Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 5.2รายรับ ต้นทุน กำไร

5.2รายรับ ต้นทุน กำไร

Published by นงเยาว์ บุญริน, 2021-07-26 12:49:33

Description: 5.2รายรับ ต้นทุน กำไร

Search

Read the Text Version

รายรบั ต้นทนุ กาไร รายรบั ต้นทนุ กาไร

รายรบั รายรับ (Revenue) หมายถึง ผลตอบแทนทธ่ี ุรกิจได้รบั จากการขายผลผลิตตามราคาตลาด รายรบั แบง่ ได้เปน็ 3 ประเภท คือ 1. รายรบั รวม (Total Revenue หรือ TR) คานวณได้จาก ปรมิ าณขาย(Q) คณู ดว้ ยราคา สินค้า (P) 2. รายรบั เฉลี่ย (Average Revenue หรือ AR) คิดเฉล่ยี ตอ่ 1 หน่วยสนิ คา้ ที่ขายได้ คานวณไดจ้ าก รายรบั รวม (TR) หารดว้ ยปริมาณขายสนิ คา้ (Q)

รายรบั 3. รายรับหนว่ ยสุดท้าย หรือรายรบั เพิ่ม (Marginal Revenue หรือ MR) หมายถึง รายรับท่ีเพ่ิมขน้ึ หรอื ลดลง เมือ่ เพิ่มปริมาณการขายขนึ้ หรือลดลง 1 หนว่ ย คานวณไดจ้ าก สว่ นเปลย่ี นแปลงของรายรับ รวม (∆TR) หารดว้ ย สว่ นเปลยี่ นแปลงของปริมาณผลติ หรือขายสนิ ค้า (∆Q) MR = ∆TR ∆Q

รายรบั ในตลาดทมี่ กี ารแข่งขันสมบูรณ์ ตลาดท่ีมีการแขง่ ขนั สมบรู ณ์ ราคาสนิ คา้ ถกู กาหนดโดยตลาด ราคาจึงคงท่ี เสน้ TR จะเปน็ เสน้ ตรงทอดขนึ้ จากซา้ ยไปขวาและเร่ิมตน้ ท่ี 0 หมายความวา่ เมอ่ื ไมม่ ีผลผลติ TR เท่ากบั 0 และเม่อื ผลผลิตมากขน้ึ TR ก็มากขึ้นตามลาดบั เส้น AR และเสน้ MR จะเปน็ เสน้ เดยี วกนั มคี า่ เทา่ กับราคาของสนิ คา้ เป็นเสน้ ตรงขนานกบั แกนปริมาณผลผลติ ท่ีมา : http://e-book.ru.ac.th/ebook_files/EC103/mobile/index.html#p=140

รายรับในตลาดผูกขาดและตลาดกึ่งแข่งขนั กึ่งผกู ขาด ตลาดน้ีราคาสินค้าจะไม่คงท่ี เนื่องจากต้องลดราคาสินค้า ถ้าต้องการขายผลผลิตให้ ได้มากข้นึ เส้น TR จะเป็นเสน้ โค้งคลายรปู ระฆงั ควา่ เสน้ AR และเสน้ MR ไมใ่ ชเ่ ส้นเดียวกัน จะทอดลงจากซ้ายไปขวาเหมือนกัน แต่ค่า MR จะน้อยกว่า AR เสมอ และเส้น MR จะมี ความชนั เป็น 2 เท่า ของเสน้ AR

ท่มี า : http://e-book.ru.ac.th/ebook_files/EC103/mobile/index.html#p=142 จ า ก ต า ร า ง จ ะ เ ห็ น ว่ า เ ม่ื อ ต้องการขายให้ได้มากข้ึน ธุรกิจจะต้อง ลดราคาสินค้าลงตามลาดับ ทาให้ TR เพ่ิมข้ึนถงึ ระดับหนึ่ง และเริ่มลดลง ส่วน AR และ MR ลดลงโดยตลอด โดยท่ี MR ลดลงเรว็ กว่า AR เมื่อนาตัวเลขไปเขียนเป็นกราฟ จะได้ดังน้ี

ท่มี า : http://e-book.ru.ac.th/ebook_files/EC103/mobile/index.html#p=142

ตน้ ทนุ ต้นทุน (Cost) หมายถงึ ค่าใชจ้ ่ายทเ่ี กดิ ขึ้น เนอ่ื งจากการผลติ สนิ ค้า/บรกิ าร ของ หนว่ ยธุรกิจ ในทางเศรษฐศาสตร์ ค่าใช้จ่ายทร่ี วมอยใู่ นต้นทุน จะมีทงั้ คา่ ใชจ้ า่ ยทจี่ ่ายจริงและ คา่ ใช้จา่ ยทถ่ี ึงแม้จะไมไ่ ด้จ่ายจริงแตก่ ็ตอ้ งประเมินขึ้นเปน็ ต้นทนุ ดว้ ย เพราะถอื วา่ ทาให้เกดิ ต้นทุนคา่ เสยี โอกาส ต้นทนุ ค่าเสยี โอกาส (Opportunity Cost) หมายถึง ผลตอบแทนสงู สุดทจี่ ะได้รับ จากทางเลอื กอน่ื ในการใชป้ จั จยั การผลติ (แต่ไมไ่ ดร้ บั เพราะไมไ่ ด้เลือกทางเลือกน้นั ) ตวั อยา่ งเช่น

นายเศรษฐ์ มที างเลอื ก 3 ทาง คือ 1. ทางานบริษัท รายไดเ้ ดอื นละ 10,000 บาท 2. ทางานธนาคาร รายไดเ้ ดอื นละ 9,000 บาท 3. รบั ราชการ รายได้เดือนละ 8,000 บาท ถา้ นายเศรษฐ์เลือกทางเลอื กท่ี 1 ต้นทุนค่าเสียโอกาสจะเท่ากบั 9,000 บาท ถา้ นายเศรษฐ์เลือกทางเลือกท่ี 2 หรอื 3 ตน้ ทุนค่าเสยี โอกาสจะเทา่ กับ 10,000 บาท นางสนิ ทางานเป็นเภสัชกรในโรงพยาบาลรายได้เดอื นละ 25,000 บาท ตอ่ มาไดล้ าออกมาเปดิ ร้านขาย ยาของต้นเอง ต้นทุนคา่ เสียโอกาสเทา่ กับ 25,000 บาท โดยท่ัวไปมกั เรียกค่าใชจ้ ่ายที่จา่ ยจรงิ วา่ “ตน้ ทนุ ทางบญั ชี” ดงั นนั้ จึงอาจสรุปไดว้ ่า ต้นทนุ ทางเศรษฐศาสตร์ = ตน้ ทนุ ทางบญั ชี + ต้นทุนคา่ เสยี โอกาส

ประเภทของตน้ ทุน จาแนกเป็น ตน้ ทนุ ในระยะสนั้ และ ตน้ ทุนในระยะยาว ต้นทุนในระยะสัน้ (Short-run Cost) แบง่ ได้เปน็ 3 ประเภทใหญ่ ๆ คอื 1. ต้นทุนรวม (Total Cost หรือ TC) หมายถงึ คา่ ใชจ้ ่ายท้ังหมดของหนว่ ยธรุ กจิ ในการผลิต สนิ คา้ /บริการ แยกไดเ้ ปน็ 2 ประเภท คอื ต้นทนุ คงท่รี วม (Total Fixed Cost หรอื TFC) คอื ตน้ ทุนทไี่ ม่เปลยี่ นแปลงตาม ปริมาณผลติ เช่น ท่ีดนิ เครอื่ งจักร ต้นทนุ ผันแปรรวม (Total Variable Cost หรือ TVC) คือ ต้นทนุ ทเี่ ปลีย่ นแปลงตาม ปริมาณผลติ เชน่ ค่าวตั ถุดิบ ค่าแรงงาน ดงั นน้ั ในระยะสนั้ TC = TFC + TVC

2. ตน้ ทนุ เฉลี่ย (Averae Cost หรือ AC) หมายถงึ ตน้ ทุนทัง้ หมดคิดเฉลยี่ ต่อผลผลติ 1 หนว่ ย คานวณไดจ้ าก ตน้ ทุนรวม (TC) หารดว้ ย ปรมิ าณผลิต (Q) AC = TC/Q ตน้ ทนุ เฉลี่ยระยะสน้ั แบง่ ได้ 2 ประเภทคอื ต้นทุนคงทเ่ี ฉล่ยี (Average Fixed Cost หรือ AFC) หมายถึง ต้นทุนคงท่ที งั้ หมดคดิ เฉลย่ี ตอ่ ผลผลติ 1 หนว่ ย คานวณไดจ้ าก ต้นทุนคงท่รี วม (TFC) หารด้วยปรมิ าณผลติ (Q) AFC = TFC/Q ต้นทนุ ผนั แปรเฉล่ยี (Average Variable Cost หรอื AVC) หมายถึง ตน้ ทนุ ผันแปรทัง้ หมด คดิ เฉลยี่ ตอ่ ผลผลติ 1 หน่วย คานวณได้จาก ตน้ ทุนผนั แปรรวม (TVC) หารด้วยปริมาณผลิต (Q) AVC = TVC/Q ดังน้นั ในระยะส้ัน AC = AFC + AVC

3. ต้นทนุ หนว่ ยสุดทา้ ย หรอื ตน้ ทนุ เพม่ิ (Marginal Cost หรอื MC) หมายถึงต้นทนุ ที่ เพม่ิ ขนึ้ หรือลดลง เม่ือเพ่ิมหรอื ลดปริมาณการผลติ หรือขายสนิ คา้ 1 หนว่ ย ต้นทนุ หนว่ ยสุดท้ายคานวณได้จาก สว่ นเปล่ียนแปลงของต้นทนุ รวม (∆TC) หารด้วย ส่วนเปลีย่ นแปลงของปรมิ าณผลติ /ขาย (∆Q) เน่ืองจากตน้ ทุนรวมท่เี ปลย่ี นแปลงนนั้ เปลย่ี นได้เฉพาะส่วนท่ีเปน็ ต้นทุนผนั แปรเทา่ นั้น ดงั น้ัน ตน้ ทุนหน่วยสดุ ท้ายจงึ อาจคานวณไดจ้ าก สว่ นเปลี่ยนแปลงของต้นทุนผันแปรรวม (∆TVC) หารด้วย ส่วนเปล่ียนแปลงของปรมิ าณผลติ /ขายสนิ ค้า (∆Q) MC = ∆TVC ∆Q

ลกั ษณะของเสน้ ตน้ ทุนประเภทตา่ ง ๆ ในระยะสนั้ ท่ีมา : http://e-book.ru.ac.th/ebook_files/EC103/mobile/index.html#p=147 เส้น TFC เปน็ เส้นตรงขนานกบั แกนนอน ส่วนเส้น TVC เร่ิมตน้ ท่ีจุด origin ของกราฟ แสดงวา่ ถา้ ไม่ผลิตเลยจะเสยี ต้นทุนแปรผัน = 0 เส้น TC จะขนานกบั เส้น TVC โดยมีระยะหา่ งเท่ากบั TFC

ท่มี า : http://e-book.ru.ac.th/ebook_files/EC103/mobile/index.html#p=149 เสน้ AC และเส้น AVC มีลักษณะเป็นรูปตัว U ลดลงในตอนแรก แต่พอถึงจุดหนึ่งก็จะ เพิ่มขึ้น ซ่ึงเป็นไปตามกฎการลดน้อยถอยลง ของผลตอบแทน ท่ีช่วงแรกประสิทธิภาพการ ผลติ สงู ต้นทุน AC และ AVC จึงลดลง แต่เม่ือ ประสิทธิภาพการผลิตเริ่มลดลง ทาให้ต้นทุน AC และ AVC กลับสูงข้ึน ระยะห่างระหว่าง AC และ AVC จะเทา่ กบั AFC เส้น MC จะสัมพันธ์กับเส้น AC และเส้น AVC โดยเส้น MC จะตัดที่จุดต่าสุดของเส้นทั้ง สองเสมอ

เส้น AFC จะมคี า่ ลดลงเรอ่ื ย ๆ เส้นจึงมี ลักษณะลาดลงจากซา้ ยไปขวา ท่มี า : http://e-book.ru.ac.th/ebook_files/EC103/mobile/index.html#p=149

ต้นทนุ ในระยะยาว (Long-run Cost) แบ่งไดเ้ ป็น 3 ประเภท คือ 1. ต้นทุนรวมระยะยาว (Long-run Total Cost หรอื LTC) หมายถงึ รายจา่ ยท้ังหมด จากการทาการผลิตของหนว่ ยธุรกจิ ในระยะยาว เน่อื งจากการผลติ ระยะยาวมีแตป่ จั จยั ผันแปร ทาใหต้ ้นทุนรวมกบั ต้นทนุ ผนั แปรรวมมีคา่ เท่ากัน 2. ตน้ ทุนเฉลี่ยระยะยาว (Long-run Average Cost หรอื LAC) หมายถึง ต้นทุน ทง้ั หมดในระยะยาว คดิ เฉลยี่ ต่อ 1 หนว่ ยผลผลิต คานวณไดจ้ าก ต้นทุนรวมระยะยาว (LTC) หารดว้ ยปรมิ าณผลลติ (Q) LAC = LTC Q

3. ต้นทุนหน่วยสดุ ท้ายหรอื ต้นทนุ เพิม่ ในระยะยาว (Long-run Marginal Cost หรอื LMC) หมายถงึ ตน้ ทุนรวมระยะยาวที่เพ่ิมขนึ้ (ลดลง) เม่ือเพ่ิม(ลด)ปรมิ าณผลิต/ขายสนิ คา้ 1 หน่วย คานวณไดจ้ าก สว่ นเปล่ยี นแปลงของตน้ ทนุ รวมระยะยาว(∆LTC) หารดว้ ย สว่ น เปลี่ยนแปลงของปรมิ าณผลิต/ขายสินคา้ (∆Q) LMC = ∆LTC ∆Q

ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งตน้ ทุนเฉลยี่ ระยะส้ันกบั ต้นทุนเฉลย่ี ระยะยาว สมมติให้ทาการผลิตสินค้าชนิดหนึ่งด้วยขนาดโรงงาน (จานวนเครอ่ื งจกั ร) แตกตา่ งกันตามตาราง ต่อไปนี้ ท่ีมา : http://e-book.ru.ac.th/ebook_files/EC103/mobile/index.html#p=151 แต่ละขนาดโรงงานหมายถงึ การผลติ ระยะสน้ั ระยะหน่ึง ซึง่ มปี ัจจยั คงท่ี คอื เครอ่ื งจกั ร จานวนไม่ เปล่ยี นแปลง เชน่ โรงงาน A 1 เคร่อื ง, โรงงาน B 2 เครือ่ ง

จากตาราง นามาสรา้ งเปน็ กราฟแสดงเสน้ ตน้ ทุนเฉลี่ยระยะส้นั ได้ดังน้ี เสน้ SAC1= ตน้ ทนุ เฉลี่ยระยะสนั้ เมอ่ื ผลิตโดยโรงงานขนาด A เสน้ SAC2= ต้นทนุ เฉลยี่ ระยะสนั้ เมื่อผลติ โดยโรงงานขนาด B เสน้ SAC3= ต้นทนุ เฉล่ียระยะสน้ั เมื่อผลติ โดยโรงงานขนาด C เส้น SAC4= ต้นทนุ เฉล่ียระยะสน้ั เมื่อผลิตโดยโรงงานขนาด D ท่มี า : http://e-book.ru.ac.th/ebook_files/EC103/mobile/index.html#p=151

ในระยะส้ัน ธรุ กิจไมส่ ามารถขยายขนาดการผลิตโดยเพม่ิ เครื่องจักรและขยายขนาดโรงงาน ได้ แต่สามารถทาได้ในระยะยาว แต่ละขนาดโรงงานจะแสดงเส้นตน้ ทุนเฉลย่ี ในระยะส้ัน คอื SAC1-SAC4 และจุดต่าสดุ ของ เส้นต้นทุนเฉลยี่ ระยะส้ัน(ระดับการผลติ ทต่ี ้นทุนเฉล่ยี ต่าสุด) คอื 1,000 – 4,000 ตนั สมมตหิ นว่ ยธุรกจิ เร่มิ ทาการผลติ ดว้ ยโรงงานขนาด A และขยายการผลติ ไปเรื่อย ๆ จนถงึ ระดบั การผลิต 1,000 ตัน(จุดทตี่ ้นทนุ เฉลีย่ ต่าสดุ ) ถ้าธรุ กจิ ยงั ขยายการผลติ ต่อไปคือผลติ เกิน 1,000 ตัน แต่นอ้ ยกว่า Q ตัน ธุรกจิ ยงั ควรผลิตด้วยโรงงาน A เพราะถงึ แมต้ น้ ทนุ เฉล่ียจะไมต่ ่าสดุ แต่ก็น้อย กวา่ การขยายการผลติ เปน็ โรงงาน B แตถ่ ้าขยายการผลิตตงั้ แต่ Q ตัน ข้นึ ไป ควรขยายขนาดโรงงาน มาเป็น โรงงาน B เพราะต้นทนุ เฉลยี่ ระยะส้ัน จะต่ากวา่ ผลติ ดว้ ยโรงงาน A

จากกราฟแสดงเส้นต้นทุนเฉลยี่ ระยะสัน้ (SAC1-SAC4) ของการขยายขนาดการผลิตโรงงาน A B C และ D นนั้ สามารถแสดงเป็นเส้นต้นทุนเฉลย่ี ระยะยาว (LAC) ไดด้ ังนี้ ท่มี า : http://e-book.ru.ac.th/ebook_files/EC103/mobile/index.html#p=153 เสน้ LAC ลาดลงในชว่ งแรกแสดงถงึ ต้นทนุ เฉลีย่ ที่ลดลงเมอ่ื ขยายขนาดการผลติ เส้น LAC ทอดข้นึ ในชว่ ง หลัง แสดงให้เห็นวา่ ถา้ ยงั ขยายขนาดการผลิตเรอ่ื ย ๆ แล้วในทีส่ ดุ จะเกดิ การไม่ประหยัดเนื่องจากการขยายขนาดการ ผลิต การผลติ อย่ใู นระยะที่ผลตอบแทนลดลง ตน้ ทนุ เฉลี่ยในระยะยาวจึงสงู ขึ้น

กาไรและขาดทนุ กาไร (Profit)และขาดทุน (Loss) คอื ผลตา่ งระหวา่ งรายรับรวมกับตน้ ทนุ รวม ถา้ รายรบั รวมมากกว่าตน้ ทนุ รวม ธรุ กิจจะมีกาไร แต่ถ้ารายรบั รวมนอ้ ยกว่าตน้ ทนุ รวมธุรกิจจะ เกิดการขาดทนุ เงอ่ื นไขที่จะทาใหไ้ ด้กาไรสงู สดุ 1. กาไรสงู สุดจะเกิดขน้ึ เมอื่ รายรับรวมมคี ่าสงู กวา่ ตน้ ทนุ รวมมากที่สดุ 2. กาไรสงู สุดจะเกดิ ข้นึ เมื่อทาการผลติ ณ ระดบั ทีร่ ายรบั หนว่ ยสดุ ทา้ ย(MR) เท่ากบั ตน้ ทนุ หนว่ ยสุดท้าย (MC)

1. กาไรสงู สุดจะเกดิ ข้นึ เมอื่ รายรรับรวมมีคา่ สูงกว่าตน้ ทนุ รวมมากท่สี ุด ท่มี า : http://e-book.ru.ac.th/ebook_files/EC103/mobile/index.html#p=153 ท่มี า : http://e-book.ru.ac.th/ebook_files/EC103/mobile/index.html#p=154

2. กาไรสงู สุดจะเกดิ ขึน้ เมอ่ื ทาการผลติ ณ ระดับท่ีรายรับหน่วยสุดท้าย(MR) เทา่ กับ ต้นทนุ หน่วยสดุ ทา้ ย (MC) เม่ือหน่วยธรุ กจิ จะผลติ สนิ ค้าเพิ่มข้ึนในแต่ละหน่วย จะตอ้ งเปรียบเทยี บระหวา่ งรายรับท่ี เพิ่มข้นึ จากการผลติ สินค้าเพิ่มขึ้น 1 หนว่ ย(MR) กบั ตน้ ทุนที่เพิม่ ขึ้นจากการผลิตสนิ คา้ เพิ่มขน้ึ 1 หนว่ ย (MC) ตราบใดท่ีหน่วยธุรกจิ ผลติ สนิ ค้าแลว้ MR มากกวา่ MC ก็คุม้ ค่าท่จี ะผลิตตอ่ แตเ่ นอ่ื งจาก MR มีแนวโน้มลดลงเรอื่ ย ๆ และ MC ลดลงในชว่ งแรกและเพ่ิมข้นึ ในช่วงหลัง ในท่สี ดุ MR จะเทา่ กบั MC ณ จดุ นีธ้ รุ กิจจะหยุดทาการผลติ เพราะถ้าผลติ ตอ่ MR จะลดลงอกี ในขณะท่ี MC เพ่ิมขึ้นเรื่อย ๆ รายรับ น้อยกวา่ ตน้ ทุน ไมค่ มุ้ คา่ ท่ีจะผลิตต่อ ตามหลักการน้ี ดุลยภาพของหน่วยธรุ กิจจะเกิดขึน้ เม่อื ทาการลิต ณ ระดับที่ MR = MC เสมอ

ดงั น้นั กาไรสงู สุด ณ ระดับการผลติ ที่ MR = MC ที่มา : http://e-book.ru.ac.th/ebook_files/EC103/mobile/index.html#p=154 ท่มี า : http://e-book.ru.ac.th/ebook_files/EC103/mobile/index.html#p=156


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook