ตลาดทีม่ กี ารแขง่ ขนั โดยสมบูรณ์ ☺ความหมายของตลาด ☺ลกั ษณะของตลาดทีม่ ีการแข่งขันโดยสมบรู ณ์ ☺การกาหนดราคาและปรมิ าณผลติ ของกจิ การในตลาดแข่งขันสมบรู ณ์ ☺เงื่อนไขดุลยภาพของผผู้ ลติ ☺ดลุ ยภาพระยะส้ัน ☺ดุลยภาพระยะยาว ☺การปรบั ตวั เข้าสภู่ าวะกาไรปกตใิ นระยะยาว
ความหมายของตลาด ตลาดทางเศรษฐศาสตร์ หมายถึง สภาวะท่ีมีการตกลงซื้อขายเกิดขนึ้ โดยไมจ่ าเปน็ ต้อง มีสถานทซ่ี อื้ ขาย และไมต่ อ้ งเหน็ สนิ ค้าทีจ่ ะซอ้ื ขายกไ็ ด้ ตลาดในทางเศรษฐศาสตร์ แบง่ ออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ 1. ตลาดทม่ี กี ารแข่งขันโดยสมบรู ณ์ 2. ตลาดทมี่ ีการแข่งขนั ไม่สมบรู ณ์
ลักษณะของตลาดท่มี กี ารแข่งขันโดยสมบูรณ์ 1. มีผซู้ ้ือและผขู้ ายจานวนมาก แต่ละรายเปน็ เพียงส่วนย่อยของตลาด จงึ ไม่มีผใู้ ดมี อิทธพิ ลกาหนดราคาได้ 2. สนิ ค้ามีลกั ษณะเหมือนกันทุกประการ ซ่ึงหมายความวา่ สินคา้ ของผขู้ ายแตล่ ะรายไม่ ตา่ งกนั ในสายตาผูบ้ รโิ ภค 3. การเขา้ และออกจากตลาดเป็นไปโดยเสรี และการโยกยา้ ยปจั จยั การผลติ เป็นไปโดย เสรี 4. ผู้ซ้อื และผขู้ าย มคี วามรอบร้ใู นสถานการณต์ ลาดโดยสมบูรณ์
การกาหนดราคาและปริมาณผลติ ของกจิ การในตลาดแขง่ ขันสมบรู ณ์ หนว่ ยธุรกจิ แตล่ ะกิจการในตลาดที่มีการแขง่ ขนั โดยสมบรู ณ์ จะต้องขายสนิ คา้ ณ ราคาทถ่ี ูกกาหนดโดยตลาด (อปุ สงคแ์ ละอปุ ทานของตลาดกาหนดราคา) เพราะไมม่ ี ผูข้ ายรายใดมอี ิทธพิ ลในการกาหนดราคาได้ จากตัวอย่าง อุปสงคแ์ ละอุปทานของตลาด กาหนดราคาไว้ทีห่ น่วยละ 5 บาท เสน้ อุปสงค์ของตลาดจะเป็นเสน้ ทอดลงจากซา้ ยไปขวา แตเ่ สน้ อุปสงค์ของผู้ขาย แต่ละรายจะเปน็ เส้นขนานแกนนอน ณ ราคาท่ถี ูกกาหนดโดยตลาด เส้นรายรบั เฉล่ยี (AR) และเส้นรายรบั หนว่ ยสดุ ทา้ ย(MR) จะเป็นเสน้ ขนานแกน นอน ณ ราคาทถี่ กู กาหนดโดยตลาด
การกาหนดราคาและปรมิ าณผลิตของกจิ การในตลาดแขง่ ขนั สมบรู ณ์ ท่มี า :http://e-book.ru.ac.th/ebook_files/EC103/mobile/index.html#p=160
การกาหนดราคาและปรมิ าณผลิตของกจิ การในตลาดแขง่ ขนั สมบรู ณ์ ท่มี า :http://e-book.ru.ac.th/ebook_files/EC103/mobile/index.html#p=162
เงื่อนไขดลุ ยภาพของผ้ผู ลิต ดลุ ยภาพของผู้ผลติ หมายถึง ภาวะท่ีผู้ผลติ ไดก้ าไรสงู สดุ (หรือขาดทนุ น้อย ทส่ี ุด) เงื่อนไขทีจ่ ะทาใหผ้ ผู้ ลิตอย่ใู นภาวะดุลยภาพ ก็คือ ผผู้ ลติ ต้องกาหนดราคาและ ปรมิ าณผลิต ณ ระดับท่ี รายรับหนว่ ยสดุ ทา้ ย (MR) = ตน้ ทุนหน่วยสดุ ท้าย (MC) การวิเคราะห์ดุลยภาพของผู้ผลติ จะแบง่ การศกึ ษาเป็น 2 กรณี คือ กรณีดุลยภาพระยะสัน้ กรณดี ลุ ยภาพระยะยาว
ดลุ ยภาพในระยะสนั้ อาจตกอย่ใู นสถานการณ์ 3 แบบ คอื 1. ได้กาไรเกนิ ปกติ (Excess Profit) 2. ไดก้ าไรปกติ (Normal Profit) 3. ขาดทุน (Loss)
1. กรณไี ด้กาไรเกนิ ปกติ คอื การท่รี ายรบั รวม(TR) สงู กว่า ต้นทนุ รวม (TC) ทา ให้กาไร มคี ่ามากกว่าศนู ย์ จากรปู ปริมาณผลผลิตที่เหมาะสมทส่ี ดุ ณ ระดับท่ี MR=MC คือ OQ ที่มา :http://e-book.ru.ac.th/ebook_files/EC103/mobile/index.html#p=162 ที่ระดบั การผลิต OQ รายรบั เฉล่ยี (AR) = AQ ต้นทนุ เฉลี่ย (AC) = BQ กาไรเฉลี่ย = AB กาไรทัง้ หมด = AB x OQ = พน้ื ที่ส่เี หลีย่ ม PABC
2. กรณไี ด้กาไรปกติ คือ การทร่ี ายรับรวม(TR) เท่ากับ ตน้ ทนุ รวม (TC) ทาให้กาไรทาง เศรษฐศาสตรเ์ ท่ากับศูนย์ แตย่ ังคงได้กาไรทางบัญชี ซง่ึ เทา่ กบั ตน้ ทนุ ค่าเสยี โอกาสพอดี จากรปู ปรมิ าณผลผลติ ท่เี หมาะสมที่สดุ ณ ระดับที่ MR=MC คือ OQ ท่รี ะดับการผลติ OQ รายรบั เฉลย่ี (AR) = AQ ต้นทนุ เฉลี่ย (AC) = AQ กาไรเฉลี่ย = 0 ผ้ผู ลิตมีเพียงกาไรปกติ ท่ีมา :http://e-book.ru.ac.th/ebook_files/EC103/mobile/index.html#p=165
3. กรณขี าดทนุ คอื การที่รายรบั รวม(TR) มีคา่ น้อยกว่า ต้นทุนรวม (TC) จากรูป ปริมาณผลผลิตท่เี หมาะสมทส่ี ุด ณ ระดบั ที่ MR=MC คือ OQ ทม่ี า :http://e-book.ru.ac.th/ebook_files/EC103/mobile/index.html#p=165 ท่ีระดับการผลิต OQ รายรับเฉลยี่ (AR) = AQ ตน้ ทนุ เฉลย่ี (AC) = BQ ขาดทนุ เฉลีย่ = BA ขาดทนุ ทงั้ หมด = BA x OQ = พนื้ ทส่ี ีเ่ หลย่ี ม PCBA
ดุลยภาพในระยะยาว หนว่ ยธรุ กจิ จะได้ กาไรปกตเิ ท่านน้ั จะไม่มีกาไรเกนิ ปกติ หรอื ขาดทนุ จากรปู ปริมาณผลผลติ ท่เี หมาะสมทส่ี ุด ณ ระดับที่ MR=LMC คือ OQ ที่ระดับการผลิต OQ รายรับเฉลี่ย (AR) = AQ ต้นทุนเฉลีย่ ระยะยาว (LAC) = AQ รายรับเฉลีย่ = ต้นทนุ เฉลี่ย ผู้ผลิตมีเพียงกาไรปกติ เทา่ นนั้ ทมี่ า :http://e-book.ru.ac.th/ebook_files/EC103/mobile/index.html#p=167
การปรบั ตัวเข้าสู่ภาวะกาไรปกตใิ นระยะยาว ในตลาดทม่ี ีการแขง่ ขันสมบรู ณถ์ ้าหนว่ ยธรุ กิจได้กาไรเกนิ ปกตหิ รือขาดทนุ จะ เกิดข้ึนเพยี งระยะสนั้ เทา่ นั้น เพราะกลไกตลาดจะปรับจนหน่วยธุรกิจมเี พียงกาไรปกติ เทา่ นั้น 1. กรณีมีกาไรเกินปกติ การมีกาไรเกินปกติจะทาให้มีผู้ผลิตรายใหม่ เข้ามาแข่งขัน ผลผลิตในตลาดมีมากข้ึน ราคาจึงลดลง ทาให้กาไรลดลงจนกาไรเกินปกติหมดไป เหลือ แตก่ าไรปกตเิ ทา่ น้นั 2. กรณีขาดทุน การขาดทุนจะทาให้ผู้ผลิตบางรายท่ีประสิทธิภาพต่า ถอนตัวจากการ แข่งขัน ผลผลิตในตลาดลดลง ราคาสูงขึ้น ทาให้การขาดทุนของผลผลิตที่เหลืออยู่ใน ตลาดลดลง จนเหลือเพยี งกาไรปกติ
Search
Read the Text Version
- 1 - 13
Pages: