรรมสร้างจิตสำนึกและความตระหนักต่อ ระหวา่ งบา้ นและ สถานศกึ ษา ปัญหา สิ่งแวดล้อมให้กบั นักเรยี นบคุ ลากรในสถานศึกษา และชุมชน 1. ตรวจสอบทดสอบเครอ่ื งมือ เครื่องใช้เครือ่ งเล่นสนาม 1. ผู้บรหิ ารโรงเรียน และอปุ กรณ์ต่าง ๆ ใหม้ ีสภาพพรอ้ มใช้งานอย่เู สมอ 2. ครู 2. ห้ามใช้เครื่องมือ เครื่องใช้ เครื่องเล่นสนามและ 3. นักการภารโรง อุปกรณต์ ่างๆที่ชำรดุ 4. นักเรยี น 3. แนะนำ สาธิต และควบคุมการใช้อย่างถูกวิธีตาม 5. ผปู้ กครอง ประเภทของอุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ เครื่องเล่น 6. ชมุ ชน สนาม 4. จัดเก็บเคร่อื งมอื เครอื่ งใช้ อปุ กรณ์ทกุ คร้ังหลงั ใช้ 5. กำกับ ดูแลนักเรียนในการใช้เครื่องมือ เครื่องใช้ เครื่องเล่น สนาม อุปกรณ์ได้อย่างปลอดภยั 1. สถานศกึ ษา ผปู้ กครอง และชุมชน ร่วมมือกันกำหนด 1. ผู้บริหารโรงเรียน มาตรการรับ-ส่ง นักเรยี นตอนเช้าและเลิกเรยี น 2. ครู 2. กำกับดูแลนักเรียนที่ใช้จักรยาน จักรยานยนต์ให้ชิด 3. นักการภารโรง ทางซ้าย และเป็นแถว ให้ปฏิบัติตามกฎจราจรอย่าง 4. นกั เรยี น เคร่งครดั 5. ผู้ปกครอง 3. จัดครเู วรประจำวันตรวจเช็คนักเรียนท่ีมีผู้ปกครองมา 6. ชุมชน รับ 4. แนะนำการเดินแถวกลบั บา้ นและใหพ้ ่ีดแู ลนอ้ ง 5. ทำกิจกรรมเกย่ี วกับการฝึกปฏิบตั ิตามกฎจราจร 6. จัดครูเวรและนักเรียนคอยรับ-ส่งนักเรียนที่ประตูเข้า ออก

8 2.6 อบุ ตั ิเหตุจาก การ 1. ศึกษาและปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่า 1. ผู้บริหารโรงเรียน พานักเรียนไป นอก สถานศกึ ษา และการนำ ด้วยการพานักเรียน ไปศึกษานอกสถานศึกษาโดย 2. ครู นักเรยี น ร่วมกจิ กรรม สำคัญ เครง่ ครดั 3. นกั การภารโรง 2.7 อุบัติเหตจุ าก 2. เตรยี มการและวางแผนการดำเนนิ การอย่างชัดเจน 4. นักเรยี น ยานพาหนะรับ-สง่ นกั เรยี น 3. จดั ทำประวตั ินักเรยี นท่ีร่วมเดินทาง 5. ผปู้ กครอง 4. จดั ครคู อยควบคมุ ดูแลให้อยู่ในระเบียบวินัย 6. ชมุ ชน 5. จัดให้มีป้ายชื่อแสดงรายละเอียดนักเรียน/ป้ายบอกชื่อ ขบวนรถ 6. จดั ให้มเี วชภัณฑท์ ี่จำเปน็ ในการปฐมพยาบาลเบื้องต้น 7. ควบคมุ ดูแลการซอื้ อาหารรับประทาน 8. หากมีการใช้พาหนะรถยนต์ต้องแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ตรวจ สภาพรถยนต์ และตรวจประวัตคิ นขับเพ่ือความปลอดภัย 9. หลีกเล่ยี งกจิ กรรมที่มีความเสย่ี งต่อการเกิดอันตราย 10. จัดระบบดูแลความปลอดภยั อย่างใกลช้ ิด 11. ให้ความรู้นักเรียนในการร่วมกิจกรรมอย่างปลอดภัย ทุกครั้ง 12. ตรวจดูความเหมาะสมของสถานทเ่ี พ่ือความปลอดภัย 13. ประสานงานเจ้าหน้าที่ด้านการรักษาความปลอดภัย ทางถนน 1. ศึกษาและปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่า 1. ผ้บู รหิ ารโรงเรยี น ดว้ ยยานพาหนะ รบั -ส่งนกั เรยี น 2. ครปู ระจำช้นั 2. ตรวจสอบยานพาหนะให้มีความเหมาะสมปลอดภัยมี 3. นักการภารโรง สภาพพร้อมสภาพ การใชง้ านอย่ตู ลอดเวลา 4. ผปู้ กครอง 3. ตรวจสอบอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง เช่น ถังดับเพลิง ฯลฯ 5. ชุมชน ประจำยานพาหนะ 6. เจ้าหนา้ ท่ีตำรวจ 4. ตรวจสอบประวัติคนขับ ความสามารถในการขับข่ี 7. นักเรยี น ใบอนุญาตการขับขี่ 5. กำหนดให้มีพนักงานควบคมุ เพือ่ ดูแลความปลอดภัยของ ผู้โดยสาร 6. กำหนดแนวปฏิบัติในการโดยสารเพื่อความปลอดภัยแก่ นักเรียน และเจ้าของรถ เช่น ห้ามห้อยโหน ปีนป่ายหยอก ลอ้ ขณะรถยนต์เคลือ่ นท่ี

9 7. ตรวจสอบจำนวนนักเรียนทุกครั้งที่มีการขึ้นและลง รถยนต์ 8. จดั ทำป้ายชื่อรถรับ-สง่ นกั เรียนให้เหน็ อยา่ งชัดเจน 9. จดั ทำระบบประกนั ภัยโดยความสมัครใจใหก้ ับนักเรียน 3. การป้องกนั อุบัตภิ ยั 1. แตง่ ต้ังคณะกรรมการรบั ผดิ ชอบตรวจสอบอปุ กรณ์อย่าง 1. ผู้บริหารโรงเรยี น 3.1 อคั คีภัย/ วาตภัย/ สม่ำเสมอ 2. ครูประจำชนั้ อทุ กภัย/ ธรณพี ิบัติภัย 2. ใหค้ วามรู้และจัดทำแผนซกั ซ้อมนักเรยี นเก่ียวกับการดบั ไฟ 3. นักการภารโรง หนีไฟ 4. ผู้ปกครอง 4. การปอ้ งกนั และ 3. จดั ให้มีเจ้าหน้าที่อยเู่ วรรักษาสถานท่รี าชการอย่างเครง่ ครดั 5. ชุมชน แกไ้ ข ปญั หาทาง สงั คม 4. จัดทำป้ายแหลง่ ข้อมลู แจ้งเหตฉุ ุกเฉิน 6. เจา้ หน้าที่ตำรวจ 4.1 การลว่ งละเมิด ทาง 5. ดแู ลสถานที่ใหส้ ะอาด 7. นกั เรียน รา่ งกาย และจิตใจ 6. ถา้ เกิดเหตุอัคคภี ัยให้แจ้งหนว่ ยงานที่เกย่ี วข้องและรายงาน ตน้ สงั กดั ทนั ที 1. ผบู้ รหิ ารโรงเรยี น 7. ให้ความรใู้ นการปฏิบตั ิตนแก่นักเรยี นให้พ้นจากอนั ตราย 2. ครปู ระจำชัน้ 8. ตรวจสอบสภาพอาคารต่างๆ อยา่ งสม่ำเสมอ 3. ผปู้ กครอง 9. ตัดแต่งกง่ิ ไม้ที่อยู่ใกลอ้ าคาร 4. ชมุ ชน 10. ตดิ ตามขา่ วพยากรณ์อากาศสม่ำเสมอ 5. เจา้ หน้าทีต่ ำรวจ 11. จัดให้มีเวชภัณฑ์ทจ่ี ำเปน็ ในการปฐมพยาบาลเบ้ืองด้น 6. นกั จิตวทิ ยาเขต 12. จดั ป้ายแหลง่ ข้อมูลแจ้งเหตุฉุกเฉิน 7. เจา้ หน้าที่ สาธารณสขุ 1. แต่งตั้งกรรมการเฝ้าระวังป้องปรามนักเรียนที่มี พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ และสถานที่จุดเสี่ยงโดยเฉพาะ ห้องเรียน ห้องนำ้ 2. ให้ความรู้แกค่ รู นักเรยี น ผูป้ กครอง และชมุ ชน 3. จดั บรกิ ารใหค้ ำปรึกษาแก่นักเรียน 4. ใช้ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างจริงจังและ ต่อเน่อื ง 5. ใหม้ ผี ู้รบั ผดิ ชอบรายงานตามลำดับข้ัน 6. นำนกั เรียนเข้าสู่การช่วยเหลือโดยมีครดู ูแลติดตามอย่าง ใกล้ชิด และตอ่ เนอ่ื ง 7. ประสานงานผู้ปกครองเพ่ือให้ความชว่ ยเหลือดูแล 8. ประสานงานหนว่ ยงานท่ีเก่ียวข้อง เช่น บา้ นพักเด็กและ ครอบครวั สถานีตำรวจ เป็นตน้

10 4.2 การทำรา้ ย ตวั เอง 1. จดั ให้มีระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างมี 1. ผู้บรหิ าร โรงเรียน และการฆา่ ตวั ตาย ประสทิ ธภิ าพ โดย มอบหมายครูประจำชัน้ สังเกต 2. ครปู ระจำ ช้ัน 4.3 การทะเลาะววิ าท พฤติกรรมนกั เรียนเป็นรายบุคคล 3. ผปู้ กครอง 2. จดั ทำระบบเครือข่ายระหว่างผู้ปกครอง ชมุ ชน 4. ชุมชน สถานศึกษา เพื่อการ ส่ือสารและสานสัมพันธร์ ว่ มมือ ป้องกนั แก้ไขปญั หา เก่ยี วกับพฤติกรรม นกั เรยี น 3. จดั กิจกรรมปลกู ฝังให้เกดิ ความรกั ความสามัคคี ความเอ้ืออาทรและ ช่วยเหลอื ซง่ึ กันและกัน 4. จัดกิจกรรมสง่ เสรมิ พฒั นาศักยภาพของนักเรยี นอย่าง หลากหลาย 5. ประสานความรว่ มมือกับผู้เชยี่ วชาญ นกั จติ วทิ ยา ให้ คำปรึกษาอยา่ ง สม่ำเสมอ 6. ประสานพ่อแม่ ผู้ปกครองทนั ทเี ม่ือเกิดปัญหาเพ่ือ แก้ปญั หาเฉพาะหนา้ ด้วยวธิ ีการหลากหลาย 1. ดำเนินการตามระบบการดูแลชว่ ยเหลือนักเรียนใช้ 1. ผูบ้ ริหารโรงเรียน หน่วยงานทมี่ ีบนั ทึก ขอ้ ตกลงความร่วมมอื MOU 2. ครูประจำชน้ั เครือข่ายค้มุ ครองเดก็ จังหวดั ให้เกดิ ประสทิ ธภิ าพสงู สดุ 3. ผู้ปกครอง 2. จัดทำระบบเครือข่ายระหว่างผูป้ กครอง ชุมชน 4. ชุมชน สถานศกึ ษา เพื่อการ ส่ือสารและสานสัมพนั ธร์ ่วมมือ ปอ้ งกนั แก้ไขปญั หาเกยี่ วกับพฤติกรรม นกั เรียน 3. จัดให้มีการหน่วยเคลอื่ นที่เรว็ เพอื่ เขา้ ระงบั เหตุกรณีที่ มีเหตทุ ะเลาะววิ าท โดยประสานงานกบั เจ้าหนา้ ทต่ี ำรวจ 4. ประสานแจง้ ผูป้ กครองนักเรยี นผู้กอ่ เหตุ ผู้ไดร้ บั บาดเจบ็ ให้ผู้ปกครอง นักเรยี นทราบและจดั เจา้ หน้าทีด่ แู ลโดยรายงานให้ผบู้ ังคบั บญั ชารับทราบ ตามลำดับ 5. ประสานความรว่ มมือกบั เจ้าหน้าทีต่ ำรวจ อปพร. หรอื องคก์ รปกครอง ส่วนท้องถิ่น สถานพินจิ

11 4.4 การถกู ล่อลวงและ 1. จัดกิจกรรมเสริมสร้างทักษะชีวิตเพื่อให้นักเรียนเกิด 1. ผบู้ รหิ ารโรงเรยี น ลักพา กระบวนการคิดวิเคราะห์การแก้ปัญหาเฉพาะหน้า การ 2. ครปู ระจำชัน้ 4.5 สือ่ ลามก อนาจาร ตดั สินใจ การให้คำปรึกษาท่ีถูกต้อง รวมไปถึงทักษะการ 3. ผปู้ กครอง ป้องกันตัวเองให้พ้นจากการถกู ลอ่ ลวงและลักพา 4. ชมุ ชน 2. จัดระบบรักษาความปลอดภัยที่มีประสิทธิภาพ จัด เวรยาม เจ้าหนา้ ท่ี รักษาความปลอดภยั ในสถานศึกษา 3. ประสานงานกับชุมชน เครือข่ายผู้ปกครอง ในการ สอดส่องนักเรยี นอย่าง ทวั่ ถึงและสม่ำเสมอ 4. ประสานงานกับเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องช่วยสอดส่อง ดแู ลเพอ่ื ป้องกนั การถกู ล่อลวงและลกั พา 5. ให้มีการประชาสัมพันธ์ข่าวสารเกี่ยวกับการล่อลวง และลักพาและวิธกี าร ป้องกันให้นกั เรยี นทราบทุกระยะ 6. ประสานงานเจ้าหน้าที่ตำรวจ ผู้ปกครอง เพื่อ ดำเนินการตดิ ตามคน้ หา 7. ขอความร่วมมือจากครู ผู้ปกครอง ชุมชน หรือผู้ท่ี เกยี่ วขอ้ งในการแจ้ง เบาะแส 8. ประสานแจ้งผู้ปกครองนักเรียนรับทราบเมื่อเกิดเหตุ โดยรายงานให้ ผบู้ ังคบั บญั ชารับทราบตามลำดบั 1. ควบคมุ ดแู ลการนำข้อมูลข่าวสารและส่ือบันเทิงต่างๆ 1. ผูบ้ ริหารโรงเรียน ที่เกี่ยวข้องกับเรื่อง เพศ ไม่ให้เข้ามาเผยแพร่ใน 2. ครูประจำชัน้ สถานศึกษา 3. ผู้ปกครอง 2. จัดทำหลักสูตรบูรณาการการสอนในเรื่องเพศศึกษา 4. ชุมชน เพศวิถี ศีลธรรม คุณธรรมจริยธรรมที่ดีและเหมาะสม ในทางสงั คมใหก้ บั นักเรยี น 3. จัดกิจกรรมและเสริมสร้างค่านิยม ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมที่ดีงามให้กับ นักเรียนเพื่อการปรับเปลี่ยน พฤตกิ รรมทีไ่ ม่เหมาะสม 4. ประสานความร่วมมือกับเจ้าหน้าที่และผู้ที่เกี่ยวข้อง ในการตรวจตรา ควบคุมดูแลตามแหล่งจำหน่ายและ เผยแพร่ 5. ดำเนินการตรวจค้นยึดสิ่งของและลงโทษหากพบ นักเรียนนำสื่อลามก อนาจารเข้ามาสถานศึกษา ติดต่อ

12 ประสานงานผปู้ กครองเพื่อหาแนว ทางแกไ้ ขปรับเปลี่ยน พฤติกรรม 6. มอบครูประจำชั้นติดตามและเฝ้าระวังภายหลัง ดำเนนิ การแกไ้ ขแล้วเพ่อื ตดิ ตามผล 4.6 อบายมขุ 1. กำหนดให้สถานศึกษาเป็นเขตปลอดอบายมุขทุก 1. ผู้บรหิ ารโรงเรยี น ประเภท 2. ครปู ระจำชั้น 2. จัดทำแผนผัง zoning เขตปลอดอบายมุขร่วมกับ 3. ผู้ปกครอง ชุมชน 4. ชุมชน 3. จดั กิจกรรมเสริมสร้างความรู้และสร้างความตระหนัก ถึงโทษพิษภัยและ ปัญหาอบายมุขที่มีผลกระทบต่อการ เรียนและความเป็นอย่ขู องนักเรยี น 4. สำรวจแหล่งอบายมุขหรือแหล่งมั่วสุมโดยจัดทำเป็น ข้อมูลแผนที่ตั้งเพื่อ การประสานกับครูผู้รับผิดชอบ ผู้ปกครองและเจ้าหน้าที่ตำรวจให้เป็นไปตาม แนว ทางการจัดระเบียบสังคม 5. ขอความร่วมมือจากผู้ปกครองช่วยกวดขันดูแลบุตร หลานอย่างใกล้ชิด ทั้งการเรียน การใช้จ่ายเงิน การใช้ โทรศัพท์ การออกเที่ยว เตร่ หรือการทำ กิจกรรมนอก บ้าน รวมทั้งการใช้สื่อเทคโนโลยีใน แนวทางที่ไม่ เหมาะสม 6. จัดตั้งกลุ่มเครือข่ายความร่วมมือระหว่างโรงเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนในการ ให้ข้อมูลข่าวสารและติดตาม สอดส่องดูแลป้องกันไม่ให้ นักเรียนไปมั่วสุมใน แหล่ง อบายมุขต่าง ๆ 7. จดั ทำทะเบยี นข้อมลู นกั เรียนทอ่ี ยู่ในกลุม่ เส่ียงเพื่อเสา ระวงั ปอ้ งกัน 8. เชิญผู้ปกครองประชุมเพื่อหาแนวทางแก้ไขปัญหา และให้ความชว่ ยเหลือ อย่างจรงิ จังร่วมกัน 9. จัดเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบในการออกตรวจตราตาม แหล่งอบายมุขต่าง ๆ โดยการประสานความร่วมมือกับ เจ้าหน้าที่ตำรวจและหน่วยงานที่รับผิดชอบโดยตรงใน ระดบั พืน้ ที่

13 4.7 พฤติกรรมชูส้ าว 1. ให้ความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติตนและพฤติกรรม 1.ผู้บริหารโรงเรียน 4.8 อนิ เทอรเ์ นต็ ที่พึงประสงค์ ด้านการวางตัวคบเพื่อนต่างเพศและ 2.ครูประจำชน้ั และเกม จัดการเรียนการสอนเรื่องเพศศึกษา 3.ผู้ปกครอง 2. มอบหมายครปู ระจำชน้ั ใหค้ ำปรกึ ษาแกน่ ักเรยี น 4.ชุมชน 3. จัดบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนให้ปลอด 5.นกั เรียน โปร่งไม่มีมุมอับ อันจะส่งผลต่อพฤติกรรมในทางที่ไม่ เหมาะสมของนักเรียน 4. กำกับติดตามดูแลการปฏิบัติหน้าที่ของครูเวร ประจำวนั 5. สร้างเครือข่ายประสานความร่วมมือระหว่างเครือข่าย ผูป้ กครองชุมชน และโรงเรยี นในการแจง้ เบาะแส 6. เมื่อนักเรียนประสบปัญหาให้สถานศึกษามอบหมาย ผู้รับผิดชอบสืบหา ข้อเท็จจริงและดำเนินการแก้ไขใน กรณีที่เป็นปัญหาร้ายแรงให้ผู้บังคับบัญชา รายงาน ตามลำดับขนั้ ตอน 7. ประสานงานเชิญผู้ปกครองมารับทราบปัญหาและ ร่วมมือช่วยกันแก้ไข ปัญหาปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไป ในทางทีเ่ หมาะสม 8. ตดิ ตามกำกับดแู ลนักเรียนทีม่ ีพฤตกิ รรมไม่เหมาะสม 1. ใหค้ วามรู้นกั เรยี นในการเลือกบริโภคข้อมูลข่าวสาร 1. ผูบ้ รหิ ารโรงเรียน ภยั จากส่ืออินเทอรเ์ น็ต 2. ครปู ระจำช้ัน 2. จดั กจิ กรรมเสรมิ สรา้ งความสนใจหรือสร้างแรงจูงใจ 3. ผปู้ กครอง ในการใชค้ อมพวิ เตอร์ อินเทอรเ์ นต็ อยา่ งสร้างสรรค์ 4. ชุมชน 3. ประสานความร่วมมือผปู้ กครองเครอื ขา่ ยผู้ปกครอง 5. นกั เรียน เจา้ หน้าท่ที เ่ี กีย่ วข้อง ในการป้องกนั กวดขันดแู ลตาม แหล่งสถานบนั เทิง ร้านอินเทอรเ์ นต็ ร้านเกม เปน็ ต้น 4. ครูฝ่ายปกครองและครทู ่ปี รึกษากำกับตดิ ตามการมา เรยี นของนักเรียน และประสานกับผ้ปู กครองในการ เดินทางไป – กลับระหวา่ งบ้านและโรงเรียน 5. จัดให้บริการอนิ เทอรเ์ น็ตกับนกั เรยี นในช่วงเวลาท่ี เหมาะสมตามบรบิ ท ของโรงเรยี นและให้ครูควบคุมดูแล อยา่ งใกล้ชิด

14 6. ดำเนินการนำกล่มุ นักเรยี นที่มพี ฤตกิ รรมเสย่ี งมา อบรมให้ความร้ใู นเร่ือง การใช้อนิ เทอร์เนต็ 7. จัดอาสาสมคั รนักเรยี นคอยตรวจสอบการใช้ อนิ เตอร์เน็ต/เว็บไซตต์ ่างๆ 8. ประสานกบั เจา้ หน้าทต่ี ำรวจหรอื หน่วยงานท่ี รับผิดชอบเพื่อติดตาม ตรวจสอบรา้ นอนิ เทอร์เน็ตร้าน เกมท่ีใหบ้ ริการนกั เรยี นชว่ งเวลาเรยี น 4.9 การกลัน่ แกล้ง 1. ปลูกฝังใหน้ กั เรียนและบุคลากรในสถานศึกษาเคารพ 1. ผู้บรหิ ารโรงเรียน (Bully) สิทธขิ องผอู้ น่ื และให้ เกยี รตซิ ่ึงกันและกนั 2. ครปู ระจำชั้น 2. จดั กจิ กรรมหรอื การเรยี นการสอนเพื่อสง่ เสริมความ 3. ผ้ปู กครอง เขา้ ใจและความ ตระหนักในเรอื่ งของการกลัน่ แกลง้ และ 4. ชุมชน การปฏิบัตติ นเชิงบวกต่อผอู้ ืน่ 5. นกั เรยี น 3. ให้ความรู้กับผู้ปกครองเพ่ือการเอาใจใส่และสงั เกต สญั ญาณความผดิ ปกติ ของบุตรหลาน 4. มอบหมายครูประจำชัน้ และครูผสู้ อนสอดสอ่ งดูแล 5. สร้างชอ่ งทางในการแจ้งปัญหาและขอความช่วยเหลือ อย่างเหมาะสมแก่ นักเรียน 6. มีครูนักจิตวทิ ยาหรือครแู นะแนวคอยใหค้ ำปรึกษา 7. ประสานผปู้ กครองเมื่อเกดิ ปัญหาเพื่อการแกไ้ ขและ ปรบั พฤติกรรมรว่ มกนั ระหวา่ งสถานศกึ ษากับ ผปู้ กครอง 4.10 ความ หลากหลาย 1. ทำความเข้าใจความหลากหลายทางเพศ อัตลกั ษณ์ 1. ผบู้ ริหาร โรงเรียน และ ความเท่าเทียมทาง ทางเพศ รสนิยมทาง เพศ เพศสรีระ การแสดงออกทาง 2. ครูประจำ ชั้น เพศ (LGBTQ) เพศภาวะให้กบั นกั เรียนและบุคลากรใน สถานศกึ ษา 3. ผู้ปกครอง 2. การสรา้ งสภาพแวดลอ้ มท่ีแสดงออกถึงการเคารพใน 4. ชมุ ชน ความหลากหลายทาง เพศรวมไปถึงการปฏิบัตติ ่อผูอ้ ่ืน 5. นักเรียน อยา่ งเคารพและเท่าเทยี ม 3. สรา้ งชอ่ งทางในการแจ้งปัญหาและขอความชว่ ยเหลอื อยา่ งเหมาะสม 4. มคี รูนกั จิตวทิ ยาหรือครแู นะแนวคอยใหค้ ำปรึกษา

15 4.11 การแสดงออก 1. สถานศึกษาเปิดพื้นที่ให้นักเรียนสามารถดำเนิน 1. ผู้บรหิ ารโรงเรยี น ทางการเมือง ตาม กิจกรรมการแสดงทาง ความคิดเห็นภายใต้หลักสิทธิ 2. ครู ระบอบประชาธปิ ไตย เสรีภาพในระบอบประชาธิปไตยและเง่ือนไข ที่กฎหมาย 3. นักเรียน กำหนด 2. ผู้บริหารโรงเรียนต้องคำนึงถึงการใช้สิทธิเสรีภาพใน การแสดงออกและ ความปลอดภยั ของนักเรียนโดยไม่ให้ มบี คุ คลภายนอกเขา้ รว่ มการชมุ นมุ 3. สถานศึกษาจะต้องละเว้นจากการแทรกแซงหรือ จำกัดการใช้สิทธิเสรีภาพ ในการชุมนุมโดยปราศจาก ฐานทางกฎหมายที่เหมาะสมและไม่เป็นไปตาม หลัก ความจำเปน็ และหลักความได้สัดสว่ นในบริบทของสังคม ประชาธิปไตย 4. สถานศึกษามีหน้าที่อำนวยความสะดวกและปกป้อง คุ้มครองผู้ชุมนุมจาก อันตรายหรอื ความรุนแรงที่อาจจะ เกิดข้นึ 5. สถานศึกษาควรเป็นพื้นที่ปลอดภัยในการใช้สิทธิ เสรภี าพในการชมุ นุมของ นกั เรียน 6. สถานศึกษาควรเป็นพื้นที่ที่นักเรียนสามารถลองผิด ลองถูกในการใช้สิทธิ เสรีภาพของพวกเขาในระบอบ ประชาธิปไตยในกรณีท่มี ขี อ้ ผิดพลาดเกิดข้นึ ครู อาจารย์ และผู้บริหารสถาบนั ก็ควรทีจ่ ะใช้ความเมตตากำกับดูแล แนะนำ และส่งเสริมให้ลูกศิษย์ทั้งหลายใช้สิทธิเสรีภาพ ในการชุมนุมได้สอดคล้องกับ หลักสิทธิมนุษยชนภายใต้ บริบทสังคมประชาธิปไตย ดังนั้นหากเข้าใจตรงกัน ว่า หนา้ ท่ีของครคู ือการสรา้ งคนใหม้ ีความรู้ความสามารถ มี คุณธรรมเพ่ือทใ่ี น วนั ข้างหน้าพวกเขาจะเป็นกำลงั สำคัญ ที่ขับเคลื่อนประเทศชาติ การสอนลูกศิษย์ให้เป็น พลเมืองดใี นสังคมประชาธิปไตยกค็ วรจะเปน็ เป้าหมายท่ี ครู อาจารย์ และผู้บริหารสถานศึกษาจะต้อง ให้ ความสำคัญไมน่ อ้ ยไปกว่าวชิ าการในหอ้ งเรียน

16 4.12 ขา่ วปลอม (Fake 1. สถานศึกษาสร้างความตระหนกั รถู้ ึงผลกระทบต่อข่าว 1. ผบู้ รหิ ารโรงเรยี น News) ปลอมแก่ผ้เู รยี น บุคลากรชุมชนในพื้นทดี่ ้วยชอ่ งทางท่ี 2. ครปู ระจำชั้น 5. สุขภาพอนามยั ของ นักเรยี น หลากหลายโดยเฉพาะสื่อออนไลน์ 3. นักเรียน 5.1 สุขภาพอนามัย วัย เรียน 2. สถานศึกษาจัดอบรมสอนเสริมเพิ่มทักษะหลักสูตร การรเู้ ท่าทนั สื่อใหก้ ับ นักเรียนทกุ ระดับ 1. สรา้ งองค์ความรู้ให้แก่ครูและบุคลากรในเร่อื งแนว 1. ผู้บริหารโรงเรยี น ทางการส่งเสริมสุขภาพ นกั เรียน การป้องกันมลภาวะ 2. ครูประจำชนั้ จากสิง่ แวดล้อม การป้องกันไมใ่ หเ้ กดิ โรคตดิ ต่อ และโรค 3. นักการภารโรง ระบาดตา่ ง ๆ 2. จัดทำมาตรการบริหารจัดการคุณภาพชีวิตทเี่ ป็นมติ ร กบั สงิ่ แวดลอ้ มและ มาตรการเกย่ี วกับการจัดการขยะใน สถานศกึ ษา 3. แตง่ ตง้ั คณะกรรมการรบั ผิดชอบงานใหช้ ัดเจน 4. ตรวจสขุ ภาพนักเรียนอย่างนอ้ ยปีละคร้ังประสานงาน กับโรงพยาบาลเพื่อ ดูแลนักเรียนท่ีมีรา่ งกายอ่อนแอ อย่างใกลช้ ิด 5. ปดิ สถานศึกษาเม่ือมโี รคระบาด 6. แจ้งผบู้ งั คบั บญั ชาตามลำดับช้นั ในกรณมี ีโรคตดิ ตอ่ เกดิ ข้ึนในโรงเรยี น 7. จดั นำ้ ดื่มนำ้ ใช้ใหป้ ลอดภัยรว่ มท้งั ระบบกกั เกบ็ น้ำ และระบบการจา่ ยนำ้ ให้ ถกู สุขอนามัย 8. มสี ว้ มท่ีถกู สุขอนามัย 9. มอี ุปกรณ์และสถานที่สำหรับล้างมอื และให้ความรู้ใน การ ลา้ งมอื ของ นักเรียนอยา่ งถกู วธิ ี 10. ควบคมุ ความสะอาดในการปรุงและจำหนา่ ยอาหาร ให้ถกู สุขลักษณะ 11. จัดสถานทีแ่ ละดแู ลลกั ษณะทางกายภาพของ สถานศกึ ษาใหถ้ ูก สขุ ลักษณะ

17 5.2 การอุปโภค บรโิ ภค 1. จัดให้มีชมรมคุ้มครองผู้บริโภคในสถานศึกษา (อย. 1. ผบู้ ริหารโรงเรยี น 5.3 สถานการณฝ์ ุ่น นอ้ ย) เพ่อื ตรวจสอบ คุณภาพและสารปนเปอ้ื นในอาหาร 2. ครูประจำช้นั ละอองขนาดเลก็ PM 2.5 และประชาสมั พันธข์ ้อมลู ขา่ วสาร 3. ผู้ปกครอง 2. จัดทำป้ายนิเทศและกิจกรรมรณรงค์ ให้ความรู้ 4. ชุมชน เกี่ยวกับการใชเ้ ครือ่ ง อปุ โภคบริโภคอย่างถกู สขุ อนามยั 5. นกั เรียน 3. จัดให้มีเจ้าหน้าที่ทำความสะอาดรักษาความเป็น ระเบียบเรยี บร้อยภายใน โรงอาหารของโรงเรียน 4. จัดให้มีระบบกำจัดขยะการบำบัดน้ำเสยี และจัดสร้าง บ่อดักไขมัน 5. ในกรณีเกิดอุบัติเหตุจากการอุปโภคบริโภคของ นักเรียนให้ดำเนินการปฐม พยาบาลเบื้องต้นก่อนส่งต่อ โรงพยาบาล 6. ประสานแจ้งผ้ปู กครองนกั เรียนรับทราบเมื่อเกิดเหตุ 7. จัดครูอนามัยอำนวยความสะดวกในการดูแล รักษาพยาบาล ร่วมกับ ผู้ปกครองเพื่อรับทราบข้อมูล นกั เรยี น 8. รายงานเหตุการณ์ให้ผู้บังคับบัญชาทราบตามลำดับ ขน้ั 1. ให้ความรู้กับนักเรียนและรณรงค์ให้นักเรียนใส่ 1. ผบู้ รหิ ารโรงเรยี น หนา้ กากอนามัยเมอื่ ต้อง อยกู่ ลางแจ้งหรือบนทอ้ งถนน 2. ครูประจำชน้ั 2. สถานศกึ ษาลดหรือเลยี่ งการจัดกิจกรรมกลางแจง้ 3. ผู้ปกครอง 3. จัดกิจกรรมทำความสะอาดห้องเรียนอาคารเรียน 4. ชมุ ชน อย่างสม่ำเสมอ 5. นกั การภารโรง 4. การจัดประชุมชี้แจงสร้างความเข้าใจในการป้องกัน 6. พนกั งานขับรถ ตนเองจากปัญหา ฝุ่นPM2.5 พร้อมขอความร่วมมือ ผู้ปกครองและชุมชนร่วมกันช่วยลดสาเหตุ การเกิดฝุ่น PM 2.5 5. สถานศึกษาส่งเสริมการสร้างเครือข่ายนักเรียน นกั ศึกษา ลกู เสอื -เนตรนารี นกั ศกึ ษาวชิ าทหาร จิตอาสา เพื่อร่วมรณรงค์การป้องกันเฝ้าระวัง แก้ไข ปัญหาฝุ่น ละอองในสถานศึกษาตามความเหมาะสม 6. สถานศึกษาจัดทำคู่มือการเรียนการสอนว่าด้วยการ เปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศและข้อควรปฏิบัติในการ

18 ร่วมกันลดโลกร้อนรวมทั้งจัดทำหน่วย การเรียนรู้ เก่ยี วกบั ฝ่นุ ละอองขนาดเลก็ PM 2.5 ในทุกระดบั ชน้ั 7. สถานศึกษาจัดการเรียนการสอนในเรื่องที่เกี่ยวกับ การบริหารจัดการ สิ่งแวดล้อมการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศรวมถึงสาเหตุและผลกระทบที่ เกิดขึ้นเพื่อให้ เกิดความตระหนักรู้จิตสำนึกที่ดีและมีส่วนร่วมในการ ควบคุม ป้องกันแก้ไขและลดปัญหานำไปสู่การใช้ชีวิต อยา่ งมีความสุขและคณุ ภาพ ชีวติ ทด่ี ีอยา่ งย่ังยืน 8. ประชาสัมพันธถ์ า่ ยทอดองค์ความรรู้ วมถึงการป้องกัน แก้ไขปัญหาฝุ่น ละอองขนาดเล็ก PM 2.5 และการดูแล สขุ ภาพ 5.4 การปอ้ งกัน การ 1. มีมาตรการคัดกรองวัดไข้และอาการเสี่ยงก่อนเข้า 1. ผ้บู ริหารโรงเรยี น แพร่ระบาดโรค ใน สถานศกึ ษา (COVID- สถานศึกษา 2. ครปู ระจำชั้น 19) 2. สวมหนา้ กากผ้าหรอื หน้ากากอนามยั ตลอดเวลา 3. ผู้ปกครอง 5.5 สารเสพติด 3. จดั จุดล้างมอื หรือเจลแอลกอฮอล์อยา่ งเพียงพอ 4. ชุมชน 4. จดั ระยะห่างระหวา่ งบุคคลอย่างนอ้ ย 1-2 เมตร 5. นักการภารโรง 5. ทำความสะอาดห้องเรียน/พื้นผิวสัมผัสร่วม เปิด 6. เจ้าหน้าที่สาธารณสขุ หน้าต่างประตู ระบายอากาศ 6. ไม่จัดกิจกรรมรวมกลุ่มคนจำนวนมาก เหลื่อมเวลา ลดเวลาทำกิจกรรม 1. ประกาศนโยบายการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพ 1. ผู้บริหารโรงเรยี น ต ิ ด ใ น ส ถ า น ศ ึ ก ษ า ท ุ ก ป ี ต า ม น โ ย บ า ย 2. ครปู ระจำชนั้ กระทรวงศึกษาธิการ 3. ผู้ปกครอง 2. จัดกิจกรรมสร้างการรับรู้เฝ้าระวังสร้างภูมิคุ้มกัน 4. เจ้าหนา้ ท่ีตำรวจ กิจกรรมป้องกันและ แก้ไขปัญหายาเสพติดโดยผ่าน 5. ชมุ ชน ช่องทางที่หลากหลายในสถานศึกษา เช่น โซเชียวมีเดีย เสยี งตามสาย พูดหน้าเสาธง กิจกรรมโฮมรูม กิจกรรมหลังเลิก เรียน คาบว่าง จดั บอร์ดนิทรรศการ ตามความเหมาะสม 3. จัดกิจกรรมเสริมทักษะชีวิตเพื่อสร้างความตระหนัก และให้นักเรียน เกิดความรักและเห็นคุณค่าในตนเอง และผู้อนื่ ฯ

19 4. จัดทำระบบเครือข่ายระหว่างผู้ปกครอง ชุมชน สถานศกึ ษา และเครอื ขา่ ย บุคคล/กลไกที่เกี่ยวข้อง เพ่ือ การสื่อสารและสานสัมพันธ์ร่วมมือป้องกันแก้ไข ปัญหา เกี่ยวกับพฤติกรรมนักเรียน เช่น เครือข่ายนักเรียน เครือข่ายผู้ปกครอง เครือข่ายเยาวชน กลุ่มเพื่อน นกั เรยี น สภาเด็กและเยาวชน องค์การวิชาชีพ เปน็ ตน้ 5. จัดกิจกรรมที่ให้นักเรียนแสดงออกตามความสามารถ ที่ถูกต้องและเพื่อให้ ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชนและ ห่างไกลจากยาเสพติด เช่น ศิลปะ ดนตรี กีฬา กิจกรรม จัดทำสื่อสร้างสรรค์ กิจกรรมในรูปแบบออนไลน์ กิจกรรม รณรงค์เนื่องในวันต่อต้านยาเสพติด วันงดสูบ บุหร่ีโลก เป็นต้น 6. จัดกลุ่มเฝ้าระวังโดยอาศัยทั้งภายในและภายนอก สถานศึกษาเช่น ทีม งานสหวิชาชีพ เครือข่ายส่งเสริม ความประพฤตนิ ักเรยี นนกั ศึกษา (พสน.) ฯ 7. จัดการอบรมเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมให้แก่ นักเรยี น 8. ให้ความรู้แก่นักเรียนในการเลือกชมสื่อในด้านต่างๆ อย่างเหมาะสม 9. จัดบรรยากาศส่ิงแวดลอ้ มในสถานศกึ ษาใหส้ ะอาดรม่ รื่นสวยงาม เอ้อื ต่อการจัดการเรียนรู้ 10. ใช้มาตรการระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่าง ตอ่ เน่ืองและ สม่ำเสมอ 11. แต่งตั้งผู้รับผิดชอบงานป้องกันและแก้ไขปัญหายา เสพติดในสถานศึกษา 12. คัดกรองและตรวจสุขภาพนกั เรยี นเปน็ ประจำ 13. คัดกรองนักเรียนเพื่อค้นหานักเรียนกลุ่มเสี่ยง/กลุ่ม ใช้ยาเสพติดและมี ระบบติดตามเพื่อปรับเปลี่ยน พฤตกิ รรมในรูปแบบท่ีเหมาะสม

20 5.6 การป้องกนั ภัย 1. จัดสภาพแวดล้อมให้สะอาดร่มรื่นตัดแต่งกิ่งไม้กำจัด 1. ผบู้ รหิ ารโรงเรียน จากสัตว์มพี ิษ แหล่งทอี่ ยู่อาศยั ของสัตว์มีพิษเพ่ือให้มีความปลอดภัยแก่ 2. ครปู ระจำช้ัน นักเรยี น 3. นักการภารโรง 2. ให้ความรู้แกค่ รู บุคลากร และนักเรียนเกี่ยวกบั สัตวม์ ี พิษตลอดจนวิธีการ ป้องกันและปฐมพยาบาลเบื้องต้น กรณีไดร้ บั พิษ 3. จัดทำป้ายเตือนภัยจากสัตว์มีพิษในบริเวณที่เป็นจุด เสี่ยง เช่น บริเวณรัว้ สถานศึกษา ตน้ ไมใ้ หญ่ซ่งึ มักจะเป็น ท่อี ยูอ่ าศัยของสัตวม์ ีพิษเบื้องต้น 4. ประสานความร่วมมือกับหนว่ ยงานที่เกี่ยวข้องในการ กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์ เช่น โรงพยาบาลสุขภาพ ตำบล กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุง กู้ภัยหรือ ป้องกันและ บรรเทาสาธารณภัยในการกำจดั สตั วม์ ีพษิ อน่ื 5. จัดเตรียมอุปกรณ์และเวชภัณฑ์ในการปฐมพยาบาล กรณที ไ่ี ด้รับพิษจากสตั ว์มีพิษ 6. จดั ทำแผนฉกุ เฉินและการฝกึ ซอ้ มโดยความรว่ มมือกับ หน่วยงานท่ีเกยี่ วข้อง ยุทธศาสตร์การดำเนินงาน โรงเรยี นโมคลานประชาสรรค์ มีแนวทางการดำเนินการ ดงั น้ี มาตรการที่ 1 แนวทางการป้องกนั ภยั 1.1 มแี ผนปฏิบตั กิ ารด้านความปลอดภยั ในสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ 1. ตัง้ คณะกรรมการจัดทำแผนปฏิบตั กิ าร “สถานศึกษาปลอดภยั ” 2. กำหนดแผนงาน โครงการท่ีเกีย่ วข้องกบั การขับเคลอื่ นความปลอดภัยในสถานศึกษา 3. กำหนดแผนการจัดกิจกรรมพัฒนาบคุ ลากรและผ้มู สี ว่ นเกยี่ วขอ้ ง 4. มรี ะบบเผยแพร่ขอ้ มูล ข่าวสาร สารสนเทศ ทเ่ี กย่ี วข้องกับความปลอดภัยใน สถานศกึ ษา ได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ 1.2 พัฒนาศกั ยภาพผบู้ ริหาร ครู บคุ ลากรในการดแู ลชว่ ยเหลือผเู้ รียนและผไู้ ดร้ บั ผลกระทบ 1. กำหนดใหม้ กี ารเพิ่มความรู้ ทศั นคติ ทักษะ ดังน้ี 1) เพม่ิ เตมิ ความรู้ความเข้าใจในหลักสิทธเิ สรีภาพของเด็ก และบทบาทหน้าทขี่ องครู 2) ทักษะการคัดกรองกลมุ่ เสี่ยงและทักษะการคมุ้ ครองดูแลช่วยเหลือนักเรียน 3) ทกั ษะการจดั การความขัดแยง้ ความคดิ เหน็ ทแ่ี ตกต่าง 4) ทกั ษะการจดั การเหตุในภาวะฉกุ เฉิน

21 2. บูรณาการการจัดการเรียนรู้ทั้งในและนอกห้องเรยี น 3. จดั กจิ กรรมเสรมิ สรา้ งศักยภาพผู้เรยี นใหม้ ที ักษะชวี ติ 4 องค์ประกอบ คือ การ ตระหนกั รูร้ กั และเห็นคุณค่าในตนเองและผอู้ ืน่ การคดิ วิเคราะห์ ตดั สนิ ใจและแกป้ ัญหาอยา่ งสรา้ งสรรค์ การ จดั การกบั อารมณ์และ ความเครยี ด การสร้างสมั พันธภาพที่ดกี ับผู้อืน่ 4. เปิดชอ่ งทางใหน้ ักเรยี นได้แสดงความคดิ เห็นเสนอแนวทางความต้องการเก่ยี วกับ ความปลอดภัยใน สถานศกึ ษาโดยผา่ นกลไกของสภานกั เรียนหรือกลอ่ งรบั ฟงั ความคิดเหน็ ของสถานศึกษา 5. ดำเนนิ การช่วยเหลือผทู้ ีไ่ ด้รบั ผลกระทบตามโอกาส และความเหมาะสม 1.3 การพัฒนาส่งิ แวดล้อมและบรรยากาศในสถานศึกษา 1. จดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพของสถานศึกษาใหม้ คี วามปลอดภยั 2. มีมาตรการความปลอดภัยทีห่ ลากหลายทสี่ อดคลอ้ งและเหมาะสมกับสภาพปญั หา 3. มีแหลง่ เรียนรู้เพือ่ เสรมิ สรา้ งความรแู้ ละสร้างความตระหนักเกีย่ วกับความปลอดภยั ในสถานศึกษา 1.4 ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของสถานศึกษา ผู้ปกครอง ชุมชนและภาคีเครือข่าย คณะกรรมการประกอบด้วย ผู้อำนวยการเป็นประธาน รองผู้อำนวยการ/ผู้ที่ได้รับมอบหมายเป็นรองประธาน ผู้แทนครู ผู้แทนสำนักงานเขต ผู้แทน กรรมการสถานศึกษา ผู้แทนผู้ปกครอง ผู้แทนนักเรียน รองกลุ่ม บริหารงานบคุ คล/กิจการนกั เรยี น หรือผรู้ ับผดิ ชอบ เปน็ กรรมการและเลขานุการ

22 มีหน้าที่ 1) ให้ความเหน็ ชอบแผนปฏิบัตกิ ารสถานศึกษาปลอดภัย 2) กำหนดมาตรการป้องกนั และแนวทางแก้ปัญหาความปลอดภยั ในสถานศึกษาตามความเหมาะสม 3) วิเคราะหแ์ ละประเมนิ สถานการณ์ ระดับความรุนแรงของเหตุทเี่ กดิ ขน้ึ 4) ดำเนนิ การแก้ปัญหาตามแนวทางทีก่ ำหนด 5) ดแู ลชว่ ยเหลือเยยี วยาผทู้ ไี่ ดร้ ับผลกระทบใหเ้ กดิ ความพึงพอใจตามความเหมาะสม 6) กำกับตดิ ตามและประเมนิ ผลรวมทั้งใหข้ ้อเสนอแนะ มาตรการที่ 2 แนวทางการช่วยเหลอื เมอื่ เผชิญเหตแุ ละการแกป้ ญั หา 2.1 จดั การและแก้ไขให้ความชว่ ยเหลอื หากเกดิ เหตุการณ์ 1. สถานศึกษามแี นวปฏิบัตกิ ารจัดการหรอื การระงบั เหตกุ ารชว่ ยเหลือเมอ่ื เกิดเหตใุ นสถานศึกษา 2. สร้างความตระหนกั ประชาสมั พันธแ์ ละสร้างการรบั ร้แู นวปฏิบตั ิการจดั การและการชว่ ยเหลือ ทัง้ ภายในและภายนอกสถานศกึ ษา 3. เตรยี มบุคลากรและเครื่องมอื ให้พร้อมรบั สถานการณ์ เชน่ การซอ้ มดับเพลิง การซ้อมหนีไฟ การปฐมพยาบาลเบื้องต้น เปน็ ต้น 2.2 คดั กรองและชว่ ยเหลือเบื้องต้นในสถานศกึ ษา 1. ตรวจสอบข้อมลู เบื้องตน้ ประเมนิ สถานการณ์และคดั กรองใหก้ ารช่วยเหลอื ผเู้ รยี นและผูไ้ ดร้ บั ผลกระทบในสถานศึกษา 2. ใหก้ ารช่วยเหลือเบอื้ งต้นกับผูเ้ รียนและผไู้ ด้รบั ผลกระทบในสถานศึกษา เพื่อให้ผู้ประสบเหตุมี ความปลอดภัยหรือลดระดบั ความรุนแรงของเหตุการณ์ 3. กำหนดข้ันตอนและวธิ กี ารแจ้งเหตหุ รอื ระงบั เหตุ สามารถชว่ ยเหลอื ด้านรา่ งกายและจิตใจพร้อม ประเมนิ สถานการณ์เบื้องตน้ ได้ทันที 4. ผทู้ ีไ่ ดร้ ับแจง้ เหตุดำเนนิ การชว่ ยเหลอื ดา้ นร่างกายและจติ ใจพรอ้ มประเมนิ สถานการณเ์ บือ้ งต้น โดยทันที 2.3 จดั การและประสานความร่วมมือกบั หน่วยงานท่เี กีย่ วข้อง 1. กำหนดช่องทางประสานพิเศษเพื่อขอการสนับสนนุ ชว่ ยเหลอื จากหนว่ ยงานต่าง ๆ เม่ือมีภาวะ วิกฤตเกิดข้นึ เชน่ ฝ่ายปกครอง โรงพยาบาล สถานีตำรวจ สาธารณสขุ เป็นตน้ 2. สถานศึกษาระบุเหตชุ ว่ ยเหลือเมื่อเกดิ เหตใุ นสถานศึกษา เช่น การเก็บข้อมลู การรบั ฟัง การ เจรจา ตอ่ รอง การประสานความรว่ มมือ เปน็ ตน้ 2.4 ส่งต่อผู้เรยี นและผู้ได้รบั ผลกระทบทีซ่ ดั เจน (กรณที ส่ี ง่ ต่อ)มีขนั้ ตอนสง่ ตอ่ ทช่ี ดั เจนเปน็ การเฉพาะ กบั สถานการณเ์ พื่อใหผ้ ูป้ ระสบเหตไุ ด้รับการบำบดั รกั ษาทัง้ ด้าน ร่างกายและจติ ใจจากผูเ้ ช่ียวชาญเฉพาะทาง

23 2.5 ติดตามและประสานงานในการประเมินสภาพจิตใจของนักเรียนมีการประสานงาน ติดตาม และ ประเมนิ สถานการณ์หลังได้รับการดแู ลช่วยเหลือ มาตรการที่ 3 การเยี่ยวยาและการบำรุงขวัญ 3.1 มาตรการช่วยเหลอื เยียวยา พืน้ ฟูจิตใจ ผู้ที่ได้รับผลกระทบ 1. ดา้ นการจา่ ยเงนิ ช่วยเหลือผู้เสียชวี ติ และผบู้ าดเจ็บตามสทิ ธิประโยชนท์ างกฎหมาย 2. จดั กิจกรรมพฒั นาความฉลาดทางอารมณแ์ ละสงั คม เพื่อสรา้ งความภาคภูใจ 3. จดั ส่งนกั จติ วทิ ยาลงพนื้ ที่ เพื่อชว่ ยเหลือเยียวยาพนื้ ฟูจติ ใจ (การให้คำปรกึ ษา) 3.2 ประสานทำความเข้าใจตามสถานการณแ์ ละความเหมาะสมใหผ้ ทู้ ่เี กย่ี วข้องทราบ 1. สถานศึกษากำหนดแนวทางในการช่วยเหลือผู้เรียนและผู้ได้รับกระทบที่สามารถตรวจสอบได้ เช่น การจดั ต้ังกองทุนช่วยเหลอื เด็กนักเรยี นหรือผปู้ ระสบภัยในสถานศกึ ษาการขอรบั บรจิ าค ฯลฯ 2. กำหนดหลักเกณฑแ์ ละวิธกี ารในการชว่ ยเหลือตามความเหมาะสมแกเ่ หตทุ ี่เกิดขึ้นกับผู้เรยี นและ ผู้ไดร้ ับผลกระทบ 3. ประสานองค์กรหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อให้ผู้เรียนและผู้ได้รับผลกระทบได้รับสิทธิ ประโยชน์อันพึงมี เช่น เงินกองทุนช่วยเหลือเด็กจาก พมจ. เงินกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) เงินประกนั สังคม ประกันชีวิต เป็นต้น มาตรการที่ 4 การรายงานเหตุ 4.1 รายงานระหว่างประสบเหตุ 4.1.1 กรณีฉุกเฉนิ 1. กรณฉี กุ เฉนิ (ประสบเหตุซ่ึงหน้าหรือกรณีเป็นข่าว) - รายงานตน้ สงั กัดทราบทันที - ตดิ ตามผลจากเหตุทเ่ี กดิ ขนึ้ อย่างใกล้ชิดและรายงานเปน็ ระยะ 4.1.2 กรณไี ม่ฉุกเฉนิ 2. กรณไี ม่ฉกุ เฉนิ - รายงานผบู้ ังคับบัญชาตามลำดับ - บนั ทกึ ขอ้ มูลในแบบรายงานท่สี ถานศึกษากำหนด 4.2 รายงานหลงั ประสบเหตุ - รายงานผลการดำเนนิ การ - รายงานผลการประสานความร่วมมือกบั หนว่ ยงานอ่ืนทเี่ กี่ยวข้อง 4.3. การติดตามและประเมินผลมาตรการความปลอดภยั ในสถานศกึ ษา รายงานการติดตามและประเมนิ ผลมาตรการความปลอดภัยในสถานศกึ ษาพรอ้ มทง้ั จดั เกบ็ ข้อมูล อยา่ งเป็นระบบ

24 กระบวนการ/แนวทางการดำเนนิ งานมาตรการป้องกันภัย 1. มาตรการปอ้ งกันภยั มาตรการป้องกนั กระบวนการ/แนวทางการดำเนนิ งาน 1. มีแผนปฏบิ ตั กิ ารรกั ษาความ ปลอดภัยใน 1. ตั้งคณะกรรมการจัดทำแผนปฏิบัติการ “สถานศึกษา สถานศึกษาอย่างเปน็ ระบบ ปลอดภยั ” 2. กำหนดแผนงาน โครงการที่เกี่ยวข้องกับการขับเคลื่อน ความปลอดภัยใน สถานศกึ ษา 3. กำหนดแผนการจัดกิจกรรมพัฒนาบุคลากรและผู้มีส่วน เกีย่ วขอ้ ง 4. มีระบบเผยแพร่ข้อมูล ข่าวสาร สารสนเทศ ที่เกี่ยวข้อง กบั ความ ปลอดภัยในสถานศึกษาไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ 2. พฒั นาศักยภาพผู้บรหิ าร ครู บุคลากรในการ 1. กำหนดให้มีการเพิ่มความรู้ ทัศนคติ ทักษะ ใน 3 ด้าน ดแู ลช่วยเหลือผู้เรียนและ ผไู้ ดร้ ับผลกระทบ ดังนี้ 1) เพิ่มเติมความรู้ความเข้าใจในหลักสิทธิเสรีภาพของ เดก็ และบทบาท หน้าที่ของครู 2) ทักษะการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงและทักษะการคุ้มครอง ดูแลชว่ ยเหลือ นกั เรยี น 3) ทักษะการจัดการความขัดแย้ง ความคิดเห็นที่ แตกต่าง 4) ทักษะการจัดการเหตใุ นภาวะฉกุ เฉิน 2. บูรณาการการจดั การเรยี นร้ทู ้งั ในและนอกห้องเรยี น 3. จัดกิจกรรมเสริมสร้างศักยภาพผู้เรียนให้มีทักษะชีวิต 4 องค์ประกอบ คือ การตระหนักรู้รักและเห็นคุณค่าใน ตนเองและผู้อื่น การคิดวิเคราะห์ ตัดสินใจและแก้ปัญหา อย่างสร้างสรรค์ การจัดการกับอารมณ์และ ความเครียด การสร้างสัมพนั ธภาพทีด่ กี บั ผูอ้ ืน่ 4. เปิดช่องทางให้นักเรียนได้แสดงความคิดเห็นเสนอ แนวทางความต้องการ เกี่ยวกับความปลอดภัยใน สถานศึกษาโดยผ่านกลไกของสภานักเรียนหรือ กล่องรับ ฟังความคิดเหน็ ของสถานศึกษา 5. ดำเนินการช่วยเหลอื ผู้ที่ไดร้ ับผลกระทบตามโอกาสและ ความเหมาะสม

25 1. มาตรการป้องกนั ภยั มาตรการป้องกัน กระบวนการ/แนวทางการดำเนนิ งาน 3. การพัฒนาสิ่งแวดลอ้ มและ บรรยากาศใน 1. จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพของสถานศึกษาให้มี สถานศึกษา ความปลอดภัย 2. มีมาตรการความปลอดภยั ทหี่ ลากหลายทส่ี อดคล้องและ เหมาะสม กบั สภาพปัญหา 3. มีแหล่งเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างความรู้และสร้างความ ตระหนักเกย่ี วกับ ความปลอดภยั ในสถานศกึ ษา 2. มาตรการแนวทางการช่วยเหลอื เมือ่ เผชิญเหตุและการแก้ปญั หา มาตรการระหวา่ งเผชญิ เหตุและการแก้ปัญหา กระบวนการ/แนวทางการดำเนินงาน 1. จดั การและแก้ไขให้ความช่วยเหลือ หากเกิด 1. สถานศึกษามีแนวปฏิบัติการจัดการหรือการระงับ เหตกุ ารณ์ เหตุการณ์ชว่ ยเหลือ เมื่อเกิดเหตใุ นสถานศึกษา 2. สร้างความตระหนักประชาสัมพันธ์และสร้างการรับรู้ แนวปฏิบัติการ จัดการและการช่วยเหลือทั้งภายในและ ภายนอกสถานศึกษา 3. เตรียมบุคลากรและเครื่องมือให้พร้อมรับสถานการณ์ เช่นการซ้อม ดับเพลิง การซ้อมหนีไฟ การปฐมพยาบาล เบอ้ื งตน้ เปน็ ตน้ 2. คดั กรองและชว่ ยเหลือเบ้ืองต้น ในสถานศึกษา 1. ตรวจสอบข้อมูลเบื้องต้นประเมินสถานการณ์และคัด กรองให้การ ช่วยเหลือผู้เรียนและผู้ได้รับผลกระทบใน สถานศกึ ษา 2. ให้การช่วยเหลือเบื้องต้นกับผู้เรียนและผู้ได้รั บ ผลกระทบในสถานศึกษา เพื่อให้ผู้ประสบเหตุมีความ ปลอดภัยหรือลดระดับความรนุ แรงของ เหตุการณ์ 3. กำหนดขั้นตอนและวิธีการแจ้งเหตุหรือระงับเหตุ สามารถช่วยเหลือด้าน ร่างกายและจิตใจพร้อมประเมิน สถานการณ์เบอ้ื งต้นได้ทนั ที 4. ผู้ที่ได้รับแจ้งเหตุดำเนินการช่วยเหลือด้านร่างกายและ จติ ใจพรอ้ ม ประเมินสถานการณเ์ บอ้ื งตน้ โดยทนั ที

26 มาตรการระหวา่ งเผชญิ เหตุและการแก้ปัญหา กระบวนการ/แนวทางการดำเนินงาน 3. จัดการและประสานความร่วมมอื กับหน่วยงาน 1. กำหนดช่องทางประสานพิเศษเพื่อขอการสนับสนุน ที่เกย่ี วข้อง ช่วยเหลือจากหน่วยงานต่าง ๆ เมื่อมีภาวะวิกฤตเกิดขึ้น เช่น ฝ่ายปกครอง โรงพยาบาล สถานตี ำรวจ สาธารณสขุ เปน็ ตน้ 2. สถานศกึ ษาระบุเหตุชว่ ยเหลอื เมื่อเกิดเหตุในสถานศึกษา เช่น การเก็บ ข้อมูล การรับฟัง การเจรจาต่อรองการ ประสานความรว่ มมือ เป็นตน้ 4. สง่ ต่อผูเ้ รยี นและผไู้ ด้รบั ผลกระทบท่ี ซัดเจน มีขั้นตอนส่งต่อที่ชัดเจนเป็นการเฉพาะกับสถานการณ์ (กรณที ี่สง่ ต่อ) เพื่อให้ ผู้ประสบเหตุได้รับการบำบัดรักษาทั้งด้านร่างกาย และจิตใจจากผู้เช่ยี วชาญเฉพาะทาง 5. ติดตามและประสานงานในการประเมนิ สภาพ มีการประสานงาน ติดตาม และประเมินสถานการณ์หลัง จิตใจของนักเรียน ได้รบั การดแู ลชว่ ยเหลือ 3. มาตรการ การเยยี วยาและการบำรุงขวัญ กระบวนการ/แนวทางการดำเนนิ งาน มาตรการเยยี วยาและการบำรุงขวญั 1. ด้านการจ่ายเงินช่วยเหลือผู้เสียชีวิตและผู้บาดเจ็บตาม 1. มาตรการชว่ ยเหลือเยียวยาพืน้ ฟู จติ ใจผู้ที่ สิทธิประโยชน์ ทางกฎหมาย ไดร้ บั ผลกระทบ 2. จดั กจิ กรรมพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์และสังคมเพื่อ สร้าง ความภาคภูมิใจ 2. ประสานทำความเข้าใจตาม สถานการณ์และ 3. จัดส่งนักจิตวิทยาลงพื้นที่เพื่อช่วยเหลือเยียวยาพื้นฟู ความเหมาะสมใหผ้ ู้ที่ เกย่ี วข้องทราบ จิตใจ (การใหค้ ำปรกึ ษา) 1. สถานศึกษากำหนดแนวทางในการช่วยเหลือผู้เรยี นและ ผู้ได้รับกระทบ ที่สามารถตรวจสอบได้ อาทิ การจัดตั้ง กองทุนช่วยเหลือเด็กนักเรียนหรือ ผู้ประสบภัยใน สถานศกึ ษา การขอรบั บริจาค 2. กำหนดหลักเกณฑแ์ ละวธิ ีการในการชว่ ยเหลือตามความ เหมาะสมแก่ เหตทุ ีเ่ กดิ ขน้ึ กับผเู้ รยี นและผ้ไู ดร้ บั ผลกระทบ 3. ประสานองค์กรหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อให้ผู้เรียน และผู้ได้รับ ผลกระทบได้รับสิทธิประโยชน์อันพึงมี เช่น เงินกองทุนช่วยเหลือเดก็ จาก พมจ. เงินกองทุนเพ่ือความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) เงนิ ประกันสงั คม ประกนั ชวี ติ เป็นตน้

27 4. มาตรการการรายงานเหตุ มาตรการการรายงานเหตุ กระบวนการ/แนวทางการดำเนนิ งาน 1. รายงานระหว่างประสบเหตุ 1. กรณฉี ุกเฉิน กรณฉี ุกเฉนิ (ประสบเหตซุ ง่ึ หน้าหรอื กรณีเป็นขา่ ว) - รายงานต้นสังกดั ทราบทันที - ติดตามผลจากเหตทุ ่เี กดิ ขนึ้ อย่างใกล้ชิดและรายงานเปน็ ระยะ 2. กรณไี ม่ฉกุ เฉนิ - รายงานผบู้ ังคบั บญั ชาตามลำดับ - บนั ทกึ ขอ้ มลู ในแบบรายงานทสี่ ถานศึกษากำหนด 2. รายงานหลงั ประสบเหตุ - รายงานผลการดำเนนิ การ - รายงานผลการประสานความร่วมมอื กบั หน่วยงานอนื่ ท่ี เกี่ยวขอ้ ง 3. การตดิ ตามและประเมนิ ผลมาตรการความ รายงานการติดตามและประเมนิ ผลมาตรการความปลอดภัย ปลอดภยั ในสถานศึกษา ในสถานศึกษาพรอ้ มทัง้ จัดเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบ

28


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook