Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิทย์ชีวภาพม.4

วิทย์ชีวภาพม.4

Published by Ananya Riddle, 2020-02-15 23:26:38

Description: วิทย์ชีวภาพม.4

Search

Read the Text Version

ผังมโนทศั น์ ชวี ติ ในส่ิงแวดลอ้ ม วิชาวทิ ยาศาสตร์ชวี ภาพ ศ​ กึ ษาเก่ียวกบั ระบบนเิ วศ มนุษย์กับทรัพยากรธรรมชาติ ศ​ ึกษาเก่ยี วกบั และสงิ่ แวดล้อม ​ศกึ ษาเก่ียวกับ ไบโอม การเปลี่ยนแปลงแทนท่ี การเปลี่ยนแปลงขนาด ปญั หาและผลกระทบ ศ​ ึกษาเกย่ี วกับ มีสาเหตุจาก ของประชากร มนุษย์ มีสาเหตุจาก การอนรุ กั ษ์ องคป์ ระกอบทางกายภาพ ไบโอมบนบก ระบบนเิ วศแหลง่ น้�ำ ประกอบด้วย ประกอบดว้ ย ธรรมชาติ ทนุ ดรา แหลง่ นำ้�จดื สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี องคป์ ระกอบทางชวี ภาพ ปา่ สน แหลง่ น�้ำ เคม็ บทที่ 5 | ชีวิตในส่งิ แวดล้อม ปา่ ผลดั ใบเขตอบอุ่น ทุ่งหญา้ เขตอบอนุ่ ปา่ เขตรอ้ น สะวันนา ทะเลทราย 137

138 บทที่ 5 | ชวี ติ ในส่งิ แวดล้อม วทิ ยาศาสตรช์ วี ภาพ สาระส�ำ คญั โลกแตล่ ะบรเิ วณมสี ภาพทางภมู ศิ าสตรท์ แี่ ตกตา่ งกนั แบง่ ออกไดเ้ ปน็ หลายเขตตามสภาพภมู อิ ากาศ ท�ำ ใหม้ รี ะบบนิเวศทีห่ ลากหลาย และเกิดเป็นความหลากหลายของไบโอม การเปลยี่ นแปลงของระบบนเิ วศเกดิ ขนึ้ ไดต้ ลอดเวลาทง้ั การเปลย่ี นแปลงทเ่ี กดิ ขนึ้ เองตามธรรมชาติ และเกิดจากการกระทำ�ของมนุษย์ การเปล่ียนแปลงแทนท่ีเป็นการเปล่ียนแปลงของกลุ่มสิ่งมีชีวิตที่ เกิดขึ้นอย่างช้า ๆ เป็นเวลานาน ซ่ึงเป็นผลจากปฏิสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบทางกายภาพและ องค์ประกอบทางชวี ภาพ สง่ ผลใหร้ ะบบนิเวศเปลย่ี นแปลงไปสสู่ มดลุ จนเกดิ สงั คมสมบูรณไ์ ด้ การเปล่ียนแปลงขององค์ประกอบในระบบนิเวศทั้งองค์ประกอบทางกายภาพและองค์ประกอบ ทางชวี ภาพมผี ลตอ่ การเปลี่ยนแปลงขนาดของประชากร ประชากรมนุษย์มีการเพ่ิมขึ้นอย่างรวดเร็ว มีการใช้ทรัพยากรธรรมชาติโดยปราศจาก ความระมดั ระวังและมีการพฒั นาเทคโนโลยีใหม่ ๆ ซึ่งอาจสง่ ผลให้เกิดปัญหาตอ่ ทรพั ยากรธรรมชาติ และสง่ิ แวดลอ้ ม ปญั หาทเี่ กดิ กบั ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม บางปญั หาสง่ ผลกระทบในระดบั ท้องถิน่ ระดบั ประเทศ หรือระดับโลก การลดปริมาณการใช้ทรพั ยากรธรรมชาติ การก�ำ จดั ของเสยี ท่ี เป็นสาเหตุของปัญหาส่ิงแวดล้อม และการวางแผนจัดการทรัพยากรธรรมชาติที่ดี เป็นแนวทาง ในการอนรุ ักษท์ รัพยากรธรรมชาติ และลดปญั หาสงิ่ แวดลอ้ ม เพอ่ื ให้เกิดการใช้ประโยชนท์ ยี่ ่งั ยนื เวลาทใี่ ช้ บทนค้ี วรใช้เวลาสอนประมาณ 10 ช่วั โมง 5.1 ระบบนเิ วศ 7.0 ชว่ั โมง 5.2 มนษุ ยก์ บั ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม 3.0 ชว่ั โมง ความรู้ก่อนเรียน ความหลากหลายของระบบนเิ วศ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งสง่ิ มชี วี ติ กบั องคป์ ระกอบทางกายภาพและ องคป์ ระกอบทางชวี ภาพในระบบนเิ วศ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

วิชาวิทยาศาสตรช์ ีวภาพ บทที่ 5 | ชวี ติ ในส่ิงแวดลอ้ ม 139 เฉลยตรวจสอบความรู้กอ่ นเรียน ใหน้ ักเรียนใสเ่ คร่ืองหมายถกู ( ) หรอื ผิด ( ) หนา้ ข้อความตามความเขา้ ใจของ นกั เรยี น 1. ระบบนิเวศประกอบดว้ ยองคป์ ระกอบทางกายภาพและองคป์ ระกอบทางชีวภาพ 2. ระบบบนิเวศที่แตกต่างกันมีองค์ประกอบทางกายภาพและองค์ประกอบทางชีวภาพ ท่ีแตกต่างกนั 3. กลุ่มสิ่งมีชีวิต (community) ที่อาศัยอยู่ร่วมกันในแหล่งที่อยู่เดียวกันในช่วงเวลา เดียวกัน เรยี กวา่ ประชากร 4. สง่ิ มชี วี ติ ในระบบนเิ วศมีความสัมพนั ธ์กับสิ่งมีชวี ิตอื่น ๆ ทอี่ ยู่รว่ มกัน 5. องคป์ ระกอบทางกายภาพส่งผลต่อชนดิ ของสิ่งมชี วี ติ ในระบบนิเวศ 5.1 ระบบนเิ วศ จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. ระบุและเปรียบเทียบองค์ประกอบทางกายภาพและองค์ประกอบทางชีวภาพท่ีเป็น ลักษณะเฉพาะของไบโอมชนดิ ต่าง ๆ 2. สืบค้นข้อมูล อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างสภาพทางภูมิศาสตร์และความหลากหลาย ของไบโอม และยกตัวอยา่ งไบโอมชนดิ ต่าง ๆ 3. สืบค้นข้อมูล อภิปรายสาเหตุ​​​​แ​ ละยกตัวอย่างการเปลี่ยนแปลงแทนที่ที่เกิดขึ้นเอง ตามธรรมชาตแิ ละที่เกิดจากการกระท�ำ ของมนษุ ย์ 4. สืบค้นข้อมูล​​​​อ​ ธิบาย​​​แ​ ละยกตัวอย่างการเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบทางกายภาพและ องคป์ ระกอบทางชวี ภาพทม่ี ผี ลตอ่ การเปลย่ี นแปลงขนาดของประชากรสง่ิ มชี วี ติ ในระบบนเิ วศ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

140 บทท่ี 5 | ชวี ติ ในสิง่ แวดลอ้ ม วทิ ยาศาสตรช์ ีวภาพ แนวการจดั การเรียนรู้ ครูนำ�เข้าสู่บทเรียนโดยใช้ภาพต้นกระบองเพชรในทะเลทราย หรือภาพและข้อมูลของตัวอย่าง สิ่งมีชีวิตอ่ืนที่มีลักษณะเหมาะสมกับการดำ�รงชีวิตในสภาพแวดล้อมของแหล่งท่ีอยู่ และให้นักเรียน ร่วมกนั อภิปรายโดยครูใช้คำ�ถามน�ำ ในการอภปิ ราย ดงั นี้ • ต้นกระบองเพชรที่เห็นในภาพมีลักษณะและรูปแบบการดำ�รงชีวิตท่ีสัมพันธ์กับ สภาพแวดล้อมและส่งิ มชี ีวิตอนื่ ๆ ในแหลง่ ทอ่ี ยูอ่ ย่างไร • ในบริเวณอ่ืน ๆ ของโลกท่ีมีสภาพแวดล้อมเหมือนและแตกต่างจากในภาพ สิ่งมีชีวิตใน บริเวณดงั กลา่ วจะมีลกั ษณะอย่างไร จากน้ันให้นักเรียนทบทวนโดยร่วมกันอภิปรายความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมีชีวิตและสภาพแวดล้อม ของแหล่งท่ีอยู่เพื่อให้ได้ข้อสรุปว่า ส่ิงมีชีวิตจะมีความสัมพันธ์กับองค์ประกอบทางกายภาพและ องค์ประกอบทางชีวภาพในบริเวณแหล่งท่ีอยู่ และทบทวนความรู้เดิมเก่ียวกับความหมายของ ระบบนเิ วศ จากนนั้ ใหน้ กั เรยี นศกึ ษารปู 5.1 ในหนงั สอื เรยี น ซงึ่ แสดงลกั ษณะของสง่ิ มชี วี ติ ทเ่ี หมาะสม กับสภาพแวดล้อมในบรเิ วณตา่ ง ๆ ของโลกนัน้ แลว้ ตอบคำ�ถามในหนังสือเรยี น ซง่ึ มแี นวค�ำ ตอบดังนี้ อฐู และตน้ โกงกางมีลกั ษณะท่เี หมาะสมกบั การดำ�รงชีวติ ในระบบนเิ วศท่ีอาศัยอย่อู ย่างไร คำ�ตอบอาจมีได้หลากหลายข้ึนอยู่กับความรู้เดิมของนักเรียน เช่น ต้นโกงกางมีรากคำ้� (prop root) ทำ�ให้สามารถดำ�รงชีวิตอยู่ในดินเลนซ่ึงมีนำ้�ข้ึนนำ้�ลงได้ อูฐมีขนสีอ่อนท่ีสามารถ สะท้อนรงั สจี ากดวงอาทิตย์ทำ�ใหผ้ ิวหนังไม่ได้รบั รังสมี ากเกินไป ม โี หนกท่ีภายในสะสมไขมันซึ่ง เป็นแหลง่ พลงั งานชว่ ยใหส้ ามารถดำ�รงชวี ิตในทะเลทรายท่ีข าดแคลนอาหารได้ 5.1.1 ไบโอม แนวการจดั การเรยี นรู้ ครใู หข้ อ้ มลู เกย่ี วกบั สภาพภมู อิ ากาศและภมู ปิ ระเทศของบรเิ วณตา่ ง ๆ บนโลก เพอ่ื แสดงใหเ้ หน็ วา่ มที ง้ั บรเิ วณทม่ี สี ภาพภมู อิ ากาศและภมู ปิ ระเทศคลา้ ยคลงึ กนั และแตกตา่ งกนั ซง่ึ บรเิ วณทม่ี สี ภาพภมู อิ ากาศและ ภมู ปิ ระเทศคลา้ ยคลงึ กนั จะพบระบบนเิ วศแบบเดยี วกนั จากนน้ั ใหค้ วามรโู้ ดยเชอ่ื มโยงเนอ้ื หาระบบนเิ วศ กบั ไบโอมและใหน้ กั เรยี นตอบค�ำ ถามชวนคดิ ในหนงั สอื เรยี น สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

วิชาวิทยาศาสตรช์ ีวภาพ บทท่ี 5 | ชีวิตในสง่ิ แวดลอ้ ม 141 เฉลยชวนคิด ไบโอมต่างกบั ระบบนเิ วศอยา่ งไร ระบบนิเวศอาจมีขนาดเล็กหรือใหญ่ก็ได้ ข้ึนอยู่กับการกำ�หนดขอบเขตในการศึกษา ในขณะที่ไบโอมจะมีขนาดใหญ่ เป็นการศึกษาระบบนิเวศท่ีอยู่ในแต่ละบริเวณของ โลกซงึ่ มลี ักษณะทางภูมิศาสตรท์ ี่หลากหลาย จากนั้นให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับไบโอมบนบกชนิดต่าง ๆ และบริเวณที่พบ และนำ�เข้าสู่ การอภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับลักษณะของไบโอมท่ีกระจายอยู่ตามบริเวณต่าง ๆ บนโลก เพ่ือสรุป ความสมั พนั ธข์ องสภาพทางภูมิศาสตรบ์ นโลกกับความหลากหลายของไบโอมบนบก จากนน้ั ให้นกั เรียนตอบคำ�ถามในหนงั สือเรยี น ซึ่งมแี นวคำ�ตอบดังนี้ เพราะเหตใุ ดในบรเิ วณเส้นละติจูดเดียวกันและอย่ใู นเขตภูมอิ ากาศเดียวกันจึงอาจมีไบโอม ทีห่ ลากหลาย คำ�ตอบอาจมีได้หลากหลายข้ึนอยู่กับความรู้เดิมของนักเรียน เช่น เกิดจากภูมิอากาศท่ี แตกต่างกันโดยมีหลายสาเหตุ เช่น ภูมิประเทศท่ีเป็นภูเขาเป็นแนวบังฝน กระแสน้ำ� กระแสลม ซึ่งส่งผลให้แต่ละบริเวณในเขตอุณหภูมิเดียวกันมีอุณหภูมิและปริมาณ หยาดน้ำ�ฟ้าที่แตกต่างกัน ทำ�ให้ชนิดของพืชและสัตว์ท่ีสามารถดำ�รงชีวิตแตกต่างกัน ออกไป รวมถงึ ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศอ่ืน ๆ เช่น ลักษณะทางกายภาพของดิน จึงอาจมไี บโอม ที่หลากหลายในเขตภมู ิอากาศเดยี วกนั ในบรเิ วณเสน้ ละตจิ ดู เดียวกนั จากน้นั ให้นกั เรียนทำ�กจิ กรรม 5.1 ระบุชนิดของไบโอมบนบก ในหนงั สือเรียน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

142 บทท่ี 5 | ชวี ิตในส่งิ แวดลอ้ ม วทิ ยาศาสตรช์ ีวภาพ กจิ กรรม 5.1 ระบชุ นดิ ของไบโอมบนบก จุดประสงค์ สืบค้นข้อมูลและอธิบายองค์ประกอบทางกายภาพและองค์ประกอบทางชีวภาพของ ไบโอมบนบกชนดิ ตา่ ง ๆ เวลาทีใ่ ช้ (โดยประมาณ) 30 นาที แนวการจัดกจิ กรรม ครูให้นกั เรยี นสบื ค้นขอ้ มูลจากแหล่งเรยี นรตู้ า่ ง ๆ ซ่งึ ครูอาจยกตัวอยา่ งแหล่งข้อมูล เชน่ เว็บไซต์ หนังสือ หรือเอกสารเสริม ซึ่งคำ�ตอบเก่ียวกับตัวอย่างส่ิงมีชีวิตและความสัมพันธ์ ระหวา่ งสง่ิ มชี วี ติ กบั องคป์ ระกอบทางกายภาพของไบโอมทส่ี งิ่ มชี วี ติ อาศยั อยอู่ าจมคี �ำ ตอบได้ หลากหลาย จากน้ันครูอาจให้นักเรียนนำ�เสนอข้อมูลท่ีได้จากการสืบค้นในตอนที่ 2 และ ร่วมกันอภิปรายเพ่ือสรุปความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบทางกายภาพและองค์ประกอบ ทางชีวภาพของไบโอมบนบกชนดิ ต่าง ๆ แนวคำ�ตอบของกิจกรรม ตอนท่ี 1 ท่ี ข้อมลู สถานท่ี ชนิดไบโอม ตัวอยา่ งสง่ิ มีชีวิต 1 - มีอุณหภูมิแตกต่างกันมากในแต่ละฤดู ทะเลทราย กระบองเพชร และในระหว่างกลางวันและกลางคืน มี อกี ัวนา ปรมิ าณนำ�้ ฝนต�ำ่ สุนัขจ้ิงจอกทะเลทราย อูฐ - พชื สว่ นมากมขี นาดไมใ่ หญ่ มจี �ำ นวนนอ้ ย ขน้ึ กระจดั กระจาย และมกี ารปรบั ตวั เพอื่ ป้องกนั การสูญเสียน�ำ้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

วชิ าวทิ ยาศาสตร์ชีวภาพ บทที่ 5 | ชวี ิตในสง่ิ แวดลอ้ ม 143 ท่ี ข้อมูลสถานท่ี ชนิดไบโอม ตัวอยา่ งสิ่งมีชีวิต 2 - อณุ หภูมคิ อ่ นขา้ งสูงตลอดปี ฤดูแลง้ ยาวนาน สะวันนา หญ้า ม้าลาย ชา้ ง - พื ช ก ลุ่ ม เ ด่ น คื อ ห ญ้ า แ ล ะ มี ต้ น ไ ม้ ขึ้ น ไฮยีนา กระจัดกระจายแทรกอยู่ 3 - อุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ 25-29 องศา ป่าเขตร้อน เฟนิ กลว้ ย สกั ชา้ ง เ ซ ล เ ซี ย ส อุ ณ ห ภู มิ แ ล ะ ค ว า ม ชื้ น ไ ม่ เปลี่ยนแปลงมากตลอดปี - มีความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตสูง - พืชขึ้นอยู่อย่างหนาแน่น สามารถแบ่งชั้น ตามระดับความสูงของพืชได้หลายชั้น 4 - ฤดูหนาวอุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ 0 องศา- ทุ่งหญ้าเขต หญ้า ไบซนั ม้า เซลเซียส ในฤดูร้อนอุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ อบอุน่ แพรรดี อ็ ก 30 องศาเซลเซียส (prairie dog) - พืชกลุ่มเด่นคือหญ้า 5 - ฤดูหนาวอุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ 0 องศา- ป่ า ผ ลั ด ใ บ เมเปลิ บชี โอ๊ค เซลเซียส ในฤดูร้อนอากาศร้อนและชื้นโดย เขตอบอนุ่ อุณหภูมิอาจสูงถึง 35 องศาเซลเซียส - มีพืชพรรณที่มีใบกว้าง - สามารถแบ่งเป็น 4 ฤดูได้ชัดเจน คือ ฤดูร้อน ฤดูใบไม้ร่วง ฤดูหนาว ฤดูใบไม้ผลิ 6 - มีอากาศหนาวเย็น มีฤดูหนาวยาวนาน ป่าสน หรือ สน เฮมลอ็ ก มูส อุณหภูมิเฉลี่ยต่ำ�กว่า -10 องศาเซลเซียส ไทกา หรือ หมีสีน�้ำ ตาล - มีพืชพรรณที่ใบมีลักษณะคล้ายเข็ม พืชส่วน ป่าบอเรียล ใหญ่ไม่ผลัดใบ 7 - มีช่วงฤดูหนาวยาวนาน มีฤดูร้อนช่วงสั้น ๆ ทุนดรา ไลเคน มอส หญา้ ประมาณ 2 เดือน ไมพ้ มุ่ เต้ีย หมขี าว - ไม่มีต้นไม้ขนาดใหญ่ - น้ำ�ใต้ผิวดินจับตัวแข็งอยู่ตลอดเวลา สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

144 บทที่ 5 | ชีวติ ในสิง่ แวดล้อม วิทยาศาสตรช์ ีวภาพ หมายเหตุ ตัวอย่างคำ�ทใี่ ชส้ ืบคน้ ขอ้ มูลทางอนิ เตอรเ์ นท็ - species in biome หรืออาจสบื ค้นจากเวบ็ ไซตท์ างการของอุทยานแหง่ ชาตปิ ระเทศต่าง ๆ ตอนที่ 2 สนในไบโอมป่าสน มีทรงต้นรปู กรวย (conical shape) ช่วยป้องกนั ไม่ใหม้ หี มิ ะสะสมอยู่ บนก่ิงมากเกินไปซ่ึงอาจทำ�ให้ก่ิงหัก และม ี ใ บรูปเข็มช่วยลดการสูญเสียนำ้�จากการคายน้ำ� ซึ่งสัมพันธ์กับลักษณะของไบโอมป่าสนซึ่งมีอากาศหนาวเย็น ในฤดูหนาวน้ำ�ส่วนใหญ่เป็น น้�ำ แขง็ ซง่ึ พืชไม่สามารถนำ�มาใช้ได้ จากนั้นครูให้ข้อมูลแก่นักเรียนว่าการจำ�แนกไบโอมมักจะใช้ชนิดพืชเด่นท่ีพบในไบโอมน้ัน ๆ ในการระบุชนิดของไบโอม ซ่ึงระบบนิเวศแหล่งนำ้�จะไม่ใช้ลักษณะดังกล่าวจึงไม่นิยมจำ�แนก ไบโอมในน้ำ�แต่จะจำ�แนกเป็นระบบนิเวศแหล่งน้ำ� และให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลระบบนิเวศแหล่งนำ้� แบบต่าง ๆ ความรเู้ พ่ิมเตมิ สำ�หรับครู การแบง่ ระบบนเิ วศแหลง่ น้�ำ ระบบนเิ วศแหลง่ น้�ำ อาจแบง่ ออกเป็น 2 บรเิ วณตามปริมาณแสง - บริเวณทีแ่ สงสอ่ งถงึ (photic zone) ซึง่ มแี สงเพียงพอส�ำ หรับการสังเคราะห์ดว้ ยแสง จงึ มี สง่ิ มชี วี ติ ทสี่ ามารถสรา้ งอาหารและทำ�หนา้ ที่ผ้ผู ลติ ได้ เชน่ สาหรา่ ย แพลงกต์ อนพืช และ สิ่งมชี วี ติ ทก่ี ินสิ่งมีชวี ิตเหลา่ นน้ั - บรเิ วณทแ่ี สงสอ่ งไมถ่ งึ (aphotic zone) จงึ ไมม่ สี ง่ิ มชี วี ติ ทม่ี กี ารสงั เคราะหด์ ว้ ยแสง ชนดิ ของ สง่ิ มชี วี ติ และการด�ำ รงชวี ติ ของสง่ิ มชี วี ติ ในบรเิ วณนจ้ี ะแตกตา่ งจากบรเิ วณทแ่ี สงสอ่ งถงึ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

วิชาวทิ ยาศาสตร์ชวี ภาพ บทที่ 5 | ชวี ติ ในสง่ิ แวดล้อม 145 Photic Zone 200 m Aphotic Zone 10,000 m ระบบนเิ วศแหล่งนำ�้ เค็มทีม่ กี ารแบ่งชัน้ ตามปริมาณแสง จากนน้ั ใหน้ กั เรียนตอบค�ำ ถามในหนงั สอื เรียนซึ่งมแี นวค�ำ ตอบดังนี้ เพราะเหตใุ ดความเข้มขน้ ของเกลอื จึงเป็นปัจจัยในการก�ำ หนดระบบนิเวศแหลง่ น้ำ� เพราะสง่ิ มชี วี ติ ในน�้ำ แตล่ ะชนดิ มคี วามสามารถในการด�ำ รงชวี ติ ในน�ำ้ ทม่ี คี า่ ความเขม้ ขน้ ของ เกลือแตกต่างกัน ดงั น้ันบริเวณแหล่งน้ำ�ทมี่ คี ่าความเข้มขน้ ของเกลือแตกต่างกนั จงึ มีชนดิ และปริมาณของสิ่งมีชีวิตแตกต่างกัน และจัดเป็นระบบนิเวศแหล่งน้ำ�แต่ละแบบ เช่น ในระบบนิเวศแหล่งน้ำ�จืดซึ่งมีความเข้มข้นของเกลือน้อยกว่าร้อยละ 0.1 ระบบนิเวศ แหลง่ น�ำ้ เคม็ ซง่ึ มคี วามเขม้ ขน้ ของเกลอื ประมาณรอ้ ยละ 3 และระบบนเิ วศแหลง่ น�ำ้ กรอ่ ยซงึ่ ความเข้มขน้ ของเกลือมีความแปรผันในรอบวัน ปริมาณแสงมีความสมั พนั ธก์ บั ชนดิ ของสิง่ มีชวี ติ ในระบบนิเวศแหล่งนำ�้ อยา่ งไร ปรมิ าณแสงเปน็ ปจั จยั หนง่ึ ทก่ี �ำ หนดชนดิ ของพชื ทง้ั พชื บกและพชื น�ำ้ รวมถงึ แพลงกต์ อนพชื ซง่ึ ชนดิ ของพชื น�ำ้ และแพลงกต์ อนเปน็ ปจั จยั ทก่ี �ำ หนดชนดิ ของสตั วท์ กี่ นิ พชื และแพลงกต์ อน นน้ั เป็นอาหาร จากนัน้ ครูให้นกั เรียนทำ�กจิ กรรม 5.2 ท่องเท่ียวเชิงนิเวศ ในหนังสอื เรยี น สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

146 บทท่ี 5 | ชวี ติ ในสงิ่ แวดล้อม วิทยาศาสตรช์ วี ภาพ กจิ กรรม 5.2 ทอ่ งเท่ยี วเชิงนเิ วศ จุดประสงค์ สบื คน้ ข้อมูลและยกตัวอย่างไบโอมบนบกและระบบนเิ วศแหล่งนำ�้ ชนิดตา่ ง ๆ เวลาทใ่ี ช้ (โดยประมาณ) 60 นาที แนวการจัดกิจกรรม ในการท�ำ กจิ กรรมนค้ี รคู วรแนะน�ำ ใหน้ กั เรยี นสบื คน้ ขอ้ มลู จากแหลง่ เรยี นรตู้ า่ ง ๆ เกย่ี วกบั ลักษณะของการท่องเท่ียวเชิงนิเวศ จากนั้นกำ�หนดสถานการณ์สมมุติและเงื่อนไขต่าง ๆ เพ่ือให้นักเรียนออกแบบแพ็คเกจทัวร์ในรูปแบบการท่องเท่ียวเชิงนิเวศและนำ�เสนอ ในรปู แบบตา่ ง ๆ เชน่ การออกบธู การท�ำ สปอตโฆษณา เพอ่ื ใหน้ กั เรยี นในหอ้ งรว่ มกนั เลอื ก แพ็คเกจทวั ร์ทีค่ ิดว่าน่าสนใจทส่ี ุด ซึง่ ครอู าจยกตวั อยา่ งแหลง่ ข้อมูล เช่น เว็บไซต์ หนงั สือ หรือเอกสารเสรมิ เพื่อใหน้ ักเรียนสบื คน้ ขอ้ มูล จากนนั้ ครอู าจรวบรวมขอ้ มลู ต�ำ แหนง่ ของสถานทที่ อ่ งเทย่ี วและชนดิ ของไบโอมทสี่ ถานทที่ อ่ งเทย่ี ว ต้ังอยู่จากแพ็คเกจทัวร์ของนักเรียน โดยครูอาจให้ข้อมูลเพิ่มเติมแก่นักเรียนว่าในสถานที่ท่องเท่ียวที่ นกั เรยี นเลอื กอาจมรี ะบบนเิ วศหลายแบบซงึ่ มลี กั ษณะคลา้ ยระบบนเิ วศทพี่ บในไบโอมอน่ื ๆ เนอื่ งจาก ไบโอมคือบริเวณขนาดใหญ่จะเรียกตามระบบนิเวศท่ีมักพบในบริเวณน้ัน ดังนั้นในแต่ละไบโอมจึง สามารถพบระบบนเิ วศทมี่ ีลกั ษณะคล้ายไบโอมอน่ื ๆ ได้เช่นกนั แนวการวัดและประเมนิ ผล ด้านความรู้ - องค์ประกอบทางกายภาพและองค์ประกอบทางชีวภาพของไบโอมชนิดต่าง ๆ ความ สมั พนั ธร์ ะหวา่ งสภาพทางภมู ศิ าสตรแ์ ละความหลากหลายของไบโอม ตวั อยา่ งไบโอมและ ระบบนเิ วศแหล่งน�ำ้ ชนดิ ต่าง ๆ จากการอภิปรายและการอธบิ าย การตอบคำ�ถาม ผลการ ทำ�กจิ กรรม และการนำ�เสนอหน้าช้นั เรียน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

วิชาวทิ ยาศาสตร์ชีวภาพ บทท่ี 5 | ชีวติ ในสิ่งแวดล้อม 147 ด้านทักษะ - การสงั เกต การจดั กระท�ำ และสอ่ื ความหมายขอ้ มลู การสอ่ื สารสารสนเทศและการรเู้ ทา่ ทนั สื่อ การคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหา การสร้างสรรค์และนวัตกรรม และ ความร่วมมือ การทำ�งานเป็นทีม และภาวะผู้นำ� จากการตอบคำ�ถาม การทำ�กิจกรรม การสบื ค้นขอ้ มูล และพฤตกิ รรมในการนำ�เสนอหน้าชัน้ เรยี น ดา้ นจติ วิทยาศาสตร์ - การใชว้ ิจารณญาณ ความใจกวา้ ง และความซื่อสัตย์ จากการท�ำ กจิ กรรม การตอบคำ�ถาม และพฤตกิ รรมในการน�ำ เสนอหนา้ ช้นั เรียน 5.1.2 การเปล่ยี นแปลงแทนท่ขี องระบบนิเวศ บทความ แนวการจดั การเรยี นรู้ ครนู �ำ เขา้ สบู่ ทเรยี นโดยใชภ้ าพเหตกุ ารณท์ รี่ ะบบนเิ วศถกู รบกวนซงึ่ น�ำ ไปสกู่ ารเปลยี่ นแปลงแทนที่ ทางนิเวศวทิ ยา และให้นกั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายโดยครูใช้ค�ำ ถามน�ำ ในการอภิปราย ดังนี้ จากภาพเป็นเหตุการณท์ ่ีเกิดข้ึนเองตามธรรมชาตหิ รอื มีสาเหตจุ ากมนษุ ย์ •• หลังจากเหตุการณ์ในภาพ องค์ประกอบทางกายภาพและองค์ประกอบทางชีวภาพใน บริเวณนั้นจะเปน็ อย่างไร จากการอภิปรายควรได้ข้อสรุปว่าระบบนิเวศอาจถูกรบกวนได้ตลอดเวลา ท้ังที่เกิดข้ึนเองตาม ธรรมชาตแิ ละจากการกระท�ำ ของมนษุ ย์ ซงึ่ การรบกวนทเ่ี กดิ ขนึ้ จะสง่ ผลตอ่ องคป์ ระกอบทางกายภาพ และองคป์ ระกอบทางชวี ภาพในระบบนเิ วศนนั้ จากนน้ั ครใู หค้ วามรเู้ พม่ิ เตมิ วา่ เมอื่ สงิ่ รบกวนเหลา่ นนั้ หมดไป ระบบนิเวศจะพยายามปรับตัวเข้าสู่สมดุลใหม่ โดยการเปล่ียนแปลงท่ีเกิดข้ึน เรียกว่า การเปล่ียนแปลงแทนทที่ างนิเวศวทิ ยา จากนั้นครูให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลเก่ียวกับการเปล่ียนแปลงแทนท่ีทางนิเวศวิทยา โดยอาจยก ตวั อยา่ งเหตกุ ารณโ์ ดยใชร้ ปู 5.12 และ 5.13 ในหนงั สอื เรยี น หรอื ภาพของสถานทเ่ี ดยี วกนั ในชว่ งเวลา ต่าง ๆ ซึ่งแสดงให้เห็นลำ�ดับขั้นของการเปลี่ยนแปลงแทนที่ท้ังเหตุการณ์ท่ีเกิดข้ึนเองตามธรรมชาติ และจากการกระท�ำ ของมนษุ ย์ และน�ำ เขา้ สกู่ ารอภปิ รายเกย่ี วกบั ปฏสิ มั พนั ธร์ ะหวา่ งองคป์ ระกอบทาง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

148 บทที่ 5 | ชีวติ ในส่งิ แวดล้อม วิทยาศาสตร์ชวี ภาพ กายภาพและองค์ประกอบทางชีวภาพในการเปล่ียนแปลงแทนที่ทางนิเวศวิทยา เพ่ือให้ได้ข้อสรุปว่า ส่ิงมีชีวิตแต่ละชนิดมีความสามารถในการดำ�รงชีวิตในสภาพแวดล้อมต่าง ๆ ไม่เหมือนกัน ในขณะ เดียวกันการดำ�รงชีวิตของสิ่งมีชีวิตจะทำ�ให้สภาพแวดล้อมในบริเวณนั้นเปล่ียนไปจนเหมาะกับ การดำ�รงชีวิตของส่ิงมีชีวิตกลุ่มอ่ืน ๆ มากขึ้น ซึ่งนำ�ไปสู่การเปล่ียนแปลงแทนท่ีของสิ่งมีชีวิตใน ระบบนิเวศ และให้นกั เรียนตอบคำ�ถามตรวจสอบความเข้าใจในหนงั สือเรียน ซ่งึ มแี นวคำ�ตอบดังน้ี เฉลยตรวจสอบความเขา้ ใจ การเปลี่ยนแปลงแทนที่ในบริเวณที่ถูกทิ้งร้างหลังจากการทำ�ไร่เลื่อนลอย และใน บริเวณทเ่ี กดิ จากการระเบดิ ของภูเขาไฟเหมือนหรอื แตกต่างกันอย่างไร ความเหมือน ความแตกตา่ ง - เป็นการแทนท่ีโดยกลุ่มส่ิงมีชีวิตกลุ่ม - การเปลย่ี นแปลงแทนทใ่ี นบรเิ วณทถี่ กู ต่าง ๆ ซ่ึงส่งผลให้สภาพแวดล้อมทาง ทิ้งร้างหลังจากการทำ�ไร่เลื่อนลอยมี กายภาพค่อย ๆ เปล่ียนแปลงไปจน สาเหตจุ ากการกระท�ำ ของมนษุ ย ์ ใน เหมาะกับการดำ�รงชีวิตของกลุ่ม ขณะที่การเปล่ียนแปลงแทนท่ีใน ส่ิงมีชีวิตกลุ่มใหม่ ซึ่งเป็นผลจาก บริเวณท่ีเกิดจากการระเบิดของ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบทาง ภูเขาไฟเกิดข้นึ โดยธรรมชาติ กายภาพและองคป์ ระกอบทางชวี ภาพ - บริเวณที่ถูกท้ิงร้างหลังจากการทำ�ไร่ ส่งผลให้ระบบนิเวศเปล่ียนแปลงไป เลื่อนลอยเป็นบริเวณท่ีเคยมีส่ิงมีชีวิต ส่สู มดุลจนเกดิ สังคมสมบรู ณ์ อาศัยอยู่ สภาพแวดลอ้ มยังเหมาะสม ต่อการดำ�รงชีวิตของสิ่งมีชีวิต การ เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง แ ท น ท่ี จ น ก ล า ย เ ป็ น สั ง ค ม ส ม บู ร ณ์ จึ ง ใ ช้ เ ว ล า น้ อ ย ก ว่ า การเปลี่ยนแปลงแทนท่ีในบริเวณที่ เ กิ ด ใ ห ม่ ห ลั ง จ า ก ก า ร ร ะ เ บิ ด ข อ ง ภูเขาไฟ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

วิชาวทิ ยาศาสตร์ชวี ภาพ บทท่ี 5 | ชีวติ ในส่งิ แวดล้อม 149 จากนั้นให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลตัวอย่างการเปลี่ยนแปลงแทนท่ีและสาเหตุท่ีทำ�ให้เกิด การเปล่ียนแปลงแทนท่ี เพอ่ื ตอบคำ�ถามตรวจสอบความเข้าใจในหนังสือเรียน ซง่ึ มีแนวคำ�ตอบดงั น้ี เฉลยตรวจสอบความเข้าใจ ยกตัวอย่างสาเหตุที่ทำ�ให้เกิดการเปล่ียนแปลงแทนท่ีท้ังท่ีเกิดข้ึนเองตามธรรมชาติ และเกดิ จากการกระทำ�ของมนุษย์ คำ�ตอบอาจมีได้หลากหลาย ข้ึนอยู่กับความรู้เดิมของนักเรียนและข้อมูลท่ีนักเรียน สบื คน้ มาได้ เชน่ ภเู ขาไฟระเบดิ ซง่ึ เกดิ ขน้ึ เองตามธรรมชาติ ไฟไหมป้ า่ หรอื น�้ำ ทว่ มซง่ึ อาจมีสาเหตุไดจ้ ากการเกิดขึ้นเองตามธรรมชาตแิ ละจากการกระท�ำ ของมนษุ ย์ 5.1.3 การเปล่ยี นแปลงขนาดของประชากร แนวการจดั การเรยี นรู้ ครูนำ�เข้าสู่บทเรียนโดยทบทวนความรู้เดิมเกี่ยวกับความหมายของประชากร และความสัมพันธ์ ระหวา่ งสง่ิ มชี วี ติ กบั องคป์ ระกอบทางกายภาพและองคป์ ระกอบทางชวี ภาพในระบบนเิ วศ และอาจใช้ ค�ำ ถามดงั นี้ • การเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดข้ึนกับองค์ประกอบต่าง ๆ ในระบบนิเวศซ่ึงมีความสัมพันธ์กัน จะ สง่ ผลต่อขนาดของประชากรของสิ่งมชี วี ติ หรือไม่ อยา่ งไร ครใู หน้ กั เรยี นสบื คน้ ขอ้ มลู และยกตวั อยา่ งเกยี่ วกบั การเปลย่ี นแปลงองคป์ ระกอบทางกายภาพและ องค์ประกอบทางชีวภาพท่ีมีผลต่อการเปล่ียนแปลงขนาดของประชากรสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ จากน้ันครูอาจนำ�ข่าวท่ีเกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงขนาดของประชากรของสิ่งมีชีวิตท่ีเกิดจาก การเปลี่ยนแปลงขององค์ประกอบทางกายภาพหรือองค์ประกอบทางชีวภาพในระบบนิเวศ มาให้ นกั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายถงึ สาเหตทุ ท่ี �ำ ใหข้ นาดของประชากรสงิ่ มชี วี ติ ในขา่ วเปลย่ี นแปลงไป และระบุ องคป์ ระกอบทางกายภาพหรอื องคป์ ระกอบทางชวี ภาพทสี่ ง่ ผลตอ่ การเปลยี่ นแปลงขนาดของประชากร ของสง่ิ มชี วี ติ และน�ำ เขา้ สกู่ ารอภปิ รายรว่ มกนั เพอื่ สรปุ วา่ การเปลย่ี นแปลงองคป์ ระกอบทางกายภาพ และองค์ประกอบทางชวี ภาพมีผลตอ่ การเปลี่ยนแปลงขนาดของประชากรสง่ิ มีชีวติ ในระบบนเิ วศ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

150 บทท่ี 5 | ชวี ิตในสงิ่ แวดลอ้ ม วทิ ยาศาสตร์ชวี ภาพ ความรู้เพม่ิ เตมิ ส�ำ หรับครู การเพิม่ ขึน้ ของขนาดของประชากรส่งิ มีชีวติ ขนาดของประชากรสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดในระบบนิเวศหนึ่ง ๆ สามารถเกิด การเปล่ียนแปลงได้ตลอดเวลาทั้งจากการเกิด การตาย และการอพยพ ซึ่งปัจจัยเหล่านี้ สง่ ผลต่อการเพม่ิ ขึน้ หรอื ลดลงของขนาดของประชากร โดยประชากรสิ่งมชี ีวติ ในแต่ละ บริเวณจะมรี ปู แบบการเพ่ิมเปน็ ของตนเอง ประชากรของสิ่งมชี วี ิตบางชนดิ อาจมคี วาม สามารถในการเพิ่มจำ�นวนได้อย่างรวดเร็ว เช่น แบคทีเรียซ่ึงสามารถเพิ่มจำ�นวนได้ทุก 20 นาที หรือแมลงซ่งึ ออกไขไ่ ดค้ ร้ังละจ�ำ นวนมาก แต่ในความเป็นจรงิ น้นั ไม่มีประชากร ใดท่ีสามารถเพิ่มขนาดได้โดยไม่มีขีดจำ�กัด เน่ืองจากทรัพยากรที่มีอยู่จำ�กัดและการ แก่งแย่งทรพั ยากรกนั ระหว่างสิง่ มีชวี ติ ดงั กราฟแสดงประชากรพารามเี ซยี มด้านล่าง ำจ�นวนพารามีเ ีซยม / mL 1,000 800 600 400 200 05 10 15 เวลา (วนั ) กราฟแสดงประชากรพารามเี ซียม การศึกษาการเพิ่มจำ�นวนพารามีเซียมจากการทดลอง พบว่าพารามีเซียมใน ชว่ งเริม่ ตน้ ยังมจี �ำ นวนนอ้ ย ขนาดของประชากรจึงมกี ารเพม่ิ ข้ึนอย่างชา้ ๆ หลังจากนน้ั ขนาดของประชากรพารามีเซียมจะเพ่ิมขึ้นอย่างรวดเร็ว เนื่องจากปัจจัยต่าง ๆ ในสภาพแวดล้อม เช่น ปริมาณอาหาร ที่อยู่อาศัย ยังมีเพียงพอ แต่ปัจจัยเหล่านี้ใน ระบบนิเวศมีความสามารถในการรองรับประชากรได้จำ�กัด ดังน้ันพารามีเซียมจึง ไมส่ ามารถเพม่ิ จ�ำ นวนไดอ้ ยา่ งเตม็ ศกั ยภาพตลอดเวลา จนเมอ่ื ถงึ จดุ ๆ หนง่ึ การเพม่ิ ขนาด ของประชากรน้ันจะหยุดลง ขนาดของประชากรพารามีเซียมจึงคงท่ีหรือแทบไม่มี การเปลีย่ นแปลงอีก สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

วชิ าวทิ ยาศาสตรช์ วี ภาพ บทที่ 5 | ชีวติ ในส่ิงแวดลอ้ ม 151 แนวการวัดและประเมนิ ผล ด้านความรู้ - สาเหตแุ ละการเปลย่ี นแปลงแทนทที่ เี่ กดิ ขนึ้ เองตามธรรมชาตแิ ละทเี่ กดิ จากการกระท�ำ ของ มนุษย์ และการเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบทางกายภาพและองค์ประกอบทางชีวภาพท่ีมี ผลต่อการเปลี่ยนแปลงขนาดของประชากรสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ จากการอภิปรายและ การตอบคำ�ถามตรวจสอบความเข้าใจ ด้านทักษะ - การสังเกต การจำ�แนกประเภท การลงความเห็นจากข้อมูล การส่ือสารสารสนเทศและ การรู้เท่าทันส่ือ และการคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหา จากการอภิปราย การสบื ค้นข้อมูล และการตอบคำ�ถามตรวจสอบความเข้าใจ ดา้ นจติ วทิ ยาศาสตร์ - การใช้วิจารณญาณ ความใจกว้าง และความซ่ือสัตย์ จากการอภิปรายและการตอบ คำ�ถามตรวจสอบความเขา้ ใจ 5.2 มนุษยก์ ับทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ ม จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. อธบิ ายเกย่ี วกบั การใชป้ ระโยชนจ์ ากทรัพยากรธรรมชาติของมนษุ ย์ 2. สืบค้นข้อมูล วิเคราะห์ และอภิปรายสาเหตุของปัญหาท่ีเกิดกับทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอ้ มในระดับประเทศและระดบั โลก และผลกระทบที่เกิดกับมนุษย์และสิ่งแวดล้อม 3. สืบค้นข้อมูล อภิปราย และนำ�เสนอแนวทางในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และการแก้ไขปัญหาสิง่ แวดล้อม แนวการจดั การเรยี นรู้ ครนู �ำ เขา้ สบู่ ทเรยี นโดยทบทวนความรเู้ ดมิ เกย่ี วกบั การเปลย่ี นแปลงองคป์ ระกอบทางกายภาพและ องค์ประกอบทางชีวภาพส่งผลต่อการเปล่ียนแปลงขนาดของประชากรของส่ิงมีชีวิตในระบบนิเวศ จากนน้ั ใหน้ ักเรยี นศึกษารปู 5.17 และนำ�เขา้ สกู่ ารอภปิ รายโดยครใู ช้คำ�ถามนำ� ดงั น้ี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

152 บทท่ี 5 | ชีวิตในสง่ิ แวดลอ้ ม วิทยาศาสตรช์ ีวภาพ • การเพิ่มข้ึนอย่างรวดเร็วของประชากรมนุษย์จะส่งผลต่อองค์ประกอบในระบบนิเวศ หรือไม่ อยา่ งไร จากการอภิปรายนักเรียนควรสรุปได้ว่าการเพ่ิมข้ึนของประชากรมนุษย์ส่งผลให้มีการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติทมี่ ากขึน้ และส่งผลตอ่ องค์ประกอบตา่ ง ๆ ในระบบนิเวศมากขนึ้ ดว้ ย จากน้ันครู ให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลทรัพยากรธรรมชาติประเภทต่าง ๆ ในหนังสือเรียน และอาจให้นักเรียนทำ� กิจกรรมเสนอแนะ เรื่องการใช้ทรัพยากรธรรมชาตใิ นชวี ิตประจ�ำ วัน ในหนงั สือเรยี น เพ่ือสร้างความ ตระหนกั ถึงการใช้ทรัพยากรธรรมชาติเปน็ จำ�นวนมากของมนุษย์ กิจกรรมเสนอแนะ การใชท้ รัพยากรธรรมชาตใิ นชีวิตประจ�ำ วัน จุดประสงค์ 1. อธิบายการใชป้ ระโยชนจ์ ากทรัพยากรธรรมชาติของมนษุ ย์ 2. สำ�รวจการใช้ทรัพยากรธรรมชาติในชีวิตประจำ�วัน และสรุปความสำ�คัญของ ทรัพยากรธรรมชาติ เวลาท่ใี ช้ (โดยประมาณ) 30 นาที แนวการจดั กิจกรรม ในการท�ำ กจิ กรรมนคี้ รอู าจใหน้ กั เรยี นส�ำ รวจการใชท้ รพั ยากรธรรมชาตจิ ากการประกอบ อาชพี ของสมาชกิ ในครอบครวั มากอ่ นลว่ งหนา้ แลว้ ใหน้ กั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายความสมั พนั ธ์ ระหวา่ งอาชพี กบั การใชท้ รพั ยากรธรรมชาติ และเมอ่ื เสรจ็ สนิ้ การท�ำ กจิ กรรมแลว้ ใหน้ กั เรยี น ร่วมกันสรุปผลเก่ียวกับการใช้ทรัพยากรธรรมชาติในการดำ�รงชีวิตของมนุษย์ ความสำ�คัญ ของทรัพยากรธรรมชาติต่อการดำ�รงชีวิตของมนุษย์ และเสนอแนะข้อควรระวังในการใช้ ทรัพยากรธรรมชาตชิ นิดตา่ ง ๆ รวมถงึ แนวทางในการลดการใช้ทรพั ยากรธรรมชาติ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

วชิ าวทิ ยาศาสตรช์ วี ภาพ บทที่ 5 | ชีวติ ในสิ่งแวดลอ้ ม 153 5.2.1 ปญั หาและผลกระทบท่ีมีต่อทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม แนวการจดั การเรยี นรู้ ครูนำ�เข้าสู่บทเรียนโดยอาจใช้ภาพและข้อมูลข่าวเกี่ยวกับปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ และให้ นักเรียนเช่ือมโยงกับเร่ืองการใช้ทรัพยากรธรรมชาติท่ีมากขึ้นของมนุษย์กับปัญหาและผลกระทบท่ีมี ตอ่ ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม จากนน้ั ใหน้ กั เรยี นสบื คน้ ขอ้ มลู จากหนงั สอื เรยี นหรอื แหลง่ ขอ้ มลู อืน่ ๆ เกี่ยวกับปัญหาทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ มอ่ืน ๆ และอภปิ รายรว่ มกันเพื่อสรุปให้ได้วา่ ปัญหาท่ีเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมน้ันมีสาเหตุส่วนหนึ่งมาจากกิจกรรมของมนุษย์ และส่งผลกระทบต่อการดำ�รงชีวิตของมนุษย์รวมถึงส่ิงมีชีวิตอื่น ๆ และให้นักเรียนตอบคำ�ถามใน หนงั สือเรียน ซงึ่ มีแนวคำ�ตอบดังนี้ มนษุ ย์จะไดร้ ับสารพษิ จากมลพิษได้โดยวธิ ใี ดบา้ ง ค�ำ ตอบอาจมไี ดห้ ลากหลาย ขนึ้ อยกู่ บั ความรเู้ ดมิ ของนกั เรยี นและขอ้ มลู ทน่ี กั เรยี นสบื คน้ มา เชน่ การกิน การสัมผสั การหายใจ 5.2.2 การอนรุ กั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม แนวการจัดการเรยี นรู้ ครูนำ�นักเรียนเข้าสู่บทเรียนโดยอาจใช้ข้อมูลข่าวแนวทางการแก้ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ และ ใหน้ กั เรยี นสบื คน้ ขอ้ มลู แนวทางในการแกไ้ ขปญั หาและลดผลกระทบทเ่ี กดิ ขนึ้ กบั ทรพั ยากรธรรมชาติ และสงิ่ แวดลอ้ มจากหนงั สอื เรยี น โดยการลดการใชท้ รพั ยากรธรรมชาติ การก�ำ จดั ของเสยี ทเ่ี ปน็ สาเหตุ ของปัญหาส่ิงแวดล้อม และการวางแผนการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ซ่ึงการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติต่าง ๆ ควรบูรณาการร่วมกัน จากน้ันให้นักเรียนทำ�กิจกรรม 5.3 ปัญหา ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม ในหนังสือเรียน บทความ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

154 บทที่ 5 | ชวี ติ ในสง่ิ แวดล้อม วทิ ยาศาสตร์ชวี ภาพ กจิ กรรม 5.3 ปญั หาทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม จุดประสงค์ 1. สืบค้นข้อมูลและวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาที่เกิดกับทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม และผลกระทบทเ่ี กดิ กบั มนษุ ยแ์ ละสง่ิ แวดล้อม 2. สืบค้นข้อมูล อภิปราย และนำ�เสนอแนวทางในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ การแกไ้ ขปญั หาสง่ิ แวดลอ้ ม เวลาท่ีใช้ (โดยประมาณ) 60 นาที แนวการจดั กิจกรรม ในการท�ำ กจิ กรรมนคี้ รคู วรแนะน�ำ ใหน้ กั เรยี นสบื คน้ ขอ้ มลู จากแหลง่ เรยี นรตู้ า่ ง ๆ จากนน้ั ก�ำ หนดสถานการณส์ มมตุ แิ ละเงอ่ื นไขตา่ ง ๆ เพอื่ ใหน้ กั เรยี นเปน็ บรรณาธกิ ารขา่ ว จดั ท�ำ ขา่ ว เพื่อนำ�เสนอเกี่ยวกับหัวข้อปัญหาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่นักเรียนสนใจ โดย นำ�เสนอให้ครอบคลุมตามหัวข้อ 2.1-2.4 ที่ระบุไว้ในหนังสือเรียน และให้อิสระแก่นักเรียน ในการเลอื กรปู แบบการน�ำ เสนอ เชน่ สอ่ื สงิ่ พมิ พ์ สอื่ ดจิ ทิ ลั การจดั รายการวทิ ยหุ รอื โทรทศั น์ ซ่ึงครูอาจยกตัวอย่างแหล่งข้อมูล เช่น เว็บไซต์ หนังสือ หรือเอกสารเสริม เพ่ือให้นักเรียน สืบค้นขอ้ มูล จากน้ันครูนำ�นักเรียนเข้าสู่การอภิปรายร่วมกันเก่ียวกับปัญหา และแนวทางในการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อมในระดับประเทศและระดบั โลก สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

วชิ าวทิ ยาศาสตร์ชวี ภาพ บทที่ 5 | ชีวิตในสงิ่ แวดล้อม 155 ความรเู้ พมิ่ เตมิ ส�ำ หรับครู ขอ้ ตกลงเกี่ยวกับการลดการปลอ่ ยแก๊สเรอื นกระจก ประเทศไทยไดเ้ ขา้ รว่ มพธิ สี ารเกยี วโต ซงึ่ วา่ ดว้ ยการลดการปลอ่ ยแกส๊ เรอื นกระจกของ ประเทศในกลุ่มภาคีในปี พ.ศ.2542 และให้สัตยาบันในปี พ.ศ.2545 และต่อมาได้เข้า รว่ มการประชมุ รฐั ภาคอี นสุ ญั ญาสหประชาชาตวิ า่ ดว้ ยการเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ สมัยท่ี 21 (COP21) ที่กรุงปารีส ประเทศฝร่ังเศส เมื่อปลายปี พ.ศ. 2558 ซึ่งว่าด้วย การลดการปล่อยแก๊สเรือนกระจกของประเทศในกลุ่มภาคี การประชุมดังกล่าวถือเป็น คร้ังแรกท่ีประเทศท่ัวโลกบรรลุข้อตกลงทางสภาวะอากาศ ที่ได้รับการยอมรับว่าเป็น ข้อตกลงประวัติศาสตร์ มีเป้าหมายหลักเพ่ือควบคุมการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิโลกให้ นอ้ ยกวา่ 2 องศาเซลเซียส เมื่อเทยี บกับอณุ หภมู โิ ลกในยุคกอ่ นปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรม แนวการวดั และประเมนิ ผล ด้านความรู้ - สาเหตุของปัญหาที่เกิดกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และผลกระทบที่เกิดกับ มนษุ ยแ์ ละสงิ่ แวดลอ้ ม และแนวทางในการอนรุ กั ษท์ รพั ยากรธรรมชาตแิ ละการแกไ้ ขปญั หา สง่ิ แวดลอ้ ม จากการอภปิ รายและการอธิบาย และผลการทำ�กจิ กรรม ด้านทักษะ - การสังเกต การจำ�แนกประเภท การจัดกระทำ�และส่อื ความหมายข้อมูล การลงความเห็น จากข้อมูล การส่ือสารสารสนเทศและการรู้เท่าทันสื่อ การคิดอย่างมีวิจารณญาณและ การแก้ปัญหา การสร้างสรรค์และนวัตกรรม และความร่วมมือ การทำ�งานเป็นทีม และ ภาวะผนู้ �ำ จากการสืบคน้ ขอ้ มลู การท�ำ กิจกรรม และพฤติกรรมในการน�ำ เสนอ ดา้ นจติ วิทยาศาสตร์ - การใช้วจิ ารณญาณ ความใจกวา้ ง และความซือ่ สัตย์ จากการอภิปรายและการอธบิ าย การ ท�ำ กิจกรรม และพฤติกรรมในการนำ�เสนอ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

156 บทที่ 5 | ชวี ิตในสง่ิ แวดลอ้ ม วทิ ยาศาสตรช์ วี ภาพ เฉลยแบบฝกึ หัดทา้ ยบทที่ 5 1. จากแผนภาพแสดงความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิเฉลี่ยและปริมาณหยาดนำ้�ฟ้าเฉล่ียซ่ึง เป็นปัจจัยกำ�หนดชนิดของไบโอมบนบก จงนำ�ชื่อไบโอมท่ีกำ�หนดให้เติมลงในช่องว่าง ในแผนภาพ ไบโอมทะเลทราย ไบโอมปา่ ผลัดใบเขตอบอุ่น (desert) (temperate deciduous forest) ไบโอมทนุ ดรา ไบโอมทุ่งหญา้ เขตอบอุ่น (tundra) (temperate grassland) ไบโอมสะวันนา ไบโอมป่าเขตร้อน (savanna) (tropical forest) ไบโอมปา่ สน (coniferous forest) ุอณหภู ิมเฉ ่ลีย (°C ) Savanna Tropical forest Temperate Temperate Desert grassland deciduous 0 Tundra forest Coniferous forest ปรมิ าณหยาดน�ำ้ ฟา้ เฉลี่ย สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

วชิ าวทิ ยาศาสตร์ชวี ภาพ บทท่ี 5 | ชีวิตในสง่ิ แวดล้อม 157 2. ในระหว่างการเปล่ียนแปลงแทนที่ในบริเวณที่ถูกทิ้งร้างหลังจากการทำ�ไร่เล่ือนลอยซ่ึง ด�ำ เนินมาจนถึงขน้ั ท่ีพชื พวกไมพ้ ุ่มเปน็ สิ่งมีชวี ิตเดน่ ถ้าเกดิ ไฟไหมจ้ นทำ�ใหพ้ ืชในบรเิ วณ นนั้ ตายไปทัง้ หมด ส่ิงมชี ีวิตท่ีจะเขา้ มาแทนท่ใี นบริเวณดังกลา่ วควรจะเปน็ ชนดิ ใด ควรจะเป็นหญา้ และไม้พมุ่ ขนาดเลก็ เน่ืองจากสภาพแวดล้อมในบรเิ วณน้นั ยังเหมาะ แก่การดำ�รงชวี ติ 3. ปจั จยั ใดบา้ งที่มีผลต่อการเปล่ียนแปลงขนาดของประชากรมนุษย์ และมผี ลอยา่ งไร ค�ำ ตอบสามารถมไี ดห้ ลากหลายขน้ึ อยกู่ บั ความรเู้ ดมิ และขอ้ มลู ทน่ี กั เรยี นสบื คน้ มาได้ เช่น ทีอ่ ยู่อาศยั อาหาร โรคระบาด ซง่ึ ล้วนสง่ ผลตอ่ ขนาดของประชากรมนุษย์ - ท่อี ย่อู าศัย ถ้ามีพ้นื ท่ไี ม่เพียงพอ ประชากรจะต้องอย่กู ันอย่างแออัด ส่งผลให้ คณุ ภาพชวี ติ ต�ำ่ ลง อตั ราการตายอาจจะสงู ขน้ึ ท�ำ ใหข้ นาดของประชากรลดลง - อาหาร ถ้ามปี รมิ าณเพียงพอสง่ ผลใหข้ นาดของประชากรเพิ่มขนึ้ - การเกิดโรคระบาดรุนแรงที่ทำ�ให้เสียชีวิต ส่งผลให้ขนาดของประชากร ลดลง 4. จงระบุแหล่งที่มาของการปนเปอ้ื นในวฏั จกั รน�้ำ ซ่ึงกอ่ ให้เกดิ ปญั หามลพิษทางนำ้� แหลง่ ทมี่ าของการปนเปอื้ นในวฏั จกั รน�้ำ สามารถเกดิ ขน้ึ ไดต้ งั้ แตใ่ นอากาศซง่ึ มมี ลพษิ ก่อนท่ีนำ้�จะตกลงสู่ผิวโลก หรือการปนเป้ือนระหว่างท่ีนำ้�ไหลผ่านดินหรือบริเวณซ่ึง อาจมีสารปนเป้ือนก่อนที่จะไหลไปรวมกันในแหล่งนำ้� หรือการปนเป้ือนในแหล่งน้ำ� ซ่งึ เกิดจากขยะหรอื น�้ำ ทง้ิ จากกจิ กรรมของมนุษย์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

158 บทท่ี 5 | ชวี ิตในส่งิ แวดล้อม วิทยาศาสตรช์ วี ภาพ 5. ถ้าปะการงั ถูกทำ�ลายจะสง่ ผลกระทบตอ่ สิ่งมชี ีวติ ในทะเลและตอ่ มนษุ ยอ์ ย่างไร เน่ืองจากองค์ประกอบในระบบนิเวศมีความสัมพันธ์กัน การที่ปะการังซ่ึงเป็น องคป์ ระกอบในระบบนเิ วศถกู ท�ำ ลายจงึ สง่ ผลกระทบตอ่ สง่ิ มชี วี ติ อน่ื ๆ ในระบบนเิ วศ ดว้ ย เช่น ส่งผลให้ส่ิงมีชีวิตบางชนิดในทะเลขาดแหล่งท่ีอยู่อาศัย แหล่งอาหาร และ แหลง่ หลบภัย และส่งผลตอ่ ขนาดของประชากรสิ่งมชี ีวติ ชนดิ นนั้ ๆ และส่ิงมชี ีวติ อน่ื ท่ีเก่ียวข้อง การเปล่ียนแปลงขนาดของประชากรสิ่งมีชีวิตในทะเลส่งผลให้ปริมาณ สตั วน์ �้ำ ทมี่ นษุ ยใ์ ชเ้ ปน็ อาหารลดลง นอกจากนยี้ งั สง่ ผลตอ่ อตุ สาหกรรมการทอ่ งเทย่ี ว 6. การใช้สารเคมีปราบศัตรูพืชพวกหนอนและแมลงจะเกิดผลกระทบต่อระบบนิเวศ อย่างไร ควรใช้หรือไม่ เพราะเหตุใด คำ�ตอบอาจมีได้หลากหลายควรพิจารณาจากเหตุผลท่ีนักเรียนอธิบาย เช่น สารเคมี อาจตกค้างอยู่ในระบบนิเวศได้ เช่น ในดินหรือแหล่งน้ำ� ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อ สิ่งมชี วี ิตอื่น ๆ ในระบบนเิ วศ รวมทง้ั มนุษย์ - ถ้าใช้ ควรใช้ในปริมาณน้อยและใช้อย่างระมัดระวัง เพราะการใช้สารเคมีมี ประโยชนโ์ ดยช่วยกำ�จัดแมลงท่เี ป็นศัตรพู ืช - ถ้าไม่ใช้ อาจเปลี่ยนวิธีการปลูก เช่น การปลูกในโรงเรือนปิด หรือเปลี่ยนไปใช้ สารสกดั จากธรรมชาตใิ นการกำ�จัดศตั รูพืชแทนการใช้สารเคมี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

วทิ ยาศาสตรช์ วี ภาพ ภาคผนวก 159 ภาคผนวก สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

160 ภาคผนวก วทิ ยาศาสตร์ชวี ภาพ ตวั อยา่ งเคร่อื งมือวดั และประเมนิ ผล แบบทดสอบ การประเมนิ ผลดว้ ยแบบทดสอบเปน็ วธิ ที น่ี ยิ มใชก้ นั อยา่ งแพรห่ ลายในการวดั ผลสมั ฤทธใิ์ นการเรยี น โดยเฉพาะดา้ นความรแู้ ละความสามารถทางสตปิ ญั ญา ครคู วรมคี วามเขา้ ใจในลกั ษณะของแบบทดสอบ รวมทั้งข้อดีและข้อจำ�กัดของแบบทดสอบรูปแบบต่าง ๆ เพื่อประโยชน์ในการสร้างหรือเลือกใช้แบบ ทดสอบให้เหมาะสมกับสิ่งที่ต้องการวัด โดยลักษณะของแบบทดสอบ รวมทั้งข้อดีและข้อจำ�กัดของ แบบทดสอบรูปแบบต่าง ๆ เปน็ ดังนี้ 1) แบบทดสอบแบบท่ีมีตัวเลอื ก แบบทดสอบแบบทมี่ ตี วั เลอื ก ไดแ้ ก่ แบบทดสอบแบบเลอื กตอบ แบบทดสอบแบบถกู หรอื ผดิ และ แบบทดสอบแบบจับคู่ รายละเอยี ดของแบบทดสอบแต่ละแบบเปน็ ดงั นี้ 1.1) แบบทดสอบแบบเลอื กตอบ เปน็ แบบทดสอบทม่ี กี ารก�ำ หนดตวั เลอื กใหห้ ลายตวั เลอื ก โดยมตี วั เลอื กทถ่ี กู เพยี งหนง่ึ ตวั เลอื ก องค์ประกอบหลักของแบบทดสอบแบบเลือกตอบมี 2 ส่วน คือ ค�ำ ถามและตัวเลอื ก แตบ่ างกรณีอาจ มีส่วนของสถานการณ์เพิ่มขึ้นมาด้วย แบบทดสอบแบบเลือกตอบมีหลายรูปแบบ เช่น แบบทดสอบ แบบเลอื กตอบค�ำ ถามเดยี่ ว แบบทดสอบแบบเลอื กตอบค�ำ ถามชดุ แบบทดสอบแบบเลอื กตอบค�ำ ถาม 2 ชัน้ โครงสรา้ งดงั ตัวอยา่ ง แบบทดสอบแบบเลือกตอบแบบค�ำ ถามเด่ียวที่ไมม่ สี ถานการณ์ คำ�ถาม……………………………………………………………………. ตัวเลอื ก ก................................................ ข................................................ ค................................................ ง................................................ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

วิทยาศาสตรช์ วี ภาพ ภาคผนวก 161 แบบทดสอบแบบเลอื กตอบแบบคำ�ถามเด่ียวท่ีมีสถานการณ์ สถานการณ…์ …………………………………………………………...................... ค�ำ ถาม…………………………………………………....................…………………. ตัวเลือก ก................................................ ข................................................ ค................................................ ง................................................ แบบทดสอบแบบเลือกตอบแบบคำ�ถามเปน็ ชุด สถานการณ…์ …………………………………………………………...................... ค�ำ ถาม…………………………………………………....................…………………. ตัวเลือก ก................................................ ข................................................ ค................................................ ง................................................ ค�ำ ถามที่ 2 …………………………………………………………….................. ตวั เลือก ก................................................ ข................................................ ค................................................ ง................................................ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

162 ภาคผนวก วทิ ยาศาสตรช์ วี ภาพ แบบทดสอบแบบเลือกตอบแบบค�ำ ถาม 2 ชัน้ สถานการณ…์ …………………………………………………………...................... ค�ำ ถาม…………………………………………………....................…………………. ตัวเลอื ก ก................................................ ข................................................ ค................................................ ง................................................ คำ�ถามท่ี 2 (ถามเหตุผลของการตอบค�ำ ถามท่ี 1) ……………………………………………………………........................................ ……………………………………………………………........................................ แบบทดสอบแบบเลอื กตอบมขี อ้ ดคี อื สามารถใชว้ ดั ผลสมั ฤทธขิ์ องนกั เรยี นไดค้ รอบคลมุ เนอื้ หา ตามจดุ ประสงค์ สามารถตรวจใหค้ ะแนนและแปลผลคะแนนไดต้ รงกนั แตม่ ขี อ้ จ�ำ กดั คอื ไมเ่ ปดิ โอกาส ให้นักเรียนได้แสดงออกอย่างอิสระจึงไม่สามารถวัดความคิดระดับสูง เช่น ความคิดสร้างสรรค์ได้ นอกจากนี้นกั เรียนทไี่ ม่มคี วามรู้สามารถเดาค�ำ ตอบได้ 1.2) แบบทดสอบแบบถูกหรือผิด เปน็ แบบทดสอบทมี่ ตี วั เลอื ก ถกู และผดิ เทา่ นนั้ มอี งคป์ ระกอบ 2 สว่ น คอื ค�ำ สงั่ และขอ้ ความ ให้นักเรียนพิจารณาวา่ ถกู หรอื ผิด ดงั ตวั อยา่ ง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

วิทยาศาสตร์ชวี ภาพ ภาคผนวก 163 แบบทดสอบแบบถกู หรอื ผิด คำ�สง่ั ใหพ้ จิ ารณาว่าขอ้ ความต่อไปน้ถี ูกหรอื ผิด แลว้ ใส่เคร่อื งหมาย หรือ หน้า ข้อความ ………… 1. ขอ้ ความ……………………………………………..……………..…………………..... ………… 2. ขอ้ ความ……………………………………………..……………..…………………..... ………… 3. ข้อความ……………………………………………..……………..…………………..... ………… 4. ข้อความ……………………………………………..……………..…………………..... ………… 5. ข้อความ……………………………………………..……………..…………………..... แบบทดสอบรูปแบบนี้สามารถสร้างได้ง่าย รวดเร็ว และครอบคลุมเนื้อหา สามารถตรวจได้ รวดเรว็ และใหค้ ะแนนไดต้ รงกนั แตน่ กั เรยี นมโี อกาสเดาไดม้ าก และการสรา้ งขอ้ ความใหเ้ ปน็ จรงิ หรอื เปน็ เทจ็ โดยสมบรู ณใ์ นบางเน้ือทำ�ไดย้ าก 1.3) แบบทดสอบแบบจับคู่ ประกอบดว้ ยสว่ นทีเ่ ปน็ ค�ำ สงั่ และขอ้ ความ 2 ชุด ทใี่ หจ้ บั คู่กัน โดยขอ้ ความชุดที่ 1 อาจเป็น ค�ำ ถาม และขอ้ ความชดุ ที่ 2 อาจเปน็ ค�ำ ตอบหรอื ตวั เลอื ก โดยจ�ำ นวนขอ้ ความในชดุ ท่ี 2 อาจมมี ากกวา่ ในชุดท่ี 1 ดงั ตัวอยา่ ง แบบทดสอบแบบจับคู่ ค�ำ สง่ั ใหน้ �ำ ตวั อกั ษรหนา้ ขอ้ ความในชดุ ค�ำ ตอบมาเตมิ ในชอ่ งวา่ งหนา้ ขอ้ ความในชดุ คำ�ถาม ชดุ ค�ำ ถาม ชดุ ค�ำ ตอบ ……… 1. ………………………………… ก. ………………………………… ……… 2. ………………………………… ข. ………………………………… ……… 3. ………………………………… ค. ………………………………… ง. ………………………………… สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

164 ภาคผนวก วทิ ยาศาสตร์ชีวภาพ แบบทดสอบรูปแบบน้ีสร้างได้ง่ายตรวจให้คะแนนได้ตรงกัน และเดาคำ�ตอบได้ยากเหมาะ สำ�หรับวัดความสามารถในการหาความสัมพันธ์ระหว่างคำ�หรือข้อความ 2 ชุด แต่ในกรณีที่นักเรียน จบั คผู่ ดิ ไปแลว้ จะท�ำ ใหม้ ีการจับคู่ผดิ ในคูอ่ ื่น ๆ ด้วย 2) แบบทดสอบแบบเขยี นตอบ เป็นแบบทดสอบที่ให้นักเรียนคิดคำ�ตอบเอง จึงมีอิสระในการแสดงความคิดเห็นและสะท้อน ความคดิ ออกมาโดยการเขยี นใหผ้ อู้ า่ นเขา้ ใจ โดยทว่ั ไปการเขยี นตอบมี 2 แบบ คอื การเขยี นตอบแบบ เติมคำ�หรือการเขียนตอบอย่างส้ัน และการเขียนตอบแบบอธิบาย รายละเอียดของแบบทดสอบท่ีมี การตอบแตล่ ะแบบเปน็ ดงั นี้ 2.1) แบบทดสอบเขียนตอบแบบเตมิ คำ�หรอื ตอบอยา่ งสัน้ ประกอบด้วยคำ�ส่ัง และข้อความที่ไม่สมบูรณ์ซ่ึงจะมีส่วนท่ีเว้นไว้เพ่ือให้เติมคำ�ตอบหรือ ขอ้ ความสน้ั ๆ ทที่ �ำ ใหข้ อ้ ความขา้ งตน้ ถกู ตอ้ งหรอื สมบรู ณ์ นอกจากนแ้ี บบทดสอบยงั อาจประกอบดว้ ย สถานการณ์และคำ�ถามที่ให้นักเรียนตอบโดยการเขียนอย่างอิสระ แต่สถานการณ์และคำ�ถามจะเป็น ส่งิ ทีก่ �ำ หนดค�ำ ตอบให้มคี วามถกู ต้องและเหมาะสม แบบทดสอบรูปแบบน้ีสรา้ งไดง้ ่าย มโี อกาสเดาไดย้ าก และสามารถวนิ ิจฉัยคำ�ตอบทนี่ ักเรียน ตอบผิดเพื่อให้ทราบถึงข้อบกพร่องทางการเรียนรู้หรือความเข้าใจท่ีคลาดเคล่ือนได้ แต่การจำ�กัด คำ�ตอบให้นักเรียนตอบเป็นคำ� วลี หรือประโยคได้ยาก ตรวจให้คะแนนได้ยากเนื่องจากบางคร้ังมี ค�ำ ตอบถูกต้องหรอื ยอมรบั ไดห้ ลายค�ำ ตอบ 2.2) แบบทดสอบเขยี นตอบแบบอธบิ าย เปน็ แบบทดสอบท่ตี ้องการใหน้ ักเรียนสร้างค�ำ ตอบอย่างอสิ ระ ประกอบด้วยสถานการณแ์ ละ ค�ำ ถามที่สอดคลอ้ งกนั โดยค�ำ ถามเปน็ ค�ำ ถามแบบปลายเปดิ แบบทดสอบรปู แบบนใ้ี หอ้ สิ ระแกน่ กั เรยี นในการตอบจงึ สามารถใชว้ ดั ความคดิ ระดบั สงู ได้ แต่ เนอ่ื งจากนกั เรยี นตอ้ งใชเ้ วลาในการคดิ และเขยี นค�ำ ตอบมาก ท�ำ ใหถ้ ามไดน้ อ้ ยขอ้ จงึ อาจท�ำ ใหว้ ดั ไดไ้ ม่ ครอบคลมุ เนอ้ื หาทง้ั หมด รวมทง้ั ตรวจใหค้ ะแนนยาก และการตรวจใหค้ ะแนนอาจไมต่ รงกนั สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

วทิ ยาศาสตรช์ วี ภาพ ภาคผนวก 165 แบบประเมินทกั ษะ เมื่อนักเรียนได้ลงมือปฏิบัติกิจกรรมจริงจะมีหลักฐานร่องรอยที่แสดงไว้ทั้งวิธีการปฏิบัติและ ผลการปฏบิ ตั ิ ซงึ่ หลกั ฐานรอ่ งรอยเหลา่ นนั้ สามารถใชใ้ นการประเมนิ ความสามารถ ทกั ษะการคดิ และ ทักษะปฏิบตั ิไดเ้ ปน็ อยา่ งดี การปฏบิ ตั กิ ารทดลองเปน็ กจิ กรรมที่ส�ำ คญั ทใ่ี ชใ้ นการจดั การเรยี นรทู้ างวทิ ยาศาสตร์ โดยทว่ั ไปจะ ประเมิน 2 ส่วน คือ ประเมินทักษะการปฏิบัติการทดลองและการเขียนรายงานการทดลอง โดยเครือ่ งมอื ทใ่ี ช้ประเมนิ ดังตัวอยา่ ง ตวั อย่างแบบส�ำ รวจรายการทกั ษะปฏิบัตกิ ารทดลอง ผลการสำ�รวจ รายการทต่ี ้องส�ำ รวจ มี ไมม่ ี (ระบุจำ�นวนครั้ง) การวางแผนการทดลอง การทดลองตามขน้ั ตอน การสังเกตการทดลอง การบันทึกผล การอภปิ รายผลการทดลองกอ่ นลงขอ้ สรปุ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

166 ภาคผนวก วิทยาศาสตรช์ วี ภาพ ตวั อยา่ งแบบประเมนิ ทกั ษะปฏบิ ตั กิ ารทดลองทใ่ี ชเ้ กณฑก์ ารใหค้ ะแนนแบบแยกองคป์ ระกอบยอ่ ย ทกั ษะปฏบิ ตั ิ 3 คะแนน 1 การทดลอง 2 ก า ร เ ลื อ ก ใ ช้ อุ ป ก ร ณ์ / เ ลื อ ก ใ ช้ อุ ป ก ร ณ์ / เ ลื อ ก ใ ช้ อุ ป ก ร ณ์ / เ ลื อ ก ใ ช้ อุ ป ก ร ณ์ / เครอ่ื งมอื ในการทดลอง เ ค รื่ อ ง มื อ ใ น ก า ร เ ค รื่ อ ง มื อ ใ น ก า ร เ ค ร่ื อ ง มื อ ใ น ก า ร ท ด ล อ ง ไ ด้ ถู ก ต้ อ ง ทดลองไดถ้ กู ตอ้ งแต่ ทดลองไมถ่ กู ตอ้ ง เหมาะสมกบั งาน ไม่เหมาะสมกับงาน การใชอ้ ปุ กรณ/์ เครอ่ื งมอื ใชอ้ ปุ กรณ/์ เครอ่ื งมอื ใช้อุปกรณ์/เคร่ืองมือ ใชอ้ ปุ กรณ/์ เครอ่ื งมอื ในการทดลอง ใ น ก า ร ท ด ล อ ง ไ ด้ ในการทดลองได้ถูก ในการทดลองไม่ถูก อ ย่ า ง ค ล่ อ ง แ ค ล่ ว ต้องตามหลักการ ต้อง แ ล ะ ถู ก ต้ อ ง ต า ม ปฏิบตั ิ แตไ่ ม่ หลกั การปฏบิ ัติ คลอ่ งแคลว่ การทดลองตามแผนท่ี ทดลองตามวิธีการ ทดลองตามวิธีการ ทดลองตามวิธีการ ก�ำ หนด แ ล ะ ขั้ น ต อ น ที่ แ ล ะ ขั้ น ต อ น ที่ แ ล ะ ขั้ น ต อ น ที่ กำ�หนดไว้อย่างถูก กำ � ห น ด ไ ว้ มี ก า ร กำ � ห น ด ไ ว้ ห รื อ ต้อง มีการปรับปรุง ปรับปรงุ แก้ไขบ้าง ดำ � เ นิ น ก า ร ข้ า ม แกไ้ ขเป็นระยะ ขั้นตอนท่ีกำ�หนดไว้ ไ ม่ มี ก า ร ป รั บ ป รุ ง แกไ้ ข สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

วิทยาศาสตรช์ ีวภาพ ภาคผนวก 167 ตวั อย่างแบบประเมินทกั ษะปฏิบัตกิ ารทดลองท่ีใชเ้ กณฑก์ ารให้คะแนนแบบมาตรประมาณคา่ ทักษะท่ีประเมิน ผลการประเมิน ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 1 1. วางแผนการทดลองอย่างเป็น ระดบั 3 หมายถงึ ระดบั 2 หมายถงึ ระดบั 1 หมายถงึ ข้ันตอน ปฏบิ ตั ไิ ดท้ ง้ั 3 ขอ้ ปฏบิ ตั ไิ ดท้ ง้ั 2 ขอ้ ปฏบิ ตั ไิ ดท้ ง้ั 1 ขอ้ 2. ป ฏิ บั ติ ก า ร ท ด ล อ ง ไ ด้ อ ย่ า ง คล่องแคล่ว สามารถเลือกใช้ อุปกรณ์ได้ถูกต้อง เหมาะสม และจดั วางอปุ กรณเ์ ปน็ ระเบยี บ สะดวกต่อการใชง้ าน 3. บันทึกผลการทดลองได้ถูกต้อง และครบถว้ นสมบูรณ์ ตวั อย่างแนวทางการใหค้ ะแนนการเขียนรายงานการทดลอง คะแนน 321 เขียนรายงานตาม เขียนรายงานการ เขียนรายงานโดย ลำ � ดั บ ข้ั น ต อ น ทดลองตามลำ�ดับ ลำ� ดับข้ันตอนไม่ ผลการทดลองตรง แตไ่ มส่ อ่ื ความหมาย สอดคล้องกัน และ ตามสภาพจริงและ ไม่สอ่ื ความหมาย ส่อื ความหมาย แบบประเมินคุณลกั ษณะด้านจติ วทิ ยาศาสตร์ การประเมินจิตวิทยาศาสตร์ไม่สามารถทำ�ได้โดยตรง โดยทั่วไปทำ�โดยการตรวจสอบพฤติกรรม ภายนอกท่ีปรากฏใหเ้ ห็นในลกั ษณะของค�ำ พูด การแสดงความคิดเหน็ การปฏิบตั ิหรอื พฤตกิ รรมบง่ ชี้ ทส่ี ามารถสงั เกตหรอื วดั ได้ และแปลผลไปถงึ จติ วทิ ยาศาสตรซ์ งึ่ เปน็ สง่ิ ทส่ี ง่ ผลใหเ้ กดิ พฤตกิ รรมดงั กลา่ ว เครือ่ งมือทีใ่ ชป้ ระเมนิ คุณลกั ษณะดา้ นจิตวิทยาศาสตร์ ดังตัวอย่าง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

168 ภาคผนวก วทิ ยาศาสตรช์ ีวภาพ ตัวอย่างแบบประเมินคุณลักษณะดา้ นจติ วทิ ยาศาสตร์ ค�ำ ชแี้ จง จงทำ�เครื่องหมาย ลงในช่องว่างท่ีตรงกับคุณลักษณะที่นักเรียนแสดงออก โดยจำ�แนก ระดบั พฤตกิ รรมการแสดงออกเป็น 4 ระดบั ดังน้ี มาก หมายถึง นกั เรยี นแสดงออกในพฤติกรรมเหลา่ นนั้ อย่างสม�ำ่ เสมอ ปานกลาง หมายถงึ นกั เรยี นแสดงออกในพฤติกรรมเหล่านั้นเป็นครัง้ คราว นอ้ ย หมายถงึ นกั เรยี นแสดงออกในพฤตกิ รรมเหล่านั้นนอ้ ยครง้ั ไมม่ กี ารแสดงออก หมายถึง นักเรียนไมแ่ สดงออกในพฤติกรรมเหล่าน้นั เลย ระดบั พฤตกิ รรมการแสดงออก รายการพฤติกรรมการแสดงออก มาก ปาน นอ้ ย ไมม่ กี าร ด้านความอยากรอู้ ยากเห็น กลาง แสดงออก 1. นักเรียนสอบถามจากผู้รู้หรือไปศึกษา ค้นคว้าเพ่ิมเติม เม่ือเกิดความสงสัยใน เรือ่ งราววิทยาศาสตร์ 2. นกั เรยี นชอบไปงานนทิ รรศการ วทิ ยาศาสตร์ 3. นกั เรียนนำ�การทดลองที่สนใจไป ทดลองตอ่ ที่บา้ น ด้านความซื่อสตั ย์ 1. นักเรียนรายงานผลการทดลองตามท่ี ทดลองไดจ้ รงิ 2. เมอื่ ท�ำ การทดลองผดิ พลาด นกั เรยี นจะ ลอกผลการทดลองของเพื่อนส่งครู 3. เมอื่ ครูมอบหมายใหท้ �ำ ชิน้ งาน ออกแบบส่งิ ประดิษฐ์ นกั เรียนจะ ประดษิ ฐ์ตามแบบท่ปี รากฏอยใู่ น หนงั สือ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

วทิ ยาศาสตร์ชีวภาพ ภาคผนวก 169 ระดบั พฤตกิ รรมการแสดงออก รายการพฤติกรรมการแสดงออก มาก ปาน น้อย ไมม่ ีการ ด้านความใจกว้าง กลาง แสดงออก 1. แมว้ า่ นกั เรยี นจะไมเ่ หน็ ดว้ ยกบั การสรปุ ผลการทดลองในกลุ่ม แต่ก็ยอมรับผล สรปุ ของสมาชิกสว่ นใหญ่ 2. ถา้ เพอ่ื นแยง้ วธิ กี ารทดลองของนกั เรยี น และมีเหตุผลท่ีดีกว่า นักเรียนพร้อมท่ี จ ะ นำ � ข้ อ เ ส น อ แ น ะ ข อ ง เ พ่ื อ น ไ ป ปรบั ปรุงงานของตน 3. เม่ืองานท่ีนักเรียนต้ังใจและทุ่มเททำ� ถูกตำ�หนิหรือโต้แย้ง นักเรียนจะหมด ก�ำ ลงั ใจ ด้านความรอบคอบ 1. นักเรียนสรุปผลการทดลองทันทีเม่ือ เสร็จส้ินการทดลอง 2. นักเรียนทำ�การทดลองซ้ำ� ๆ ก่อนที่จะ สรุปผลการทดลอง 3. นักเรียนตรวจสอบความพร้อมของ อปุ กรณ์ก่อนท�ำ การทดลอง ดา้ นความมุ่งมนั่ อดทน 1. ถึงแม้ว่างานค้นคว้าท่ีทำ�อยู่มีโอกาส ส�ำ เรจ็ ไดย้ าก นกั เรยี นจะยงั คน้ ควา้ ตอ่ ไป 2. นกั เรยี นลม้ เลกิ การทดลองทนั ที เมอื่ ผล การทดลองทไ่ี ดข้ ดั จากทเี่ คยไดเ้ รยี นมา 3. เม่ือทราบว่าชุดการทดลองที่นักเรียน สนใจต้องใช้ระยะเวลาในการทดลอง นาน นกั เรียนกเ็ ปลี่ยนไปศกึ ษาชุดการ ทดลองที่ใชเ้ วลาน้อยกว่า สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

170 ภาคผนวก วทิ ยาศาสตรช์ วี ภาพ ระดับพฤตกิ รรมการแสดงออก รายการพฤตกิ รรมการแสดงออก มาก ปาน น้อย ไมม่ กี าร เจตคติที่ดตี ่อวทิ ยาศาสตร์ กลาง แสดงออก 1. นักเรียนนำ�ความรู้ทางวิทยาศาสตร์มา ใช้แก้ปญั หาในชีวติ ประจ�ำ วันอยู่เสมอ 2. นกั เรยี นชอบท�ำ กจิ กรรมทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั วิทยาศาสตร์ 3. นั ก เ รี ย น ส น ใ จ ติ ด ต า ม ข่ า ว ส า ร ท่ี เก่ยี วข้องกับวิทยาศาสตร์ วธิ กี ารตรวจให้คะแนน ตรวจให้คะแนนตามเกณฑ์โดยกำ�หนดนำ้�หนักของตัวเลือกในช่องต่าง ๆ เป็น 4 3 2 1 ขอ้ ความที่มคี วามหมายเป็นทางบวก กำ�หนดใหค้ ะแนนแตล่ ะขอ้ ความดังน้ี ระดบั พฤตกิ รรมการแสดงออก คะแนน มาก 4 ปานกลาง 3 นอ้ ย 2 ไม่มีการแสดงออก 1 ส่วนของข้อความท่ีมีความหมายเป็นทางลบการกำ�หนดให้คะแนนในแต่ละข้อความจะมี ลกั ษณะเปน็ ตรงกันข้าม การประเมินการน�ำ เสนอผลงาน การประเมนิ ผลและใหค้ ะแนนการน�ำ เสนอผลงานใชแ้ นวทางการประเมนิ เชน่ เดยี วกบั การประเมนิ ภาระงานอ่ืน คือ การใช้คะแนนแบบภาพรวม และการให้คะแนนแบบแยกองค์ประกอบย่อย ดังราย ละเอยี ดต่อไปน้ี 1) การใหค้ ะแนนในภาพรวม เปน็ การใหค้ ะแนนทต่ี อ้ งการสรปุ ภาพรวมจงึ ประเมนิ เฉพาะประเดน็ หลกั ทสี่ �ำ คญั ๆ เชน่ การประเมนิ ความถกู ตอ้ งของเนอื้ หา ความรแู้ ละการประเมนิ สมรรถภาพดา้ นการ เขยี นโดยใช้เกณฑก์ ารให้คะแนนแบบภาพรวม ดงั ตัวอยา่ งตอ่ ไปนี้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

วทิ ยาศาสตรช์ ีวภาพ ภาคผนวก 171 ตวั อยา่ งเกณฑก์ ารประเมนิ ความถกู ต้องของเนอื้ หาความรู้ (แบบภาพรวม) รายการประเมนิ ระดับคณุ ภาพ เนอ้ื หาไม่ถกู ต้องเป็นสว่ นใหญ่ ต้องปรบั ปรงุ เนอ้ื หาถกู ตอ้ งแต่ใหส้ าระสำ�คญั นอ้ ยมาก และไมร่ ะบุแหล่งทมี่ าของความรู้ เนอ้ื หาถกู ตอ้ ง มสี าระส�ำ คญั แตย่ งั ไมค่ รบถว้ น มกี ารระบแุ หลง่ ทม่ี าของความรู้ พอใช้ เนอ้ื หาถกู ต้อง มีสาระส�ำ คัญครบถ้วน และระบแุ หล่งท่มี าของความรู้ชัดเจน ดี ดมี าก ตวั อยา่ งเกณฑก์ ารประเมินสมรรถภาพดา้ นการเขียน (แบบภาพรวม) รายการประเมนิ ระดบั คณุ ภาพ ต้องปรับปรุง เขียนสับสน ไม่เป็นระบบ ไม่บอกปัญหาและจุดประสงค์ ขาดการเช่ือมโยง เนื้อหาบางส่วนไม่ถูกต้องหรือไม่สมบูรณ์ ใช้ภาษาไม่เหมาะสมและสะกดคำ� พอใช้ ไม่ถกู ต้อง ไมอ่ ้างอิงแหลง่ ทม่ี าของความรู้ ดี เขียนเป็นระบบแต่ไม่ชัดเจน บอกจุดประสงค์ไม่ชัดเจน เน้ือหาถูกต้องแต่มี ดมี าก รายละเอียดไม่เพียงพอ เน้ือหาบางตอนไม่สัมพันธ์กัน การเรียบเรียงเนื้อหา ไมต่ อ่ เนือ่ ง ใช้ภาษาถูกต้อง อา้ งอิงแหล่งทม่ี าของความรู้ เขยี นเปน็ ระบบ แสดงใหเ้ หน็ โครงสรา้ งของเรอ่ื ง บอกความส�ำ คญั และทม่ี าของ ปัญหา จุดประสงค์ แนวคิดหลักไม่ครอบคลุมประเด็นสำ�คัญท้งั หมด เน้อื หา บางตอนเรียบเรียงไม่ต่อเน่ือง ใช้ภาษาถูกต้อง มีการยกตัวอย่าง รูปภาพ แผนภาพประกอบ อา้ งองิ แหลง่ ทม่ี าของความรู้ เขียนเป็นระบบ แสดงให้เห็นโครงสร้างของเร่ือง บอกความสำ�คัญและท่ีมา ของปัญหา จุดประสงค์ แนวคิดหลักได้ครอบคลุมประเด็นสำ�คัญท้ังหมด เรียบเรียงเน้ือหาได้ต่อเนื่อง ใช้ภาษาถูกต้อง ชัดเจนเข้าใจง่าย มีการ ยกตัวอยา่ ง รูปภาพ แผนภาพประกอบ อา้ งอิงแหล่งท่ีมาของความรู้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

172 ภาคผนวก วทิ ยาศาสตร์ชีวภาพ 2) การใหค้ ะแนนแบบแยกองคป์ ระกอบยอ่ ย เปน็ การประเมนิ เพอ่ื ตอ้ งการน�ำ ผลการประเมนิ ไปใช้ พัฒนางานให้มีคุณภาพผ่านเกณฑ์ และพัฒนาคุณภาพให้สูงข้ึนกว่าเดิมอย่างต่อเน่ือง โดยใช้เกณฑ์ ยอ่ ย ๆ ในการประเมินเพ่ือทำ�ให้รู้ท้ังจุดเด่นที่ควรส่งเสริมและจุดด้อยท่ีควรแก้ไขปรับปรุงการทำ�งาน ในส่วนนั้น ๆ เกณฑ์การให้คะแนนแบบแยกองค์ประกอบยอ่ ย มีตัวอยา่ งดังนี้ ตัวอยา่ งเกณฑก์ ารประเมินสมรรถภาพ (แบบแยกองค์ประกอบยอ่ ย) รายการประเมิน ระดับคุณภาพ ดา้ นการวางแผน ต้องปรับปรุง ไมส่ ามารถออกแบบได้ หรอื ออกแบบไดแ้ ตไ่ มต่ รงกบั ประเดน็ ปญั หาทต่ี อ้ งการ พอใช้ เรียนรู้ ดี ดมี าก ออกแบบได้ตามประเด็นส�ำ คัญของปัญหาเปน็ บางส่วน ตอ้ งปรบั ปรุง ออกแบบครอบคลมุ ประเดน็ ส�ำ คญั ของปญั หาเปน็ สว่ นใหญ่ แตย่ งั ไมช่ ดั เจน พอใช้ ดี ออกแบบไดค้ รอบคลมุ ทกุ ประเดน็ ส�ำ คญั ของปญั หาอยา่ งเปน็ ขน้ั ตอนทชี่ ดั เจน ดีมาก และตรงตามจุดประสงคท์ ี่ตอ้ งการ ดา้ นการดำ�เนนิ การ ดำ�เนินการไม่เป็นไปตามแผน ใช้อุปกรณ์และส่ือประกอบถูกต้องแต่ไม่ คล่องแคลว่ ดำ�เนินการตามแผนท่ีวางไว้ ใช้อุปกรณ์และส่ือประกอบถูกต้องแต่ไม่ คลอ่ งแคล่ว ดำ�เนินการตามแผนท่ีวางไว้ ใช้อุปกรณ์และส่ือประกอบการสาธิตได้อย่าง คลอ่ งแคลว่ และเสรจ็ ทนั เวลา ผลงานในบางขน้ั ตอนไมเ่ ปน็ ไปตามจดุ ประสงค์ ด�ำ เนนิ การตามแผนทวี่ างไว้ ใชอ้ ปุ กรณแ์ ละสอื่ ประกอบไดถ้ กู ตอ้ ง คลอ่ งแคลว่ และเสรจ็ ทนั เวลา ผลงานทุกขนั้ ตอนเป็นไปตามจดุ ประสงค์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

วทิ ยาศาสตรช์ ีวภาพ ภาคผนวก 173 รายการประเมนิ ระดบั คณุ ภาพ ด้านการอธิบาย ตอ้ งปรบั ปรงุ อธิบายไม่ถกู ตอ้ ง ขดั แยง้ กบั แนวคิดหลักทางวิทยาศาสตร์ พอใช้ ดี อธิบายโดยอาศัยแนวคิดหลักทางวิทยาศาสตร์ แต่การอธิบายเป็นแบบ ดมี าก พรรณนาท่ัวไปซึง่ ไม่คำ�นึงถงึ การเชอ่ื มโยงกบั ปญั หาท�ำ ใหเ้ ข้าใจยาก อธบิ ายโดยอาศยั แนวคดิ หลกั ทางวทิ ยาศาสตร์ ตรงตามประเดน็ ของปญั หาแต่ ขา้ มไปในบางขน้ั ตอน ใชภ้ าษาไดถ้ กู ตอ้ ง อธิบายตามแนวคิดหลักทางวิทยาศาสตร์ ตรงตามประเด็นของปัญหาและ จดุ ประสงค์ ใช้ภาษาไดถ้ กู ต้องเขา้ ใจงา่ ย ส่อื ความหมายได้ชัดเจน สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

174 บรรณานกุ รม วทิ ยาศาสตรช์ ีวภาพ บรรณานกุ รม คณะกรรมการวิชาสงิ่ แวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต ฝ่ายวชิ าบรู ณาการ หมวดวิชาศึกษาทวั่ ไป. (2557). สง่ิ แวดล้อม เทคโลโนยแี ละชวี ิต (พมิ พค์ รัง้ ที่ 11). กรงุ เทพฯ: ส�ำ นักพมิ พ์ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร.์ โครงการตำ�ราวทิ ยาศาสตรแ์ ละคณิตศาสตร์มลู นิธิ สอวน. (2549). ชวี วทิ ยา 2 (พิมพค์ รั้งที่ 1). กรงุ เทพฯ: บรษิ ทั ดา่ นสุทธาการพิมพ์ จำ�กดั . จิรากรณ์ คชเสน.ี (2553). นเิ วศวทิ ยาพืน้ ฐาน (พมิ พค์ รัง้ ท่ี 4). กรุงเทพฯ: ส�ำ นักพิมพจ์ ุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. ธวัชชยั สันตสิ ุข. (2555). ป่าของประเทศไทย (พิมพค์ รัง้ ที่ 3). กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พ์สำ�นักงาน พระพุทธศาสนาแห่งชาติ. นวิ ตั ิ เรืองพานิช. (2546). นเิ วศวิทยา ทรัพยากรธรรมชาติ (พิมพค์ รง้ั ท่ี 3). กรุงเทพฯ: สำ�นกั พมิ พ์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร.์ ลลิ ลี่ กาวตี ๊ะ. (2546). การเปลีย่ นแปลงทางสณั ฐานและพฒั นาการของพชื (พมิ พค์ ร้งั ท่ี 1). กรุงเทพฯ: สำ�นกั พมิ พม์ หาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์. ลลิ ล่ี กาวตี ๊ะ, มาลี ณ นคร, ศรีสม สุวรรณวงศ์ และสุรียา ตันติวิวัฒน.์ (2549). สรรี วทิ ยาของพชื (พิมพ์ครั้งท่ี 1). กรงุ เทพฯ: สำ�นกั พมิ พม์ หาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์. สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี. (2558). หนงั สอื เรียน รายวชิ าพืน้ ฐาน ชีววิทยา (พิมพค์ ร้ังที่ 8). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว. สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลย.ี (2558). หนงั สอื เรียน รายวิชาพ้นื ฐาน วิทยาศาสตร์ ดลุ ยภาพของส่งิ มชี ีวติ (พมิ พค์ รั้งที่ 8). กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พ์ สกสค. ลาดพรา้ ว. สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี. (2558). หนังสือเรียน รายวชิ าพืน้ ฐาน วทิ ยาศาสตร์ พนั ธกุ รรมและส่งิ แวดลอ้ ม (พิมพค์ ร้งั ท่ี 6). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพรา้ ว. สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย.ี (2558). หนงั สอื เรียน รายวิชาเพิม่ เตมิ ชีววทิ ยา เลม่ 1 (พิมพค์ รั้งที่ 9). กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พ์ สกสค. ลาดพร้าว. สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย.ี (2558). หนังสอื เรยี น รายวิชาเพิ่มเตมิ ชวี วทิ ยา เล่ม 2 (พมิ พ์คร้ังท่ี 8). กรงุ เทพฯ: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพรา้ ว. สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี. (2558). หนังสือเรยี น รายวชิ าเพิม่ เตมิ ชีววทิ ยา เลม่ 3 (พิมพค์ ร้ังที่ 8). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพรา้ ว.

วิทยาศาสตรช์ ีวภาพ บรรณานุกรม 175 สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย.ี (2558). หนงั สือเรียน รายวิชาเพ่ิมเตมิ ชวี วทิ ยา เลม่ 4 (พมิ พ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ: โรงพมิ พ์ สกสค. ลาดพร้าว. สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี. (2558). หนงั สอื เรียน รายวิชาเพิม่ เติม ชวี วิทยา เล่ม 5 (พมิ พ์ครัง้ ที่ 8). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพรา้ ว. สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2558). หนังสอื เรียนรเู้ พิ่มเติมเพ่ือเสรมิ ศักยภาพวิทยาศาสตร์ พน้ื ฐานชีววิทยา Biology ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4-6 (พิมพ์ครัง้ ท่ี 1). กรงุ เทพฯ: บริษทั พฒั นาคณุ ภาพวชิ าการ (พว.) จำ�กดั . สมาคมโรคตดิ เชือ้ ในเด็กแหง่ ประเทศไทย. (2559). ตารางการให้วัคซนี ในเด็กไทยปกติ โดย สมาคมโรคตดิ เช้อื ในเดก็ แห่งประเทศไทย 2559. สบื ค้นเมือ่ 10 มถิ นุ ายน 2560, จาก http://www.pidst.net/A478.html สมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย. (2559). โรคไต โรคไตเร้อื รัง และไตวาย เหมือนหรือต่างกันหรือ ไม่,อยา่ งไร?. สืบค้นเม่อื 22 พฤษภาคม 2560, จาก http://www.nephrothai.org/en/faq อจั ฉรยิ า รังษริ จุ ิ. (2555). วิวฒั นาการ: จากทฤษฎสี ู่การประยกุ ต์ (พมิ พ์ครง้ั ที่ 1). กรงุ เทพฯ: บริษัท เทก็ ซ์ แอนด์ เจอร์นลั พับลิเคชั่น จำ�กัด. Brooker, R.J. (2015). Genetics: Analysis & Principles (5th ed). New York: McGraw-Hill Companies, Inc. Cain, M. L., Bowman, W. D. & Hacker, S. D. (2014). Ecology (3rd ed). Sunderland, MA: Sinauer Assoociates, Inc. Campbell, N. A., Urry, L. A., Cain, M. L., Wasserman, S. A., Minorsky, P. V., & Reece, J. B. (2018). Biology: A G​ lobal Approach (11th ed). New York: Pearson Education Limited. Enger, E.D. & Smith, B. F. (2010). Environmental Science : A Study of Interrelation- ships (12th ed). New York: McGraw-Hill Companies, Inc. Evert, R. F. & Eichhorn, S. E. (2013). Raven Biology of Plants (8th ed). New York: W.H. Freeman and Company Publishers. Fareed, M., Anwar, M.A. & Afzal, M. (2015). Prevalence and gene frequency of color vision impairments among children of six populations from North Indian region. Genes and Diseases, 2(2), 211-218. Hall, B.K. & Hallgrimsson, B. (2014). Strickberger’s Evolution (5th ed). Burlington, MA: Jones & Bartlett Learning.

176 บรรณานกุ รม วทิ ยาศาสตรช์ ีวภาพ Hoefnagels, M. (2016). Biology: the Essentials (2nd ed). New York: McGraw-Hill Companies, Inc. Mayr, E. (2003). The growth of biological thought: Diversity, Evolution and Inheri- tance (12th ed). Cambridge, Mass: The Belknap Press of Harvard University Press. Miller, G. T. & Spoolman, S.E. (2013). Environmental Science (14th ed). Pacific Grove. Rosenbaum, P.A. (2011). Volpe’s Understanding Evolution (7th ed). New York: McGraw-Hill Companies, Inc. Saladin, Kenneth S. (2010). Anatomy & Physiology : The Unity of Form and Function (5th ed). New York: McGraw-Hill Companies, Inc. Shier, D., Butler, J., & Lewis, R. (2009). Hole’s Essential of Human Anatomy & Physiology (10th ed). New York: McGraw-Hill Companies, Inc.

วทิ ยาศาสตร์ชวี ภาพ คณะกรรมการจดั ท�ำ คมู่ ือครู 177 คณะกรรมการจดั ทำ�คู่มอื ครตู ามมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตัวช้วี ัด กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐานพุทธศกั ราช 2551 คณะท่ปี รกึ ษา ผอู้ ำ�นวยการ 1. ดร.พรพรรณ ไวทยางกรู สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รองผู้อำ�นวยการ 2. รศ.ดร.สัญญา มติ รเอม สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี คณะผจู้ ัดท�ำ คมู่ ือครู รายวชิ าพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ วทิ ยาศาสตรช์ ีวภาพ ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 4 1. รศ.ดร.ธีรพงษ์ บัวบูชา จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั 2. ดร.วนดิ า ธนประโยชน์ศกั ด์ิ ผู้ช่วยผอู้ �ำ นวยการ 3. ศ.ดร.ไพศาล สทิ ธิกรกลุ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 4. นายธรี พัฒน์ เวชชประสิทธ์ิ ผเู้ ชย่ี วชาญพิเศษ 5. รศ.ดร.วีระวรรณ สิทธกิ รกลุ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 6. นางเพ็ชรรัตน์ ศรวี ลิ ัย ผอู้ �ำ นวยการสาขาวทิ ยาศาสตรม์ ัธยมศึกษาตอนปลาย 7. ผศ.ดร.พัชนี สงิ ห์อาษา สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 8. นายณรงค์ พ่วงศรี ผเู้ ช่ียวชาญ 9. ดร.ปารวรี ์ เลก็ ประเสรฐิ สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ผเู้ ชย่ี วชาญ สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผชู้ �ำ นาญ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ผชู้ ำ�นาญ สถาบันสง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี นกั วชิ าการอาวโุ ส สาขาวทิ ยาศาสตรม์ ธั ยมศกึ ษาตอนปลาย สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

178 คณะกรรมการจัดทำ�คูม่ ือครู วทิ ยาศาสตร์ชีวภาพ 10. ดร.ขวัญชนก ศรัทธาสขุ นักวชิ าการ สาขาวทิ ยาศาสตรม์ ธั ยมศึกษาตอนปลาย 11. นางสาวปาณกิ เวยี งชัย สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 12. นางสาวปุณยาพร บริเวธานนั ท์ นักวชิ าการ สาขาวทิ ยาศาสตรม์ ธั ยมศกึ ษาตอนปลาย สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี นกั วชิ าการ สาขาวทิ ยาศาสตรม์ ธั ยมศึกษาตอนปลาย สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะผรู้ ่วมพิจารณาคมู่ อื ครู รายวชิ าพื้นฐานวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 (ฉบบั รา่ ง) 1. รศ.ดร.ก่ิงแก้ว วฒั นเสรมิ กิจ นักวชิ าการอสิ ระ 2. ผศ.เรณู ถาวโรฤทธิ์ นักวชิ าการอสิ ระ 3. นายปราโมทย์ ศรคี งคา โรงเรียนนวมนิ ทราชนิ ูทิศ เตรียมอุดมศึกษาน้อมเกลา้ 4. นายววิ ฒั น์ สุภพทิ ักษก์ ุล กรงุ เทพมหานคร โรงเรยี นบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) กรงุ เทพมหานคร 5. น.ส.จันทร์จริ า รตั นไพบลู ย์ โรงเรยี นปทมุ คงคา กรงุ เทพมหานคร 6. นายปยิ ะ มนี า โรงเรยี นนคิ มวิทยา จ.ระยอง 7. นายชาญชยั ผลอบุ ตั ิ โรงเรยี นเมืองหลงั สวน จ.ชมุ พร 8. นางพนิดา แกว้ มาลา โรงเรยี นเทงิ วทิ ยาคม จ.เชยี งราย 9. น.ส.อังคนางค์ เช้อื เจ็ดตน โรงเรยี นสามัคคีวิทยาคม จ.เชียงราย 10. นายพิเชษฐ์ จันทรผ์ ่อง โรงเรียนอตุ รดิตถ์ จ.อตุ รดติ ถ์ 11. น.ส.สุวดี สาลี โรงเรียนราชสีมาวิทยาลัย จ.นครราชสมี า 12. นางศรีวิมล เสคนุ ด์ โรงเรียนสตรีพทั ลงุ จ.พทั ลุง 13. ดร.สุนัดดา โยมญาติ ผู้ชำ�นาญ สาขาวิทยาศาสตรม์ ัธยมศึกษาตอนปลาย 14. ดร.นนั ทยา อัครอารีย์ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี นกั วชิ าการ สาขาวทิ ยาศาสตรม์ ธั ยมศกึ ษาตอนปลาย สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

วิทยาศาสตรช์ ีวภาพ คณะกรรมการจดั ทำ�คูม่ ือครู 179 15. นางสาววลิ าส รัตนานุกูล นกั วชิ าการ สาขาวิทยาศาสตร์มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 16. ดร.ภัณฑิลา อดุ ร นกั วิชาการ สาขาวทิ ยาศาสตรม์ ัธยมศึกษาตอนปลาย สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี คณะบรรณาธกิ าร 1. ผศ.เรณู ถาวโรฤทธ์ิ นักวิชาการอิสระ 2. รศ.ดร.ธีรพงษ์ บัวบชู า จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั 3. ศ.ดร.ไพศาล สิทธกิ รกลุ ผ้เู ช่ียวชาญพิเศษ 4. ดร.วนิดา ธนประโยชนศ์ กั ด์ิ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผูช้ ว่ ยผู้อำ�นวยการ 5. นายธีรพัฒน์ เวชชประสิทธ์ิ สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผ้อู �ำ นวยการสาขาวิทยาศาสตร์มัธยมศกึ ษาตอนปลาย สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook