Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 6.2 ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์

6.2 ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์

Published by นงเยาว์ บุญริน, 2020-09-13 04:48:09

Description: 6.2 ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์

Search

Read the Text Version

ดลุ ยภาพของผู้ผลิตในตลาดแขง่ ขนั ไมส่ มบูรณ์  ประเภทของตลาดแขง่ ขันไม่สมบรู ณ์  ตลาดผกู ขาด  ตลาดกงึ่ แข่งขันกึ่งผกู ขาด  ตลาดผู้ขายนอ้ ยราย

ประเภทของตลาดแข่งขันไมส่ มบรู ณ์ ตลาดที่มกี ารแข่งขนั ไม่สมบรู ณ์ อาจแบง่ ไดเ้ ป็น 3 ประเภทยอ่ ย คือ 1. ตลาดผูกขาด 2. ตลาดกง่ึ แขง่ ขนั ก่งึ ผูกขาด 3. ตลาดผขู้ ายนอ้ ยราย

ตลาดผกู ขาด  ลักษณะของตลาดผกู ขาด  สาเหตุท่ีทาให้เกิดการผูกขาด  ดลุ ยภาพของหนว่ ยธุรกิจในตลาดผกู ขาด ดุลยภาพระยะสน้ั ดุลยภาพระยะยาว

ตลาดผูกขาด (Monopoly) ลักษณะของตลาดผกู ขาด 1. มผี ้ผู ลิต/ผูข้ ายเพียงรายเดยี ว 2. ไมม่ ีสินค้าอ่นื ท่สี ามารถทดแทนได้ใกล้เคียง 3. ผูผ้ กู ขาดมอี านาจกาหนดราคาและปริมาณขาย 4. สามารถกีดกันไม่ให้มคี ่แู ข่งได้

ตลาดผูกขาด สาเหตทุ ท่ี าใหเ้ กดิ การผกู ขาด 1. ผผู้ ลติ หลายรายรวมตวั กันเป็นบรษิ ทั เดยี ว 2. ไดส้ ิทธิผูกขาดตามกฎหมาย เช่น กิจการสาธารณปู โภค โรงงานยาสูบ 3. ต้องทาการผลิตขนาดใหญแ่ ละลงทนุ สูงมากจงึ จะมปี ระสทิ ธภิ าพ ทาใหไ้ มม่ คี แู่ ขง่ 4. เปน็ เจา้ ของทรัพยากรหรอื วตั ถดุ ิบในการผลติ สาคัญเพยี งผู้เดียว 5. ไดล้ ิขสทิ ธิ์หรอื สทิ ธบิ ัตรจากการคิดคน้ ผูอ้ ่นื ลอกเลียนแบบไมไ่ ด้

ตลาดผกู ขาด ดลุ ยภาพของหนว่ ยธรุ กิจในตลาดผูกขาด คือภาวะที่ผลติ ได้กาไรสงู สุดหรอื ขาดทุนน้อยท่สี ุด โดยผู้ผลติ ตอ้ งกาหนดราคา และปรมิ าณผลติ ณ ระดับที่ รายรับหน่วยสดุ ทา้ ย(MR) = ตน้ ทนุ หนว่ ยสุดทา้ ย (MC) การวเิ คราะห์ดุลยภาพแยกเป็น 2 กรณคี อื 1. ดุลยภาพในระยะสั้น อาจตกอยูใ่ นสถานการณ์ 3 แบบคือ กาไรเกนิ ปกติ กาไรปกติ หรือขาดทุน 2. ดุลยภาพในระยะยาว มีความเปน็ ไปได้สูงท่ีผ้ผู กู ขาดจะได้กาไรเกินปกติ แต่ก็ เปน็ ไปได้ว่าจะกาไรปกตหิ รอื ขาดทนุ

ดลุ ยภาพในระยะส้นั ที่มา :http://e-book.ru.ac.th/ebook_files/EC103/mobile/index.html#p=173 ในตลาดผูกขาดผู้ผลิตจาเป็นต้อง ลดราคาสินค้าลงหากต้องการขายสินค้าให้ ไดม้ ากขึ้น ดังน้นั เส้นอุปสงค์ของผู้ผลิตจะเป็นเส้น เดียวกับเส้นรายรับเฉล่ีย (AR) และมี ลักษณะทอดลงจากซ้ายไปขวา ส่วนเส้น รายรบั หน่วยสุดท้าย (MR) จะทอดลงจาก ซ้ายไปขวาเช่นกัน แต่จะอยใู่ ต้เส้น AR โดย มีค่าความชันเป็น 2 เทา่ ของเสน้ AR

ท่มี า :http://e-book.ru.ac.th/ebook_files/EC103/mobile/index.html#p=174 จากรูป ปริมาณผลิตที่เหมาะสม อยู่ ณ ระดบั ที่ MR = MC ปริมาณ ผลติ ทีเ่ หมาะสมจึง = OQ ณ ระดับการผลติ OQ รายรับเฉลยี่ (AR)=AQ ต้นทนุ เฉลยี่ (AC)=BQ กาไรเฉลย่ี =AB กาไรทงั้ หมด = AB x OQ = พืน้ ทสี่ เ่ี หลยี่ ม PABC

อาจเกดิ จากประสทิ ธิภาพการผลติ ตา่ จากรูป ปริมาณผลิตท่ีเหมาะสม ทาใหต้ น้ ทนุ ต่อหนว่ ยสูงเกนิ ไป อยู่ ณ ระดับท่ี MR = MC ปริมาณ ผลิตท่ีเหมาะสมจึง = OQ ทีม่ า :http://e-book.ru.ac.th/ebook_files/EC103/mobile/index.html#p=174 ณ ระดบั การผลิต OQ รายรบั เฉล่ยี (AR)=AQ ตน้ ทนุ เฉลย่ี (AC)=AQ รายรบั เฉลีย่ = ต้นทนุ เฉล่ยี ดังนั้น กาไร = 0

อาจเกดิ จากประสทิ ธิภาพการผลติ ตา่ จากรูป ปริมาณผลิตท่ีเหมาะสม ทาให้ตน้ ทนุ ต่อหน่วยสงู เกนิ ไป อยู่ ณ ระดับที่ MR = MC ปรมิ าณ ผลิตท่ีเหมาะสมจงึ = OQ ท่มี า :http://e-book.ru.ac.th/ebook_files/EC103/mobile/index.html#p=174 ณ ระดับการผลติ OQ รายรับเฉลย่ี (AR)=AQ ต้นทนุ เฉล่ีย(AC)=BQ ขาดทนุ เฉล่ีย =BA ขาดทุนทงั้ หมด = BA x OQ = พื้นที่สี่เหลยี่ ม PCBA

ดุลยภาพในระยะยาว มีความเป็นไปได้สูงท่ีผู้ผูกขาดจะได้กาไรเกินปกติ แต่ก็เป็นไปได้ท่ีจะได้กาไร ปกตหิ รือขาดทนุ เช่นกัน จากรูป ปริมาณผลิตท่ีเหมาะสมอยู่ ณ ระดับที่ MR=LMC ปริมาณผลิตที่เหมาะสม จงึ = OQ ณ ระดบั การผลิต OQ รายรับเฉล่ยี (AR)=AQ ตน้ ทนุ เฉล่ีย(LAC)=BQ กาไรเฉลี่ย =AB กาไรทงั้ หมด = AB x OQ = พ้นื ท่ีส่เี หล่ียม PABC ทมี่ า :http://e-book.ru.ac.th/ebook_files/EC103/mobile/index.html#p=176

ตลาดกงึ่ แข่งขนั กง่ึ ผูกขาด  ลักษณะของตลาดกงึ่ แขง่ ขันกง่ึ ผูกขาด เส้นอปุ สงค์ตอ่ สินคา้ ของผขู้ ายแตล่ ะรายในตลาดกึ่งแขง่ ขนั ก่งึ ผกู ขาด  ดุลยภาพของหน่วยธรุ กจิ ในตลาดก่งึ แข่งขันกึ่งผกู ขาด ดุลยภาพระยะสนั้ ดลุ ยภาพระยะยาว

ตลาดกง่ึ แข่งขนั กง่ึ ผกู ขาด (Monopolistic Competition) ลักษณะของตลาดก่งึ แข่งขนั กึ่งผกู ขาด 1. มผี ู้ขายจานวนมาก แตล่ ะรายเปน็ เพยี งส่วนย่อยของตลาด 2. สนิ คา้ แตกตา่ งกนั แตใ่ ช้แทนกนั ได้ 3. ไมม่ ีอปุ สรรคกดี กันการเขา้ มาแข่งขัน 4. ผู้ซ้ือและผู้ขายมคี วามรอบร้ใู นภาวะตลาดค่อนขา้ งดี 5. ผขู้ ายบางรายสารถทาให้ผ้บู ริโภคพอใจสนิ ค้าของเขาเปน็ พิเศษ เช่น ด้วยการโฆษณา ทาให้เกดิ อานาจผกู ขาดได้ระดบั หนึง่

เสน้ อปุ สงคต์ ่อสนิ ค้าของผขู้ ายแต่ละรายในตลาดก่งึ แข่งขันกง่ึ ผกู ขาด ลกั ษณะคลา้ ยเสน้ อปุ สงคห์ รอื เสน้ รายรบั เฉล่ยี (AR) และเส้นรายรบั หน่วยสดุ ทา้ ย (MR) ในตลาดผกู ขาด แต่มคี วามลาดมากกวา่ เพราะอุปสงค์ ต่อสนิ คา้ ในตลาดกึ่งแข่งขันกึง่ ผกู ขาด มคี วามยดื หย่นุ ตอ่ ราคามากกวา่ ทม่ี า :http://e-book.ru.ac.th/ebook_files/EC103/mobile/index.html#p=176

ดุลยภาพในระยะสน้ั ผ้ผู ลติ /ขายสนิ คา้ ในตลาดกงึ่ แขง่ ขนั กงึ่ ผกู ขาดอาจอยู่ในสถานการณ์ได้ 3 แบบ คอื 1. กาไรเกนิ ปกติ หากทาการผลิตอย่างมปี ระสทิ ธิภาพและต้นทุนเฉล่ยี ต่า 2. กาไรปกติ 3. ขาดทนุ หากประสิทธภิ าพการผลิตตา่ ทาใหต้ ้นทนุ เฉลี่ยสงู

ท่มี า :http://e-book.ru.ac.th/ebook_files/EC103/mobile/index.html#p=178 จากรูป ปริมาณผลิตที่เหมาะสม อยู่ ณ ระดบั ที่ MR = MC ปริมาณ ผลติ ทีเ่ หมาะสมจึง = OQ ณ ระดับการผลติ OQ รายรับเฉลยี่ (AR)=AQ ต้นทนุ เฉลยี่ (AC)=BQ กาไรเฉลย่ี =AB กาไรทงั้ หมด = AB x OQ = พืน้ ทสี่ เ่ี หลยี่ ม PABC

ท่มี า :http://e-book.ru.ac.th/ebook_files/EC103/mobile/index.html#p=178 จากรูป ปริมาณผลิตที่เหมาะสม อยู่ ณ ระดับท่ี MR = MC ปรมิ าณ ผลิตทเ่ี หมาะสมจึง = OQ ณ ระดบั การผลิต OQ รายรบั เฉลีย่ (AR)=AQ ต้นทุนเฉลี่ย(AC)=AQ รายรับเฉลีย่ = ตน้ ทุนเฉลี่ย ดงั นั้น กาไรทางเศรษฐศาสตร์ = 0 มเี พยี งกาไรปกติเทา่ น้ัน

ท่มี า :http://e-book.ru.ac.th/ebook_files/EC103/mobile/index.html#p=180 จากรูป ปริมาณผลิตที่เหมาะสม อยู่ ณ ระดับท่ี MR = MC ปรมิ าณ ผลติ ทีเ่ หมาะสมจึง = OQ ณ ระดบั การผลิต OQ รายรับเฉลีย่ (AR)=AQ ตน้ ทนุ เฉล่ยี (AC)=BQ ขาดทนุ เฉล่ีย =BA ขาดทนุ ทัง้ หมด = BA x OQ = พ้ืนทส่ี ี่เหล่ยี ม PCBA

ดุลยภาพในระยะยาว หน่วยธุรกิจที่ผลิต/ขายในตลาดก่ึงแข่งขันก่ึงผูกขาดจะมีแต่กาไรปกติเท่าน้ัน เพราะถ้าได้รับ กาไรเกินปกติ จะดงึ ดดู ใจให้มผี เู้ ขา้ มาแข่งขันมากข้นึ ทาให้ราคาและกาไรลดลง จนเหลือแต่กาไรปกติ ในทางกลับกันถ้าหน่วยธุรกิจในตลาดนี้เกิดการขาดทุน ผู้ผลิตบางรายท่ีมีประสิทธิภาพต่า หว่ารายอื่น จะไม่สารถทนการขาดทุนได้และต้องเลิกกิจการไปก่อน ทาให้ผลผลิตในตลาดมีน้อยลง ราคาจึงสงู ขน้ึ การขาดทนุ ลดลงจนหมดไปเหลือแต่กาไรปกติ

ท่มี า :http://e-book.ru.ac.th/ebook_files/EC103/mobile/index.html#p=180 จากรูป ปริมาณผลิตที่เหมาะสม อยู่ ณ ระดับท่ี MR=LMC ปริมาณ ผลติ ที่เหมาะสมจงึ = OQ ณ ระดบั การผลิต OQ รายรับเฉลยี่ (AR)=AQ ตน้ ทุนเฉล่ีย(LAC)=AQ รายรบั เฉลีย่ = ต้นทุนเฉล่ีย ดงั นั้น กาไรทางเศรษฐศาสตร์ = 0 มีเพยี งกาไรปกติเท่าน้ัน

ตลาดผ้ขู ายน้อยราย  ลกั ษณะของตลาดผูข้ ายน้อยราย เสน้ อุปสงค์หรอื เส้นรายรบั เฉล่ียของตลาดผ้ขู ายน้อยราย สาเหตุที่เสน้ อปุ สงค์หกั มุม เสน้ MR ในตลาดผขู้ ายน้อยราย  ดลุ ยภาพของหนว่ ยธุรกิจในตลาดผขู้ ายน้อยราย  พฤตกิ รรมการกาหนดราคาตลาด

ตลาดผขู้ ายนอ้ ยราย (Oligopoly) ลกั ษณะของตลาดผูข้ ายน้อยราย 1. มีผขู้ ายจานวนน้อย 2. สนิ คา้ แตกต่างกนั แต่ใช้ทดแทนกันได้ดี 3. กดี กนั ไม่ให้มีผู้เขา้ มาแขง่ ขนั ได้ 4. มักแข่งขันกนั ในดา้ นอน่ื มากกว่าด้านราคา เช่นแข่งขันดา้ นโฆษณา ด้าน คณุ ภาพ ดา้ นบรกิ าร

ตลาดผู้ขายน้อยราย (Oligopoly) เสน้ อุปสงค์ หรือ เส้นรายรบั เฉลีย่ (AR) ตลาดผขู้ ายนอ้ ยรายเสน้ อุปสงค์ จะมีลกั ษณะเปน็ เสน้ อุปสงคห์ ักมมุ โดย จะหกั มมุ ณ ราคาตลาดขณะน้นั ทม่ี า :http://e-book.ru.ac.th/ebook_files/EC103/mobile/index.html#p=182

ตลาดผูข้ ายน้อยราย (Oligopoly) สาเหตุทีเ่ ส้นอปุ สงคห์ ักมมุ จากรูป ถ้าธุรกจิ ขน้ึ ราคาจาก OP เอปย็น่างOมPาก1 จจาะกทาOใQหป้ เปรมิ น็ าณOQขา1ยลดลง หากผู้ผลติ รายใดข้นึ ราคาสูงกว่า ราคาตลาด คู่แข่งขนั รายอ่นื จะไม่ขึน้ ราคาตาม จึงทาให้ปริมาณขายของผู้ผลติ ที่ข้นึ ราคาลดลง ทมี่ า :http://e-book.ru.ac.th/ebook_files/EC103/mobile/index.html#p=182

ตลาดผู้ขายน้อยราย (Oligopoly) สาเหตุท่ีเส้นอุปสงค์หกั มมุ ท่มี า :http://e-book.ru.ac.th/ebook_files/EC103/mobile/index.html#p=182 จากรูป ถ้าธรุ กจิ ลดราคาจาก OP เเปล็ก็นนOอ้ Pย2จาจกะทOาQใหเ้ปปรน็ มิ าOณQข2ายเพ่ิมขนึ้ หากผผู้ ลิตรายใดลดราคา คแู่ ข่งขัน รายอน่ื จะลดราคาตาม จงึ ทาให้ปรมิ าณขาย ของผู้ผลติ ที่ลดราคาลงเพ่ิมขน้ึ เลก็ นอ้ ยแต่ รายรับรวมลดลง จงึ ไม่มผี ขู้ ายรายใดลด ราคาตา่ กว่าราคาตลาด

ตลาดผู้ขายนอ้ ยราย (Oligopoly) เส้น MR ในตลาดผขู้ ายน้อยราย ผลจากการทเ่ี สน้ รายรบั เฉลยี่ (AR) เปน็ เสน้ หกั มุม ณ ราคาตลาด ทา ใหเ้ สน้ รายรับหน่วยสดุ ทา้ ย (MR) จะขาด ตอนตรงชว่ งหักมุมนั้น ทีม่ า :http://e-book.ru.ac.th/ebook_files/EC103/mobile/index.html#p=184

ตลาดผขู้ ายน้อยราย (Oligopoly) ดุลยภาพในตลาดผู้ขายน้อยราย เง่ือนไขท่จี ะทาใหห้ นว่ ยธรุ กจิ ในตลาดผขู้ ายนอ้ ยรายอยใู่ นภาวะดุลยภาพ คือ จะตอ้ ง ทาการผลิต ณ ระดับทตี่ น้ ทนุ หนว่ ยสุดท้าย (MC) เทา่ กบั รายรบั หนว่ ยสดุ ท้าย (MR) และเนื่องจากหน่วยธรุ กจิ จะกาหนดราคาไม่แตกต่างไปจากราคาตลาดในขณะนัน้ MC จงึ ต้องเท่ากับ MR ตรงชว่ งที่ MR ขาดตอนเสมอ ซงึ่ จะทาให้ราคา (ดจู าก AR) อย่ทู ่รี าคา ตลาดขณะนัน้ พอดี แมว้ ่ากิจการท่ที าการผลิตในตลาดนมี้ ักมีแนวโนม้ ทจ่ี ะไดก้ าไรเกนิ ปกติ แต่ก็เป็นไปได้ ทจี่ ะมีกาไรปกติหรืออาจขาดทุนได้

ท่มี า :http://e-book.ru.ac.th/ebook_files/EC103/mobile/index.html#p=184 จากรูป ปริมาณผลิตที่เหมาะสม อยู่ ณ ระดบั ที่ MR = MC ปริมาณ ผลติ ทีเ่ หมาะสมจึง = OQ ณ ระดับการผลติ OQ รายรับเฉลยี่ (AR)=AQ ต้นทนุ เฉลยี่ (AC)=BQ กาไรเฉลย่ี =AB กาไรทงั้ หมด = AB x OQ = พืน้ ทสี่ เ่ี หลยี่ ม PABC

ท่มี า :http://e-book.ru.ac.th/ebook_files/EC103/mobile/index.html#p=184 จากรูป ปริมาณผลิตที่เหมาะสม อยู่ ณ ระดับท่ี MR = MC ปรมิ าณ ผลิตทเ่ี หมาะสมจึง = OQ ณ ระดบั การผลิต OQ รายรบั เฉลีย่ (AR)=AQ ต้นทุนเฉลี่ย(AC)=AQ รายรับเฉลีย่ = ตน้ ทุนเฉลี่ย ดงั นั้น กาไรทางเศรษฐศาสตร์ = 0 มเี พยี งกาไรปกติเทา่ น้ัน

ท่มี า :http://e-book.ru.ac.th/ebook_files/EC103/mobile/index.html#p=186 จากรูป ปริมาณผลิตที่เหมาะสม อยู่ ณ ระดับท่ี MR = MC ปรมิ าณ ผลติ ทีเ่ หมาะสมจึง = OQ ณ ระดบั การผลิต OQ รายรับเฉลีย่ (AR)=AQ ตน้ ทนุ เฉล่ยี (AC)=BQ ขาดทนุ เฉล่ีย =BA ขาดทนุ ทัง้ หมด = BA x OQ = พ้ืนทส่ี ี่เหล่ยี ม PCBA

ตลาดผขู้ ายน้อยราย (Oligopoly) พฤตกิ รรมการกาหนดราคาตลาด ในตลาดทีม่ ีผู้ขายนอ้ ยรายจะไมน่ ยิ มแข่งขนั กนั ด้านราคา แต่มักใช้วธิ ตี ่อไปน้ี ในการกาหนดราคา 1. ถา้ หนว่ ยธรุ กจิ มขี นาดใกลเ้ คียงกนั มกั ใชว้ ิธีรวมหัวกันตกลงราคาหรือ รวมหวั กันผูกขาด และจากัดปรมิ าณผลิตด้วย เพือ่ ให้ราคาอยู่ในระดับสูงได้ 2. ถ้าหน่วยธรุ กจิ บางรายมขี นาดใหญก่ ว่า หรอื ส่วนแบง่ ตลาดมากกวา่ ราย อ่นื มกั ใชว้ ิธีการตัง้ ราคาตามผ้นู า


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook