บทนำ 1 ข้นั ตอนการปฎบิ ัตงิ านการตดิ ตงั้ สายลอ่ ฟ้า 1-2 เครอ่ื งมืออปุ กรณแ์ ละข้อควรระวัง 3-5 01 การอ่านแบบ กำหนดจดุ ติดต้งั สายลอ่ ฟ้า 6-7 02 การตดิ ตัง้ แทง่ ตัวนำล่อฟา้ 8-9 03 การตดิ ต้ังสายตัวนำล่อฟ้า 10-12 04 การติดต้งั หลักดนิ 13-15 ภาคผนวก ก. 16-19 ภาคผนวก ข. 20-28 ภาคผนวก ค. 29-31 ภาคผนวก ง. 32-45 บรรณานกุ รม 46-51 ประวตั ผิ ู้จดั ทำ 52
-1- บทนำ ระบบป้องกันฟา้ ผ่า เป็นระบบทางวิศวกรรมท่ีมคี วามสำคัญมากเน่ืองจากชว่ ยลดความเสยี หายที่ เกดิ ขน้ึ จากปรากฎการณ์ฟ้าผ่าท่ีเกิดข้ึนกบั โครงสร้างอาคาร ทรัพย์สนิ และชวี ติ บุคคคลท่ีอยู่ภายในอาคารนน้ั โดยเนือ้ หาในคู่มอื จะประกอบไปดว้ ย ขน้ั ตอนการปฏบิ ัติงานการตดิ ต้งั สายล่อฟ้าทงั้ หมด 4 ข้นั ตอน รปู ประกอบคำอธิบายภาพการทำงาน วสั ดอุ ปุ กรณ์ ขอ้ ควรระวงั คิวอาร์โคด้ และลงิ ค์วดิ โี อในการทำงาน คูม่ อื เล่มนีจ้ งึ มีประโยชน์อย่างมากต่อผู้ที่มีความสนใจในงานการติดต้ังสายล่อฟา้ การปฏบิ ตั งิ านการตดิ ตง้ั สายลอ่ ฟา้ มี 4 ขัน้ ตอน การอา่ นแบบและกำหนดจดุ ติดต้งั 01 การตดิ ตง้ั แท่งลอ่ ฟ้า 02 การติดตั้งสายตัวนำล่อฟ้า 03
-2- การปฏบิ ตั งิ านการตดิ ตง้ั สายลอ่ ฟา้ มี 4 ขน้ั ตอน การติดตั้งหลกั ดนิ 0
-3- เครื่องมืออุปกรณแ์ ละข้อควรระวงั การตดิ ตั้งสายลอ่ ฟา้ แบบฟาราเดย์ ตลบั เมตร(Tape Measure) บันได10ขน้ั (Staircase) ขอ้ ควรระวงั https://shorturl.asia/6FsoC ขอ้ ควรระวัง https://shorturl.asia/Q0eNm หา้ มดงึ จนสดุ ระยะ ทาใหเ้ กบ็ ไมไ่ ด้ ไมว่ างบนพน้ื ที่ที่ไมส่ มำ่ เสมอ เขม็ ขดั นริ ภยั เตม็ ตัว(Safety belt) สว่านแบตเตอร่ี(Battery Drill) ขอ้ ควรระวงั https://shorturl.asia/Jp ข้อควรระวงั https://shorturl.asia/SaR ตรวจสอบชุดกอ่ นoสsอmมใส่ ค้อน(Hammer) ตรวจสอบแบตเตอร5่กี Eอ่ นใช้ คอ้ นปอนด(์ Pound Hammer) ขอ้ ควรระวงั ข้อควรระวงั ขณะใช้ควรจับให้แนน่ ระวงั หล่นพืน้ อาจเกดิ อันตรายตอ่ เทา้
-4- เครอ่ื งมอื อปุ กรณแ์ ละข้อควรระวัง การตดิ ต้งั สายลอ่ ฟา้ แบบฟาราเดย์ หมวกนิรภยั (Helmet) ถงุ มอื (Glove) ข้อควรระวัง ข้อควรระวงั ตรวจเช็คสภาพกอ่ นสวมใส่ ตรวจเชค็ สภาพกอ่ นสวมใส่ ปากกามารค์ เกอร์ (Marker Pen) สว่านโรตาร่ี (Masonry drill) ข้อควรระวงั https://shorturl.asia/y0 ตรวจเช็คสายกอ่ นใชAง้ sาrน สกร(ู Screw) พคุ (pook) ขอ้ ควรระวัง ระวงั หล่นพ้ืน อาจเกดิ อนั ตรายตอ่ เทา้
-5- เคร่อื งมืออปุ กรณแ์ ละขอ้ ควรระวัง การตดิ ตง้ั สายลอ่ ฟ้าแบบฟาราเดย์ เลเซอร์ (Laser) แคล้มกา้ มปู(Clamp Holder) ข้อควรระวงั https://shorturl.asia/d กราวด์มิเตอร(์ Earth tester) เชค็ แบตเตอรีก่ อ่ นjใUช5้งvาน ท่อ PVC ขอ้ ควรระวงั https://shorturl.asia/ ตรวจสอบแบตเตอรี่กU่อน52ใyชdง้ าน djU5v เทอรโ์ มเวล(Thermowell) ขอ้ ควรระวัง https://shorturl.asia/1H bmU เป็นวตั ถุไวไฟ YVT
-6- 01 การอ่านแบบ กำหนดจุดตดิ ตง้ั สายลอ่ ฟ้า เครอ่ื งมอื และอปุ กรณ์ เทคนคิ การทำงาน ขอ้ ควรระวงั ควรเช็คเครอ่ื งมอื ก่อนข้ึนไปปฏบิ ตั ิงาน ตอ้ งสวมใสอ่ ปุ กรณเ์ ซฟต้เี มื่อข้นึ ที่สงู
-7- 01 1.ถอดแบบของทใ่ี ช้ในการติดตงั้ ขัน้ ตอนการอา่ นแบบ กำหนด จดุ ตดิ ตงั้ สายลอ่ ฟ้า 2.กำหนดจดุ ติดตั้ง hhttttppss::////sshhoorrttuurrll..aassiiaa//xUrXLnqqVu 3.เตรียมอปุ กรณท์ ้ังหมด https://shorturl.asia/UHdZ6 4.มาร์คตำแหนง่ ติดตั้งท้งั หมด
-8- 02 การตดิ ตง้ั แทง่ ตวั นำล่อฟา้ https://shorturl.asia/tpAGV เคร่อื งมอื และอุปกรณ์ เทคนิคการทำงาน ขอ้ ควรระวงั 1.สวมใส่อุปกรณ์เซฟตกี้ ่อนเร่มิ งาน ควรมีทเ่ี ก่ยี วล็อคเคร่อื งมอื ทำงาน 2.ขนั เกลยี วให้แนน่
-9- 02 1.ยดึ ฐานเขา้ กับตวั อาคาร ขั้นตอนการตดิ ตัง้ แทง่ ตัวนำ ล่อฟ้า 2.ยดึ บาร์ทองแดง 3.เชื่อมฐานกับบาร์ทองแดง 4.ขนั เสาเขา้ กบั ฐาน 5.ขนั หวั แท่งสาวแฉกเขา้ กับเสา
- 10 - 03 การติดต้ังสายตัวนำล่อฟา้ https://shorturl.asia/ONiFy เคร่ืองมอื และอุปกรณ์ เทคนิคการทำงาน ข้อควรระวัง เจาะยดึ พุก ด้วยดอกสวา่ นท่มี ีขนาดเล็ก ควรตั้งบันไดใหข้ าสม่ำเสมอกัน และควร กว่า 0.5mm เพ่อื ให้พกุ ยดึ แน่น มคี รชว่ ยจับบนั ได
- 11 - 03 1.ตีเสน้ ดว้ ยเลเซอร์ ข้นั ตอนการตดิ ตั้งสายตวั นำ ลอ่ ฟา้ 2.เจาะยึดพุก 3.ยดึ แคล้มก้ามปู 4.ยึดทอ่ กบั แคล้ม 5.ร้อยสายทองแดงเขา้ ในทอ่
- 12 - 03 6.เชอื่ มต่อบารท์ องแดงกับสายตัว นำลงดิน
- 13 - 04 การตดิ ตัง้ สายดนิ https://shorturl.asia/7tPWX เครือ่ งมอื และอปุ กรณ์ เทคนคิ การทำงาน ขอ้ ควรระวงั ตอกหลักดนิ ในพน้ื ทท่ี ด่ี ินร่วน ระวังตอกโดนมอื เพราะมคี วามหนาแนน่ ของดินสูง
- 14 - 04 1.ตอกฝังหลกั ดนิ ข้ันตอนปฏิบตั งิ านการตดิ ต้งั หลักดิน 2.ใชต้ ัวเทอรโ์ มวลิ เชอ่ื มสายกับ 3.เทดินปะสิวเข้าไปในเทอร์วลิ หลกั ดิน เพ่อื จดุ หลอมละลาย 4.ปดิ ฝาเทอร์โมวิลแลว้ เทสว่ นท่ี 5.จุดไฟเทอรโ์ มวิล เหลือไปบนฝา
- 15 - 04 6.ใช้คอ้ นเคาะเทอร์โมวลิ ออก 7.วัดคา่ ไมใ่ ห้เกนิ 5 โอหม์ ***หมายเหตุ ถ้าค่าท่วี ดั เกิน 5 โอหม์ ใหท้ ำการตอกแทง่ หลกั ดนิ เพ่มิ เพือ่ ลดค่าความต้านทาน
- 16 - ภาคผนวก ก การอา่ นแบบ กำหนดจดุ ติดต้งั
- 17 - การออกแบบระบบป้องกันฟ้าผา่ ให้ได้ผลดที พ่ อเหมาะทัง้ ทางเทคนคิ และทางเศาฐศาสตร์จะเปน็ ไปได้ ก็ต่อเมอื่ ข้นั ตอนการออกแบบและการกอ่ สรา้ งสิง่ ปลูกสร้างท่ีจะป้องกนั ได้ประสานสัมพนั ธ์กบั ข้ันตอนการออก แบและก่อสรา้ งส่ิงปลูกสร้างที่จะป้องกนั โดยเฉพาะการออกแบบสิง่ ปลกู สรา้ งควรใช้ประโยชน์ของส่วนโลหะ ของสิ่งปลูกสร้างเปน็ ส่วนของระบบปอ้ งกันฟา้ ผ่า ระบบปอ้ งกันฟ้าผา่ ภายนอก 1.ทวั่ ไป 1.1 การใช้งานระบบปอ้ งกันฟา้ ผ่าภายนอก ระบบปอ้ งกันฟา้ ผ่าภายนอกมหี น้าท่ีดักวาบฟ้าผา่ โดยตรงลงสิ่งปลูกสร้าง รวมทัง้ วาบฟา้ ผ่าเขา้ สู่ ด้านขา้ งของสง่ิ ปลูกสร้าง และนำกระแสฟ้าผ่าจากจดุ ฟ้าลงส่ดู ิน ระบบปอ้ งกันฟ้าผ่าภายนอกยังมีหน้าท่ี กระจายกระแสฟ้าผ่านี้ลงส่ดู ิน โดยไมท่ ำใหเ้ กดิ ความเสียหายทางกลและทางความร้อน รวมท้ังยังไมท่ ำให้เกิด ประกายอนั ตรายท่ีอาจจดุ ชนวนใหเ้ กดิ ไฟไหม้ หรือการระเบิด
- 18 -
- 19 - 1.2 การเลือกระบบป้องฟา้ ผ่าภายนอก โดยสว่ นใหญ่ ระบบปอ้ งกันฟ้าผา่ ภายนอกอาจจะยึดติดกับสงิ่ ปลกู สร้างที่จะป้องกนั ระบบปอ้ งกันฟ้าผา่ ภายนอกแยกอิสระควรพิจารณาเลอื กใช้เม่ือผลของความร้อนหรือระเบดิ ณ จดุ ฟ้าผา่ หรือบนตวั นำทนี่ ำกระแสฟ้าผ่าอาจก่อความเสยี หายตอ่ ส่งิ ปลูกสรา้ งหรือสิ่งท่ีอยู่ภายใน ตัวอยา่ งเชน่ สง่ิ ปลกู สรา้ งซึ่งมสี งิ่ ปกคลุมท่ีตดิ ไฟได้ ส่งิ ปลกู สร้างที่มีผนังทต่ี ิดไฟได้และบริเวณที่มคี วามเสีย่ งต่อการเกดิ เพลงิ ไหมห้ รือการระเบิด ***หมายเหตุ การใช้ระบบปอ้ งกนั ฟ้าผา่ แยกอสิ ระอาจมีความสะดวกกวา่ เมื่อคาดการณ์วา่ การเปลยี่ นแปลงสง่ิ ปลกู สรา้ ง หรอื ส่งิ ท่ีอยู่ภายใน รวมทงั้ การใช้งาน จะมผี ลให้ต้องดัดแปลงระบบป้องกันฟา้ ผ่า ระบบปอ้ งกันฟา้ ผา่ ภายนอกแยกอสิ ระอาจจะพิจารณาเลอื กใช้เม่ือสิ่งทีอยภู่ ายในส่ิงปลูกสร้างไม่ สามารถรบั ระดับการรบกวนของสนามแม่เหลก็ ไฟฟ้าจากพัลสก์ ระแสไฟฟ้าท่ไี หลผ่านตัวนำลงดนิ ทำใหต้ ้องลด สนามแมเ่ หล็กไฟฟา้ โดยการใช้ระบบป้องกันฟ้าผา่ ภายนอกแยกอสิ ระ https://shorturl.asia/Y1LFj
- 20 - ภาคผนวก ข. การติดต้ังแท่งตัวนำลอ่ ฟา้
- 21 - การติดตั้งตัวนำลอ่ ฟ้า การตดิ ตั้งตวั นำลอ่ ฟา้ 1.ทั่วไป ความเป็นไปได้ของการทะลุทะลวงสง่ิ ปลกู สร้างโดยกระแสฟา้ ผ่าจะลดลงอยา่ งมาก เมือ่ มรี ะบบตวั นำล่อฟา้ ทอี่ อกแบมาอยา่ งถกู ต้องเหมาะสม ระบบตัวนำล่อฟา้ สามารถประกอบดว้ ยการรวมกนั ใดๆ ขององค์ประกอบดงั ต่อไปนี้ 1.1แท่งตวั นำ (รวมถงึ เสาท่ตี ง้ั อยู่อิสระ) 1.2สายตวั นำขึง 1.3ตัวนำแบบตาขา่ ย เพอ่ื ใหเ้ ปน็ ไปตามมาตรฐานนี้ ตอ้ งติดตง้ั ระบบตวั นำล่อฟา้ ทกุ ชนิดในตำแหน่งตามที่ กำหนดไว้ แท่งตัวนำลอ่ ฟา้ แตล่ ะแท่งควรต่อถงึ กนั ท่รี ะดบั หลงั คาเพอ่ื ให้แน่ใจว่ากระแสจะมีการ แบง่ ไหล ตวั ล่อฟา้ ชนิดกมั มันตรังสีไม่ดีรบั อนญุ าติให้ใช้
- 22 -
- 23 - 2.การจดั วางตำแหน่งตวั นำล่อฟ้า ส่วนประกอบของตวั นำลอ่ ฟ้าทต่ี ิดตัง้ บนส่งิ ปลกู สรา้ งตอ้ งวางในตำแหน่งหัวมมุ จดุ ท่ี เปิดโลง่ และรมิ ขอบ (โดยเฉพาะระดับบนของสว่ นเปิดอาคาร) วิธที ่ียอมรับการหาตำแหน่งระบบตวั นำลอ่ ฟ้าไดแ้ กว่ ิธีหนึ่งหรือหลายวธิ ตี อ่ ไปน้ี -วิธีมุมป้องกนั -วธิ ีทรงกลมกลง้ิ -วิธีตาขา่ ย วธิ ีมมุ ป้องกัน เหมาะสมกบั อาคารที่มีรปู ร่างง่ายๆ แต่ข้นึ กับขอ้ จำกัดในเรื่องความสูง ของตวั นำลอ่ ฟ้า วิธีทรงกรมกรงิ้ สามารถใชไ้ ดใ้ นทุกกรณี
- 24 - วิธีตาข่าย เป็นวธิ ีป้องกนั ทีเ่ หมาะสมกบั พ้นื ผิวที่เป็นระนาบ คา่ มุมป้องกัน รศั มีของทรงกลมกลิ้ง และขนาดตาข่าย สำหรบั ป้องกันฟา้ ผา่ ต่ละชนั้ ไวใ้ นขอ้ มลู โดยละเอียดสำหรบั การจัดวางตำแหน่งของระบตัวนำ
- 25 -
- 26 -
- 27 -
- 28 - https://shorturl.asia/Y1LFj
- 29 - ภาคผนวก ค. การติดตง้ั สายตัวนำลอ่ ฟา้
- 30 - มาตรฐานหลักดนิ ตาม ว.ส.ท. แท่งเหล็กหุ้มดว้ ยทองแดง (copperbonded ground rod ) หรอื แท่งทองแดง (solid copper) หรือแท่งเหล็กอาบสังกะสี (hot-dip galvanized steel) ต้องมีขนาดเส้นผ่าศนู ยก์ ลางไมน่ อ้ ย กวา่ 5/8 นิ้ว (ขนาดโดยประมาณ 0.560 นวิ้ หรอื 14.20 มม. สำหรบั แทง่ เหล็กหุ้มดว้ ยทองแดง และ 0.625 นวิ้ หรอื 15.87 มม. สำหรับแท่งเหล็กอาบสังกะสี) ยาวไม่น้อยกว่า 2.4 เมตร • เหล็กทใี่ ช้เปน็ แกนให้ทำจาก low carbon steel ท่มี ี tensile strength ขนาดไมน่ ้อยกว่า 600 นวิ ตันตอ่ ตร.มม. • ทอง แดงทใ่ี ชห้ ุ้มมีความบรสิ ทุ ธ์ิ 99.9 % และหมุ้ อย่างแนบสนิทแบบ molecularly boned กับแกนเหล็ก ความหนาของทองแดงทหี่ ุม้ ท่ีจุดใดๆ ต้องไม้นอ้ ยกว่า 250 ไมโครเมตร(0.25 มม.) • ต้องผา่ นการทดสอบการยึดแน่นและความคงทนของทองแดงทหี่ ุ้มดว้ ยวิธี Jacket Adherence test และ Bending Test ตามมาตรฐาน UL-467 • ในกรณีแทง่ เหล็กอาบสงั กะสีตอ้ งมีความหนาของสงั กะสีไม่น้อยกว่า 80 ไมโครเมตร(0.075 มม.) เปน็ ไงครบั อา่ นถึงตรงน้มี ึนไปเลย หาซอื้ ยากหน่อยนะ่ครับ สำหรบั แทง่ กราวดต์ ามมาตรฐานข้างต้น จะมี เฉพาะรา้ นที่ใหญๆ่ หรือรา้ นท่ีขายของให้การไฟฟ้าครับ มาตรฐานสายตอ่ หลักดินตาม ว.ส.ท. สายที่ตอ่ จากหลกั ดนิ มายงั จุดตอ่ หลักดิน (ground bus) หรอื ตอ่ จากหลกั ดิน มายงั ground bus ในตู้ consumer unit โดยตรง มาตรฐานสายดินของบรภิ ัณฑ์ไฟฟ้าตาม ว.ส.ท. สายดินที่เดนิ ไปยังอปุ กรณ์ไฟฟา้ (บริภณั ฑ์ไฟฟ้า)
- 31 - วธิ ีการตอ่ : สายต่อหลักดนิ (เขา้ กบั หลักดนิ )ตาม ว.ส.ท. ต้องใชว้ ิธเี ชอ่ื มด้วยความร้อน (Exothermic Welding) หูสาย หวั ตอ่ แบบบีบอดั ประกับต่อสาย หรือสิ่งอื่นทีร่ ะบใุ หใ้ ช้เพ่ือการนี้ ห้ามตอ่ โดยการใชก้ าร บัดกรเี ปน็ หลกั อุปกรณ์ท่ีใช้ต่อตอ้ งเหมาะสมกบั วัสดทุ ่ีใช้ทำหลักดนิ และสายต่อหลกั ดนิ หา้ มต่อสายต่อหลกั ดนิ มากกวา่ 1 เส้นเข้ากับหลักดิน นอกจากอุปกรณ์ที่ใช้ในการต่อเป็นชนิดที่ออกแบบมาใหต้ ่อสายมากกว่า 1 เส้น ม https://shorturl.asia/wF25J
- 32 - ภาคผนวก ง. การตดิ ต้งั หลักดนิ
- 33 - การตดิ ตงั้ หลกั ดิน สำหรับระบบสายดินในระบบไฟฟา้ ของบ้านพกั อาศยั หรอื แม้แต่อาคารอน่ื ๆกต็ าม ระบบสายดินทมี่ ี จะเปน็ สายดนิ ที่สมบูรณ์ก็ต่อเม่ือมีการต่อลงพืน้ ดิน และเพื่อใหร้ ะบบสายดนิ มีความสมบูรณ์ใช้งานไดจ้ รงิ ตาม มาตรฐาน จะต้องมีการติดต้ังระบบสายดนิ และการต่อลงดินด้วยวธิ กี ารและรูปแบบที่ถูกต้องตาม มาตรฐานสากล ซงึ่ เปน็ ทยี่ อมรับกันโดยทัว่ ไป โดยในเรื่องของรปู แบบและวิธรการติดตั้งท่ถี ูกต้องนั้น เป็นสง่ิ ทีผ่ ู้ใชไ้ ฟฟ้าทว่ั ไปมกั ไม่ค่อยให้ความสำคญั หรือ ความสนใจเท่าทีควรเพราะเป็นสว่ นทเี่ ม่อื ตดิ ตัง้ เสร็จแลว้ โดยปกตจิ ะมองไมเ่ ห็น และการใชไ้ ฟฟา้ ทวั่ ๆไป อุปกรณ์ไฟฟ้าก็สามารถใชง้ านได้อยปู่ กติแม้ระบบสายดนิ จะถกู ต่ออยา่ งไม่ถูกต้องก็ตาม ซึ่งยังไม่นบั เหตผุ ลอ่ืนๆ อย่างเชน่ ผใู้ ช้ไฟทั่วไปมคี วามคิดวา่ ระบบสายดนิ เป็นเร่ืองยงุ่ ยากและเปน็ เรอ่ื งเฉพาะทางของสายงานท่ี เกี่ยวกับไฟฟ้าเทา่ นัน้ ตรงนี้เองกเ็ ป็นอีกเหตผุ ลท่ีทำให้หลายคนละเลยและเลือกทีจ่ ะไมเ่ รียนรศู้ ึกษาในเร่อื งน้ี ทำให้การตดิ ตง้ั ระบบสายดิน ยังคงเป็นเร่ืองท่หี ลายคนไม่ค่อยใหค้ วามสนใจมากเท่าท่ีควร และในบางคร้ัง เมือ่ เกิดเหตไุ ม่คาดฝัน หรือเมอ่ื มอี ุบัตเิ หตุผถู้ กู ไฟดูดเกดิ ขนึ้ กจ็ ะนำมาซึง่ โศกนาฏกรรมและความสญู เสยี ทงั้ ชีวิต และทรัพยส์ ิน โดยเม่อื มีเหตุเกิดขึน้ แลว้ จึงจะมกี ารสนใจในเรอ่ื งสายดนิ ขน้ึ มา ซ่งึ มนั ก็อาจจะสายเกินไปแลว้ ดว้ ยเหตุผลที่กล่าวมาน้ี ผเู้ ขยี นจึงขอหยบิ ยกเรื่องของวิธีการติดตั้งหลกั ดนิ ของระบบสายดนิ ซง่ึ เปน็ วิธที ถี่ ูกต้อง ตามมาตรฐาน มาเขยี นเปน็ บทความชุดนี้ขึ้นเพื่อเป็นความรูแ้ ก่บคุ คลท่ีสนใจทัว่ ไป ซึ่งแม้จะเปน็ ระบบสายดินของบา้ นพักอาศยั ก็จำเปน็ ต้องติดตง้ั อยา่ งถกู ต้องตามมาตรฐาน ทงั้ นเี้ พื่อใหร้ ะบบ สายดนิ มีความปลอดภยั ใชง้ านได้จริงนั่นเอง
- 34 - แท่งหลักดินท่จี ะใชต้ ิดตงั้ สำหรับแท่งหลกั ดิน Groung Rod ที่นำมาใช้เปน็ หลักดิน แบบทก่ี ำหนดไว้ตามมาตรฐานการติดต้งั ทาง ไฟฟ้าสำหรบั ประเทศไทย จะมรี ูปแบบเป็นแทง่ โลหะกลม(ทรงกระบอก)ซึ่งทำมาจากโลหะปลอดสนมิ ใน การติดตง้ั ท่ัวไปนน้ั จะใชเ้ ป็นแทง่ ทองแดงหรอื เปน็ แทง่ เหล็กหุ้มภายนอกด้วยทองแดง หลกั ดินตามมาตรฐานทก่ี ำหนดนน้ั จะตอ้ งมเี ส้นผา่ นศนู ย์กลางไมน่ ้อยกวา่ 16 มลิ ลิเมตร (5/8 นิ้ว) และมี ความยาวไมน่ ้อยไปกวา่ 2.4 เมตร
- 35 - การตดิ ต้ังหลกั ดนิ การตดิ ตั้งหลกั ดนิ น้ัน จะตอ้ งทำการตอกลงไปในพ้นื ดนิ โดยตอกลงไปตรงๆในแนวดิง่ แต่หากในพ้นื ดินท่ี ตอกหลักดนิ ลงไปมีวัตถุหรือสง่ิ กีดขวางทแี่ ข็งและไม่สามารถตอกหลกั ดนิ ให้ทะลลุ งไปตรงๆได้ กรณีนี้ มาตรฐานไดอ้ นโุ ลมให้ทิศทางท่ตี อกลงไปในดิน สามารถเอียงไปไดไ้ ม่เกิน 45 องศา หรืออาจใช้วิธกี ารขดุ ดินแลว้ ฝงั แท่งหลักดินลงไปในแนวราบท่ีความลกึ ไมน่ ้อยกว่า 0.75 เมตร
- 36 - ก่อนตดิ ตัง้ แทง่ หลักดิน ตอ้ งทำการสำรวจพ้นื ที่ ท่ตี ้องการจะตดิ ตัง้ หลักดนิ เพ่ือใหแ้ น่ใจว่าไม่มีวตั ถหุ รือสง่ิ กดี ขวางฝังอยู่ ซึ่งส่ิงกดี ขวางทฝ่ี งั อยู่อย่างเช่นโครงสร้างหรือฐานรากอาคาร จะทำให้ไมส่ ามารถตอกหลัก ดินผ่านลงไปได้ บริเวณพื้นทีท่ ีจ่ ะทำการตอกหลกั ดิน หากเลือกได้ควรเลือกติดต้งั ในบรเิ วณท่มี ีลักษณะเป็นดินท่มี คี วามชื้น หรือเปียก เพราะความต้านทานทม่ี ีอยูจ่ ะตำ่ กว่าบรเิ วณดินทแี่ ห้งและรว่ น กอ่ นตอกหลักดินลงไปในดินควรทำความสะอาดหลกั ดนิ ใหป้ ราศจากคราบไขมนั หรอื สงิ่ สกปรกท่ีตดิ อยู่บน ผวิ ของหลกั ดนิ จากนนั้ จงึ ทำการตอกหลกั ดินลงไปตรงๆในแนวดง่ิ ดว้ ยค้อนท่ีมีขนาดและน้ำหนักเหมาะสม และตอกลงไป จนหลกั ดินเกือบจะจมสดุ โดยใหม้ ีส่วนท่ีโผล่ขนึ้ มาเพียงเลก็ น้อย พอให้ต่อสายได้
- 37 - สำหรับบ้านทม่ี ีพ้ืนทน่ี อกตัวบ้าน ควรทำเป็นหลุมหรือบอ่ พกั คอนกรีตท่มี ีฝาปดิ โดยขุดให้ต่ำลงไปกว่า ระดับพ้ืนปกติพอประมาณ แลว้ ทำเป็นบ่อพักคอนกรตี ครอบจุดท่ตี ิดต้ังหลักดนิ ไว้ เพื่อเป็นการสะดวกใน การตรวจสอบหรอื เซอรว์ สิ ในอนาคต ภาพแสดงตัวอย่างฝาปิดบ่อพักของหลักดนิ การตอ่ สายเข้ากบั หลักดนิ สำหรับสายต่อหลักดนิ จะเป็นสายตัวนำไฟฟ้า ทต่ี อ่ ออกมาจากจดุ ตอ่ รวมของระบบสายดนิ (Ground Bar) ซ่ึงจุดต่อรวมมักจะถกู ติดตั้งในตู้ควบคมุ ระบบไฟฟา้ หลกั ของอาคาร (Load Center , MDB) โดย สายตอ่ หลักดินจะเปรยี บเสมือนสายประธานของระบบสายดินทงั้ หมด มีหนา้ ทีเ่ ชื่อมต่อระบบสายดนิ ย่อย ตามจุดตา่ งๆมารวมกันและลงสู่หลักดิน สายต่อหลักดินจึงตอ้ งมขี นาดใหญ่กวา่ สายดนิ อน่ื ๆในระบบ เพอ่ื รบั ภาระทางไฟฟ้าท่ีมีจากสายดนิ จดุ ตา่ งๆ รวมไปถึงต้องเผ่ือในการรับแรงทางกลทอ่ี าจจะเกิดขนึ้ ใน ภายหลงั เชน่ กรณีท่ีพ้ืนดนิ มีการทรุดตวั ลงหากใช้สายต่อหลกั ดนิ ทีม่ ีขนาดเลก็ เกินไป จะทำใหส้ ายต่อหลัก ดินเสี่ยงท่จี ะขาดออกจากระบบ
- 38 - รปู แบบวธิ ีการตอ่ สายเข้ากับหลักดินมีอยู่ด้วยกนั หลายวิธีหลายรปู แบบ เช่น - การเชือ่ มบคั กรี หรือการตอ่ เชอื่ มดว้ ยความร้อน - การต่อดว้ ยหัวตอ่ แบบบบี อัด - การตอ่ ด้วยประกับต่อสาย - การต่อด้วยแคลมปต์ ่อสาย เพ่ือใหส้ ายต่อหลักดนิ มีความคงทน และมปี ระสทิ ธภิ าพ ตอ้ งให้ความสำคญั ในน้ันการติดตงั้ โดยเฉพาะ ขนั้ ตอนการตอ่ สายเข้ากับหลักดนิ ซึ่งเป็นการตอ่ สายตวั นำเขา้ กบั แท่งหลักดนิ สำหรับการติดตง้ั แบบท่ัวไปท่พี บเหน็ ไดบ้ อ่ ย ก็คอื การตดิ ต้ังดว้ ยแคลมป์ต่อสาย ซึง่ ใช้การขันสกรูทอี่ ยู่กบั แคลมป์ เพ่อื จับยึดสายให้ต่ออย่กู บั หลักดนิ เป็นวิธีที่สะดวกและหาซื้ออุปกรณไ์ ด้ง่ายสุด แตอ่ ยา่ งไรกต็ าม วธิ ีนี้ยงั คงมจี ุดอ่อนอยูโ่ ดยในการติดต้ังหากจับยึดสายในจุดท่ไี ม่เหมาะสมรมไปถงึ การขันสกรทู ไี่ มแ่ นน่ ตรง ตำแหน่ง ก็จะเสีย่ งต่อการหลวมหรอื หลุดในระยะยาว และทำให้ระบบสายดนิ ขาดออกในทส่ี ดุ โดยสายดิน ทีต่ ิดตง้ั ดว้ ยแคลมปน์ ้ันสามารถตดิ ต้งั ได้เพียงสายเสน้ เดยี วเท่าน้นั ห้ามใชส้ ายหลายเส้นมาต่อรวมกันในแค ลมป์อนั เดียว เว้นแตเ่ ป็นแบบท่อี อกแบบมาเฉพาะใหร้ องรับสายได้มากกว่าหนง่ึ เส้น
- 39 - แต่วิธกี ารทีม่ ปี ระสทิ ธภิ าพมากท่ีสดุ และมีความคงทนในระยะยาวน้นั ก็คอื วธิ กี ารต่อแบบ เชอ่ื มด้วยความ ร้อน (Exothermic Welding) การเชอ่ื มด้วยความร้อนนน้ั เป็นวธิ ที ม่ี ีประสิทธิภาพมาก และยังมคี วามนา่ เช่ือถือในระยะยาวอีกดว้ ย โดย การเช่ือมด้วยความรอ้ น หลักๆแลว้ สามารถทำได้สองรปู แบบ คือการเชื่อมบัคกรดี ้วยหัวเช่ือมแก๊สและ ลวดเช่อื ม หรือการเชอื่ มดว้ ยอปุ กรณ์ท่ีออกแบบมาเฉพาะ อย่างเชน่ เบ้าหลอมหลักดนิ ซึง่ เป็นชดุ เชื่อมต่อ แบบพร้อมใชง้ าน โดยในการทำงานของชุดเบ้าหลอมนัน้ จะอาศัยความรอ้ นจากการเผาไหมของดินปืนท่ี บรรจไุ วภ้ ายในชดุ เช่อื ม เบ้าหลอมสายดินสามารถหาซอื้ ไดต้ ามร้านจำหน่ายอุปกรณไ์ ฟฟา้ ชั้นนำทั่วไป ซ่ึงชดุ เบา้ หลอมกลกั ดินน้ัน เป็นอุปกรณ์ท่ีออกแบบมาให้สะดวกต่อการตดิ ต้งั ใช้งาน ซงึ่ หลักดินท่ีถูกเช่ือมต่อดว้ ยวิธนี ี้ จะเป็นหลักดินท่ี มปี ระสิทธภิ าพในการใช้งาน และเป็นรูปแบบของการตดิ ต้งั ตามมาตรฐานท่ไี ดร้ บั ความนิยมในปัจจุบัน
- 40 -
- 41 - การทดสอบหลกั ดนิ สำหรบั หลักดินที่ตอกลงไปในพื้นดนิ แลว้ น้ัน ก่อนทจี่ ะตดิ ตง้ั สายต่อหลกั ดนิ ควรทำการทดสอบหลกั ดิน โดยการทดสอบทางกลและการทดสอบวดั คา่ ทางไฟฟา้ สำหรับการทดสอบทางกลนั้นสามารถทำได้เบ้อื งตน้ โดยการใช้มอื จับทสี่ ่วนบนของหลักดินทโ่ี ผลพ่ น้ ดินมา แล้วใชแ้ รงดงึ พอเหมาะ เพื่อเป็นการทดสอบความแข็งแรงของหลกั ดินทต่ี อกลงไปแล้ว ซ่ึงหลักดนิ ทด่ี ีนน้ั ต้องมคี วามแข็งแรงและแนน่ เม่อื ดงึ หรือโยกด้วยแรงพอประมาณจะต้องเคลื่อนท่ีไม่ได้อย่างงา่ ย หาก พบวา่ หลกั ดนิ ที่ตอกลงไปสามารถดึงหรือขบั ไดง้ ่ายๆดว้ ยมือเปล่า แสดงว่าหลักดินนัน้ ไม่มีประสิทธภิ าพใน ดา้ นความแขง็ แรง และการถ่ายเทประจุไฟฟ้าก็ย่อมทำไดไ้ มด่ ดี ้วย
- 42 - และในส่วนของการทดสอบวัดคา่ ทางไฟฟ้า เปน็ วธิ ีการทดสอบอกี ข้ันตอนทตี่ อ้ งทำ เพ่ือตรวจสอบวดั คา่ ความต้านทานของหลกั ดินจุดนนั้ ด้วยเครือ่ งมอื วดั และทดสอบที่ออกแบบมาโดยเฉพาะ โดยเครอ่ื งมือทีใ่ ช้ วดั ทดสอบค่าความต้านทานหลกั ดนิ นัน้ เรียกวา่ Earth Tester Meter หรือ Earth Resistance Tester
- 43 - โดยหลักดินทไี่ ดม้ าตรฐานน้ันต้องมีคา่ ความตา้ นทานดนิ ไมเ่ กนิ 5 โอห์ม ซง่ึ ถ้าหากหลักดนิ ที่ตอกลงไปนั้น มีความต้านทานสงู เกนิ กวา่ 5 โอห์ม จะต้องตอกแท่งหลักดนิ เพม่ิ ให้ขนานกับแท่งหลักดินอนั แรกทตี่ อกลง ไป แล้วจงึ ใชส้ ายตอ่ ฝาก เชื่อมต่อให้หลกั ดนิ ท่ีตอกลงไปตอ่ ถงึ กันหมด การตอกแท่งหลักดนิ เพ่ิมแลว้ ต่อ ฝากถึงกนั นัน้ จะชว่ ยใหค้ ่าความต้านทานหลักดินลดลงได้
- 44 - แต่ในกรณที ่ดี ินบรเิ วณนั้นมีคา่ ความต้องการสูงมากๆ ซึ่งหากระดับคา่ ความตา้ นทานทมี่ ีอยูส่ ูงมากๆ การ ตอกหลกั ดนิ เพิ่มลงไป ก็อาจจะชว่ ยไดไ้ ม่มาก ซง่ึ แนวทางการแก้ไขตอ้ งใชว้ ธิ กี ารทพี่ ิเศษไปจากเดมิ คือการ เตมิ สารเคมีบางชนิด เพ่ือช่วยในการปรับปรงุ สภาพดนิ ในบรเิ วณน้ัน โดยสารเคมีที่เตมิ ลงไปนัน้ จะเปน็ สารเคมใี นกลุ่มเกลือ เชน่ Sodium Chloride , Copper Sulfate และ Magnesium Sulfate โดย Magnesium Sulfate จดั ว่าเปน็ สารที่กอ่ ให้เกดิ การกัดกรอ่ นน้อยที่สดุ ซ่ึงการปรับสภาพ ดินดว้ ยสารเคมนี ัน้ ผลท่ีได้จะเปน็ ไปอย่างต่อยเปน็ คอ่ ยไป สำหรับหลกั ดนิ ท่ีตอกกนั อยูใ่ นปัจจุบัน โดยเฉพาะการตดิ ตงั้ ในงานบ้านพกั อาศัยทั่วไปนนั้ ส่วนใหญ่หลกั ดนิ ที่ตดิ ตง้ั น้ันมกั จะตอกลงไปในดินโดยทไ่ี มไ่ ดท้ ำการวัดค่าความต้านทานดว้ ยเครื่องมอื เฉพาะ ซงึ่ ถึงแม้จะ มกี ารลงดนิ จริงๆแต่ก็ไม่มีอะไรเป็นเครื่องยืนยนั ว่าหลกั ดินนั้นจะใช้งานได้ดีมีประสิทธิภาพตลอดระยะเวลา ที่ใชง้ าน
- 45 - การตรวจสอบหรือบำรุงรกั ษาในอนาคต หลักดินทถ่ี ูกตอกลงไปในดนิ น้นั แมจ้ ะถูกตอกลงไปให้อยู่กบั ทกี่ ต็ าม แต่ในความเป็นจรงิ น้นั พน้ื ดนิ ใน บริเวณท่กี อ่ สร้างอาคาร รวมไปถึงโครงสรา้ งอาคารยอ่ มมีการทรุดตัวลงไปเองตามธรรมชาตอิ ยา่ งช้าๆ ซง่ึ ในระยะยาวนนั้ การทรดุ ตัวที่เป็นไปอยา่ งชา้ ๆ ระดบั พืน้ ดินกจ็ ะมีความแตกต่างกันกบั ระดบั พ้นื ที่เดิมใน ตอนท่ตี ดิ ต้งั หลกั ดิน ซึ่งตรงนี้หากการติดตงั้ มีความบกพรอ่ ง ก็อาจจะทำใหส้ ายตอ่ หลักดนิ ขาดออกจาก หลกั ดนิ โดยเฉพาะกรณีท่ีใช้แคลป์เป็นตัวยดึ สายเขา้ กับหลกั ดนิ ก็จะมคี วามเสีย่ งทจ่ี ะหลดุ ได้งา่ ยกวา่ การ เชื่อมต่อดว้ ยความร้อน เพื่อเปน็ การสะดวกในการตรวจสอบสภาพหลกั ดินในอนาคต สำหรบั บ้านพักอาศยั หรืออาคารท่มี ีพน้ื ท่ี รอบตวั บา้ น หากเปน็ ไปไดค้ วรทำเป็นบอ่ พักหรือหลุมทข่ี ุดลกึ ลงไปจากระดับพื้นปกตเิ ล็กน้อย ซึ่งมีผนัง ของหลุมและฝาปิดปากหลุมเปน็ คอนกรีต เพอื่ ใชเ้ ป็นจุดตรวจสอบและจดุ เซอร์วสิ ในภายหลงั ซึ่งจะสะดวก สำหรับการตรวจสอบในระยะยาว https://shorturl.asia/eEKf5
- 46 - บรรณานกุ รม การใช้ตลับเมตร [ออนไลน์] [สบื คน้ เม่ือวนั ท่ี 29 พฤษภาคม 2565]. จาก https://shorturl.asia/6FsoC การใช้งานบนั ได [ออนไลน์] [สืบค้นเมื่อวนั ท่ี 29 พฤษภาคม 2565]. จาก https://shorturl.asia/Q0eNm การใชง้ านเข็มขดั นิรภัยแบบเต็มตวั [ออนไลน์] [สบื คน้ เมอ่ื วันท่ี 29 พฤษภาคม 2565]. จาก https://shorturl.asia/Jp
- 47 - การใชง้ านสว่านแบตเตอรี่ [ออนไลน์] [สืบค้นเม่ือวันท่ี 29 พฤษภาคม 2565]. จาก https://shorturl.asia/SaR การใช้งานสว่านโรตาร่ี [ออนไลน์] [สืบค้นเม่ือวันที่ 29 พฤษภาคม 2565]. จาก https://shorturl.asia/y0 การใช้งานเลเซอร์ [ออนไลน์] [สบื คน้ เม่อื วันท่ี 29 พฤษภาคม 2565]. จาก https://shorturl.asia/d
- 48 - การใชง้ านกราวด์มเิ ตอร์ [ออนไลน์] [สืบคน้ เม่อื วันที่ 29 พฤษภาคม 2565]. จาก https://shorturl.asia/ การใช้เทอร์โมเวลล์ [ออนไลน์] [สืบคน้ เม่อื วนั ท่ี 29 พฤษภาคม 2565]. จาก https://shorturl.asia/1H แบบท่ใี ช้ในการตดิ ตง้ั [ออนไลน์] [สืบค้นเมอื่ วันที่ 5 มถิ ุนายน 2565]. จาก https://shorturl.asia/UXqVu
Search