Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 1.การบริหารองค์กร

1.การบริหารองค์กร

Published by นงเยาว์ บุญริน, 2020-11-11 06:16:18

Description: 1.การบริหารองค์กร

Search

Read the Text Version

การพฒั นาทรัพยากรบุคคล องคก์ ร ในองคก์ ร การพฒั นาทรพั ยากร บคุ คล

ความรทู้ ัว่ ไปเกี่ยวกบั การ องค์กร บริหารองค์กร การบริหาร

องคก์ ารและองค์กร ในเชงิ วิชาการ “องคก์ าร” และ “องคก์ ร” มคี วามหมายเหมอื นกนั คอื “หนว่ ยงาน” “องค์การ” ใช้เรยี กหน่วยงานขนาดใหญ่ มีภารกจิ มาก ซับซ้อน และมบี คุ ลากร จานวนมาก เช่น องค์การไฟฟ้าฝ่ายผลิต องคก์ ารทา่ เรอื กระทรวง กองทัพ เป็นตน้ “องคก์ ร” ใชเ้ รียกหนว่ ยงานขนาดเล็ก มภี ารกจิ และบคุ ลากรไมม่ าก เช่น กรม กอง บริษทั เล็ก ๆ หา้ งร้าน สมาคม เปน็ ต้น สมคดิ บางโม. (2560). องค์การและการจัดการ (พมิ พ์ครัง้ ที่ 3). กรงุ เทพฯ: วทิ ยพัฒน์.

ความหมายขององคก์ าร แมกซ์ เวเบอร์ องคก์ าร คอื หน่วยสังคมหรอื หนว่ ยงานซึง่ มกี ลุม่ บุคคลกลมุ่ หนง่ึ ร่วมกนั ดาเนนิ กจิ กรรมต่าง ๆ เพือ่ ใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายอยา่ งใดอย่างหน่งึ เชสเตอร์ บารน์ าร์ด องคก์ ารทเี่ ปน็ แบบแผน หมายถงึ ความร่วมมือกันระหวา่ งบคุ คล หลายคน ซึ่งมคี วามตงั้ ใจจรงิ ท่จี ะรว่ มกันดาเนินกิจกรรมให้บรรลุวัตถุประสงค์ สมคิด บางโม. (2560). องค์การและการจัดการ (พมิ พค์ ร้งั ที่ 3). กรุงเทพฯ: วทิ ยพัฒน์.

ความหมายขององค์การ สมคิด บางโม องค์การ คือ กลุ่มบคุ คลหลาย ๆ คน ร่วมกันทากิจกรรม เพอื่ ให้บรรลุ เปา้ หมายทต่ี ั้งไว้ การรว่ มกนั ของกลมุ่ ต้องถาวร มีการจดั ระเบยี บภายในกลมุ่ เก่ียวกับ อานาจหนา้ ที่ของแตล่ ะคน ตลอดจนกาหนดระเบยี บขอ้ บังคับต่าง ๆ ให้ยึดถือปฏบิ ตั ิ องค์การ กลุ่มคน + กิจกรรม + ระเบียบปฏิบตั ิ + เปา้ หมาย ถาวร สรุป องค์การ คอื การรวมกลุ่มของบุคคลเพื่อดาเนนิ กจิ กรรมต่าง ๆ ภายใต้ระเบยี บ ข้อบงั คบั ของกลมุ่ ใหบ้ รรลุเปา้ หมายตามทก่ี าหนดไว้ สมคิด บางโม. (2560). องคก์ ารและการจัดการ (พิมพค์ ร้ังที่ 3). กรงุ เทพฯ: วทิ ยพฒั น์.

วัตถุประสงคข์ ององค์การ วตั ถุประสงค์จะเป็นแนวทางในการปฏบิ ตั ิและเหตผุ ลของการปฏิบตั งิ านใน องคก์ าร บุคลากรจะมีความต้งั ใจปฏบิ ตั ิงานมากขึ้นเมอื่ ทราบว่า “ทาไปทาไม” การกาหนดวัตถุประสงค์ยงั เปน็ การเตรยี มการขน้ั พืน้ ฐานในการประสานงาน และมคี วามสาคญั ต่อการกาหนดมาตรฐานสาหรบั การควบคมุ ทมี่ ีประสิทธิภาพ สมคดิ บางโม. (2560). องค์การและการจัดการ (พิมพ์คร้งั ที่ 3). กรุงเทพฯ: วทิ ยพัฒน์.

วัตถุประสงค์ขององค์การ วตั ถุประสงค์หลักขององค์การมักมีเหมือนกัน 3 ประการ ดังน้ี 1. เพื่อสรา้ งคุณคา่ ที่สงั คมปรารถนา องค์การท่ีทางราชการจัดตงั้ ขน้ึ มีวตั ถปุ ระสงค์ เพ่อื บริการประชาชน สร้างความอยู่ดีกนิ ดใี หป้ ระชาชน คุม้ ครองความปลอดภยั และ พฒั นาประเทศ เช่น อาเภอ จงั หวัด โรงเรยี น โรงพยาบาล ตารวจ ทหาร ฯลฯ องค์การทางธรุ กิจ มวี ตั ถุประสงคห์ ลกั คอื กาไร แตอ่ งค์การธรุ กจิ ก็ตอ้ งสร้าง คณุ คา่ กบั สงั คมดว้ ย เช่น ผลิตสินคา้ ที่มีคุณภาพ ปฏิบัตติ ามกฎหมาย สนบั สนนุ กจิ กรรมต่าง ๆ ท่จี ดั ขน้ึ เพื่อสังคม สมคิด บางโม. (2560). องค์การและการจัดการ (พมิ พ์คร้ังท่ี 3). กรงุ เทพฯ: วิทยพฒั น์.

วัตถุประสงค์ขององค์การ 2. เพอื่ ตอบสนองความตอ้ งการของสมาชิกในองค์การ (ผมู้ สี ว่ นได้เสยี ) สมาชกิ ของ องคก์ ารแตล่ ะคนมีความต้องการทแี่ ตกต่างกนั บางคนต้องการไดเ้ งินมาก ๆ บางคน ต้องการไดเ้ กยี รติยศ ชอ่ื เสยี ง และความพงึ พอใจ บางคนตอ้ งการสร้างประโยชน์ใหแ้ ก่ สงั คม หากสมาชิกไมไ่ ดร้ ับการตอบสนองวตั ถปุ ระสงค์ส่วนตัวแล้ว สมาชิกเหลา่ น้นั จะ ถอนตัวออกจากองค์การ หากองคก์ ารตอ้ งการดารงอยูแ่ ละเจริญเติบโตได้ องค์การตอ้ ง ตอบสนองความตอ้ งการของสมาชิกอย่างสมเหตุสมผล สมคิด บางโม. (2560). องค์การและการจัดการ (พมิ พ์ครง้ั ที่ 3). กรุงเทพฯ: วิทยพฒั น์.

วัตถุประสงค์ขององค์การ 3. เพอื่ ความดารงอยูแ่ ละความเจริญเติบโตขององคก์ าร สมาชกิ ขององค์การทุกคน ตอ้ งปฏบิ ตั หิ น้าทที่ ไ่ี ด้รับมอบหมายอยา่ งดที ีส่ ุดเพ่อื ใหอ้ งค์การบรรลเุ ป้าหมายทก่ี าหนด ไว้ องค์การกจ็ ะมีความสาคญั เปน็ ทีต่ อ้ งการ สามารถดารงอยู่ไดแ้ ละสามารถขยาย กิจการออกไปไดอ้ ย่างกว้างขวาง(เจริญเติบโต) สมคิด บางโม. (2560). องค์การและการจัดการ (พิมพ์ครง้ั ท่ี 3). กรงุ เทพฯ: วิทยพฒั น์.

วัตถปุ ระสงคข์ ององค์การธรุ กจิ ถา้ องคก์ ารธุรกิจต้องการ “กาไรสูงสดุ ” เพยี งอยา่ งเดียวแลว้ เป็นไปได้ยากทีธ่ ุรกจิ จะ ดารงอย่ไู ด้ เนื่องจากเมื่อเกดิ กาไรสูงสดุ ผูป้ ระกอบการอนื่ ๆ เหน็ ชอ่ งทางกจ็ ะเขา้ มารว่ มคา้ ขายด้วย ก่อให้เกิดการแข่งขนั ข้นึ ดงั นน้ั องคก์ ารธรุ กจิ ควรมวี ตั ถปุ ระสงคอ์ น่ื ๆ นอกจากกาไร ดงั นี้ 1. เพื่อสร้างสรรคุณค่าทางเศรษฐกิจในรูปสินค้าและบริการ เม่ือธรุ กิจผลิตสนิ คา้ และบรกิ ารกอ่ ให้เกิดประโยชน์กบั สงั คม เช่น คนมงี านทา คุณภาพชวี ิตดขี ึน้ รฐั บาล เก็บภาษีไดม้ ากขน้ึ นาไปพัฒนาประเทศ สมคิด บางโม. (2560). องค์การและการจัดการ (พิมพค์ รั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: วทิ ยพฒั น์.

วัตถปุ ระสงคข์ ององค์การธรุ กจิ 2. เพือ่ แสวงหากาไรตอบสนองความตอ้ งการของสมาชิกและกลุ่มตา่ ง ๆ ภายใน องคก์ าร (ผมู้ ีส่วนได้เสยี ) เชน่ กลุ่มผบู้ รหิ ารต้องการเงินเดอื นสูงและโบนัส คนงาน ตอ้ งการคา่ จา้ งและโบนัส ผูล้ งทนุ ตอ้ งการผลตอบแทนสูง 3. เพ่อื การดารงอย่แู ละเจรญิ เติบโตขององค์การ ธรุ กจิ ต้องผลติ และจาหนว่ ยสินคา้ และบรกิ ารทมี่ คี ณุ ภาพใหล้ ูกค้าพอใจ มีกาไรพอควร จงึ จะแขง่ ขนั กับธรุ กจิ อนื่ ได้ 4. เพื่อสรา้ งสรรค์สิ่งทม่ี คี ุณค่าในสังคมและตอบแทนสงั คม องคก์ ารธุรกิจตอ้ งปฏิบัติ ตวั เป็นพลเมอื งดี ไมเ่ อาเปรียบลกู ค้าและคนงาน เม่ือมกี าไรกจ็ ดั สรรคืนสู่สงั คมบ้าง สมคิด บางโม. (2560). องคก์ ารและการจดั การ (พมิ พค์ ร้ังท่ี 3). กรุงเทพฯ: วทิ ยพฒั น์.

การกาหนดเป้าหมายขององคก์ ารธุรกจิ การกาหนดเปา้ หมายเปน็ ส่วนหน่ึงของการวางแผน ผู้บรหิ ารต้องประเมิน สภาพปจั จบุ นั ท่ีเป็นจรงิ แล้วกาหนดเป้าหมายในอนาคต แลว้ แจง้ ใหผ้ ู้เกยี่ วขอ้ งทุกคนได้ ทราบ การกาหนดเปา้ หมายขององคก์ ารธรุ กิจควรยดึ หลักดังน้ี 1. ต้องมุ่งไปทผ่ี ลลัพธท์ ่ีตอ้ งการ 2. ควรมกี าหนดเวลาส้นิ สดุ 3. ควรกาหนดเปน็ ปรมิ าณเพ่อื ให้ตรวจสอบได้ 4. เหมาะสมกับบุคคล สถานการณห์ รอื สภาพของบริษทั สมคิด บางโม. (2560). องคก์ ารและการจดั การ (พิมพ์ครง้ั ท่ี 3). กรุงเทพฯ: วิทยพฒั น์.

การกาหนดเปา้ หมายขององค์การธุรกจิ เป้าหมายท่ดี ี ต้อง SMART คือมีลักษณะ 5 ประการ ดงั น้ี 1. S-Specific คือ มีความชัดเจน เฉพาะเจาะจง 2. M-Measurable คือ สามารถวัดได้ 3. A-Acceptable คือ เปน็ ท่ียอมรับของผู้ปฏบิ ัติ 4. R-Realistic คือ ตง้ั อย่บู นพน้ื ฐานของความเปน็ จริง มีความเป็นไปได้ 5. T-Time frame คือ มีการกาหนดเวลา สมคดิ บางโม. (2560). องค์การและการจดั การ (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: วทิ ยพัฒน์.

การบรหิ ารและการจดั การ ☺ เมอื่ เอ่ยถงึ “การบริหาร” มกี ารใช้คาศพั ท์ 2 คา คอื การบริหาร กับ การจดั การ ☺ การบรหิ าร(administration) นิยมใชก้ ับการบริหารราชการหรอื การจัดการ เกีย่ วกบั นโยบาย มศี ัพท์บญั ญตั ิว่า “รัฐประศาสนศาสตร์”(public administration) ☺ การจัดการ(management) นยิ มใชก้ บั การบรหิ ารธรุ กจิ เอกชน หรอื การ ดาเนนิ การตามนโยบายทกี่ าหนดไว้ ☺ การบรหิ าร กับ การจดั การ ใช้แทนกันได้ ในการเรยี นวิชาน้ี จะใช้ 2 คานป้ี ะปนกนั ตามความเหมาะสม สมคิด บางโม. (2560). องคก์ ารและการจดั การ (พมิ พค์ รงั้ ท่ี 3). กรงุ เทพฯ: วทิ ยพฒั น์.

ความหมายของการจดั การ แฮโรลด์ คูนตซ์ การจดั การ หมายถงึ การดาเนินงานให้บรรลุวตั ถุประสงค์ ทีต่ ้งั ไว้ โดยอาศัยปจั จยั ทง้ั หลาย ไดแ้ ก่ คน เงิน วสั ดสุ ง่ิ ของ เป็นอุปกรณ์การ จัดการนัน้ เออร์เนสต์ เดล การจัดการ คือ กระบวนการจัดองค์การและการใชท้ รัพยากร ต่าง ๆ ใหบ้ รรลุวตั ถปุ ระสงค์ท่ีกาหนดไว้ล่วงหนา้ สมคิด บางโม. (2560). องคก์ ารและการจดั การ (พมิ พ์คร้งั ท่ี 3). กรุงเทพฯ: วทิ ยพฒั น์.

ความหมายของการจดั การ สมคิด บางโม การจดั การ คือ ศลิ ปะในการใช้คน เงนิ วสั ดอุ ปุ กรณข์ อง องคก์ ารและนอกองคก์ าร เพอ่ื ให้บรรลวุ ัตถปุ ระสงค์ขององค์การอยา่ งมี ประสิทธภิ าพ การจัดการ กระบวนการ + ทรพั ยากร + วตั ถุประสงค์ + ประสิทธภิ าพ สรปุ การจดั การ คือ กระบวนการต่าง ๆ ในการจัดการทรพั ยากรขององคก์ าร เพ่อื ใหบ้ รรลุวตั ถปุ ระสงคต์ ามท่ีกาหนดไว้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ สมคดิ บางโม. (2560). องคก์ ารและการจดั การ (พมิ พ์คร้ังท่ี 3). กรงุ เทพฯ: วิทยพัฒน์.

ทรพั ยากรในการจัดการ ทรัพยากรทเ่ี ป็นปจั จัยสาคัญในการจัดการมีอยู่ 4 ประการ(4M) ได้แก่ 1. Man (คน) เป็นผ้ปู ฏบิ ตั กิ ิจกรรมขององคก์ ารน้นั ๆ 2. Money (เงนิ ) สาหรับค่าจ้างและคา่ ใชจ้ า่ ยในการดาเนนิ งาน 3. Material (วัสดสุ ่งิ ของ) คือ วัตถดุ บิ วสั ดุ เครอื่ งมือ เครือ่ งใช้ อุปกรณ์ อาคาร 4. Management (การจัดการ) ความรู้เกีย่ วกับการจัดการ สมคิด บางโม. (2560). องค์การและการจดั การ (พิมพ์คร้ังท่ี 3). กรงุ เทพฯ: วิทยพัฒน์.

ทรพั ยากรในการจัดการ ดา้ นการจดั การธุรกิจ ได้กล่าวถงึ ปัจจัยของการจัดการว่ามี 6M โดยเพมิ่ อกี 2 ปจั จัย ไดแ้ ก่ 5. Market (ตลาด) เปน็ ทีส่ าหรบั จาหน่ายสนิ ค้าและบริการ 6. Machine (เครื่องจกั ร) สาหรับผลิตสนิ คา้ และบรกิ าร ในปัจจบุ นั ไดก้ ลา่ วถงึ ปัจจัยของการจัดการยคุ ใหมว่ า่ มี 8M โดยเพิ่มอีก 2 ปจั จัย ไดแ้ ก่ 7. Method (วิธกี ารทางาน) หมายถึงวิธี หรอื ข้นั ตอนในการทางาน 8. Minute (เวลา) หมายถึง เวลาในการดาเนินงาน สมคิด บางโม. (2560). องคก์ ารและการจดั การ (พิมพค์ รงั้ ที่ 3). กรุงเทพฯ: วทิ ยพฒั น์.

ประเภทของระบบบรหิ าร โดยทั่วไประบบบรหิ ารแบง่ ออกเป็น 3 ประเภทใหญ่ ๆ ดังนี้ 1. การบรหิ ารราชการ (public administration) 2. การบรหิ ารธุรกิจ (business administration) 3. การบรหิ ารการศึกษา (educational administration) การพิจารณาความแตกต่างของระบบบริหารแตล่ ะระบบ ใช้หลกั 4 P ดังน้ี 1. Purpose (ความมุ่งหมายหรือวัตถปุ ระสงค)์ 2. People (บคุ คลทีเ่ กยี่ วขอ้ ง) 3. Process (วธิ กี ารดาเนนิ การ) 4. Product (ผลผลติ ) สมคิด บางโม. (2560). องค์การและการจัดการ (พิมพ์ครง้ั ท่ี 3). กรุงเทพฯ: วทิ ยพัฒน์.

การบริหาร ราชการ ธรุ กจิ การศึกษา Purpose กาไร พฒั นาคน ใหค้ วามสะดวก People คุม้ ครองสวัสดิภาพ คนทุกระดบั ผ้เู ยาว์ Process ประชาชน ต้องการความ สลับซับซอ้ น รวดเร็ว ใชเ้ วลานาน Product ผทู้ บี่ รรลนุ ติ ิภาวะแลว้ สินค้าหรอื บริการ บุคคลท่มี คี ณุ ภาพ ยดึ ระเบียบแบบแผน พิธกี าร ความอยูด่ ีกินดขี อง ประชาชน สมคิด บางโม. (2560). องคก์ ารและการจดั การ (พมิ พ์คร้ังที่ 3). กรุงเทพฯ: วทิ ยพัฒน์.

กระบวนการจดั การ แนวคิดเกี่ยวกับกระบวนการจดั การ เป็นการวเิ คราะห์ใหเ้ ห็นว่า “ผู้จัดการ” มี หน้าทหี่ รืองานอะไรบ้างทต่ี ้องทา และควรทาอะไรก่อน-หลงั ผเู้ สนอแนวคิดเรอื่ งกระบวนการจดั การ ซึ่งเป็นทีย่ อมรับโดยทัว่ ไป มดี ังน้ี กระบวนการจัดการของอองรี ฟาโยล บคุ คลแรกทว่ี เิ คราะหถ์ ึงองคป์ ระกอบมูลฐานของการจัดการว่ามี 5 ประการคือ POCCC ปจั จบุ นั เรยี กวา่ กระบวนการจดั การ มรี ายละเอยี ดดงั น้ี 1. การวางแผน (Planning) คือการศกึ ษาขอ้ มูลในปจั จุบนั คาดการณอ์ นาคต วางเปา้ หมายและแนวทางปฏิบตั ไิ ว้ สมคดิ บางโม. (2560). องคก์ ารและการจัดการ (พมิ พ์ครง้ั ที่ 3). กรงุ เทพฯ: วทิ ยพฒั น์.

กระบวนการจดั การ 2. การจัดหนว่ ยงาน (Organizing) คือการจดั โครงสรา้ งขององค์การเปน็ หนว่ ยงานยอ่ ย กาหนดหน้าทีค่ วามรบั ผดิ ชอบและจัดสรรคนเขา้ ทางาน 3. การส่งั การบังคับบญั ชา (Commanding) คอื การสงั่ ให้คนงานทางานตามที่ได้รับ มอบหมายและทางานตามภารกจิ ของหนว่ ยงาน 4. การประสานงาน (Coordinating) คอื การติดตอ่ ประสานงานหนว่ ยงานยอ่ ยและคนงาน ใหท้ างานโดยราบรนื่ ไมก่ ้าวกา่ ยหรือขัดแยง้ กนั 5. การควบคมุ (Controlling) คอื การควบคุมและตรวจสอบผลการปฏบิ ัตงิ านของพนกั งาน ใหเ้ ป็นไปตามมาตรฐานหรือตามระเบยี บข้อบงั คบั ทวี่ างไว้ สมคิด บางโม. (2560). องคก์ ารและการจดั การ (พมิ พค์ ร้งั ท่ี 3). กรุงเทพฯ: วทิ ยพัฒน์.

กระบวนการจดั การ กระบวนการจัดการของกูลิกและเออร์วกิ ลเู ทอร์ กลู ิก และลินดอลล์ เออรว์ กิ ได้นากระบวนการจดั การของฟาโยลมา ปรบั ปรงุ ประยกุ ต์กบั การบรหิ ารราชการ ได้เสนอแนะการจัดหน่วยงานในทาเนยี บแก่ ประธานาธบิ ดี สหรฐั อเมริกา เพือ่ ตอบคาถามวา่ “อะไรคอื งานของประธานาธิบดี สหรัฐอเมริกา” คาตอบท่ีได้คอื POSDCoRB 1. P=Planning หมายถงึ การจดั วางโครงการและแผนปฏบิ ัติงานไว้ล่วงหนา้ ว่าต้องทา อะไรและทาอยา่ งไรบา้ ง เพ่ือใหง้ านบรรลเุ ป้าหมายท่ตี ั้งไว้ สมคดิ บางโม. (2560). องค์การและการจดั การ (พมิ พค์ รง้ั ที่ 3). กรุงเทพฯ: วทิ ยพัฒน์.

กระบวนการจัดการ 2. O = Organizing หมายถึง การจดั หน่วยงาน การกาหนดโครงสรา้ งของหนว่ ยงาน แบ่งส่วนงาน จัดสายงานตาแหน่งตา่ ง ๆ กาหนดอานาจหน้าท่ใี ห้ชัดเจน 3. S = Staffing หมายถงึ การจดั ตวั บคุ คล เป็นการบรหิ ารงานดา้ นบคุ ลากร ไดแ้ ก่ การ กาหนดอตั รากาลงั การสรรหา การพัฒนาบุคลากร การสรา้ งบรรยากาศการทางาน การ ประเมินผลการทางาน การใหพ้ น้ จากงาน 4. D = Directing หมายถงึ การอานวยการ เรม่ิ ต้งั แตก่ ารตัดสนิ ใจ การวนิ ิจฉยั สง่ั การ การควบคุมบงั คบั บัญชา และการควบคุมการปฏบิ ตั ิงาน สมคดิ บางโม. (2560). องค์การและการจดั การ (พมิ พ์คร้ังท่ี 3). กรุงเทพฯ: วทิ ยพฒั น์.

กระบวนการจดั การ 5. Co = Coordinating หมายถงึ การประสานงานด้านตา่ ง ๆ ของหน่วยงานให้เกดิ ความรว่ มมอื เพอ่ื ดาเนนิ ไปสู่เป้าหมายเดียวกัน 6. R = Reporting หมายถงึ การรายงานผลการปฏิบตั ิงาน ใหผ้ ูบ้ ริหารและสมาชิกใน หน่วยงานไดท้ ราบความเคลื่อนไหวของการทางานว่าก้าวหน้าไปเพียงใด 7. B = Budgeting หมายถึง การงบประมาณ การจัดทางบประมาณ บัญชกี ารใช้ จา่ ยเงนิ การควบคุมและตรวจสอบดา้ นการเงิน สมคดิ บางโม. (2560). องค์การและการจัดการ (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: วิทยพัฒน์.

กระบวนการจัดการ กระบวนการจัดการของคนู ตซ์ แฮโรลด์ คนู ตซ์ กาหนดขัน้ ตอนการจดั การไว้ 5 ขั้นตอน คือ POSDC ไดแ้ ก่ 1. P = Planning = การวางแผน 2. O = Organining = การจัดองค์การ 3. S = Staffing = การจดั คนเขา้ ทางาน 4. D = Directing = การอานวยการ 5. C = Controlling = การควบคุมการทางาน สมคิด บางโม. (2560). องค์การและการจัดการ (พิมพค์ รั้งท่ี 3). กรุงเทพฯ: วทิ ยพฒั น์.

กระบวนการจดั การ กระบวนการจดั การของเออรเ์ นสต์ เดล เออร์เนสต์ เดล จาแนกหนา้ ที่การจดั การไว้ 7 ขนั้ ตอน คอื POSDCIR เขาเหน็ พ้องกับคูนตซ์ 5 ขนั้ ตอนแรก (POSDC) และไดเ้ พิม่ เขา้ ไปอีก 2 ข้นั ตอน (IR) ไดแ้ ก่ 6. I = Innovation = การสรา้ งสรรสิ่งใหม่ 7. R = Representation = การเปน็ ตัวแทนขององค์การ สมคดิ บางโม. (2560). องคก์ ารและการจดั การ (พมิ พ์ครง้ั ที่ 3). กรุงเทพฯ: วทิ ยพัฒน์.

กระบวนการจัดการ กระบวนการจดั การตามแนวความคิดปจั จบุ ัน นักวชิ าการทางการบรหิ ารสว่ นใหญ่ในปจั จุบนั ไดศ้ ึกษาและวเิ คราะห์ แนวความคิดท้งั หมดและสรปุ วา่ กระบวนการจดั การควรมเี พียง 4 ขนั้ ตอน คอื PODC ได้แก่ 1. P = Planning = การวางแผน 2. O = Organizing = การจัดองคก์ าร (รวมท้งั การจดั คนเข้าทางาน) 3. D = Directing = การอานวยการหรือการชีน้ า 4. C = Controlling = การควบคมุ ตดิ ตามผลการทางาน สมคิด บางโม. (2560). องค์การและการจดั การ (พมิ พ์ครง้ั ที่ 3). กรงุ เทพฯ: วิทยพัฒน์.

กระบวนการจัดการ กระบวนการบริหารของเดมิง ดร. เอด็ เวริ ด์ เดมิง ไดป้ ระยกุ ต์กระบวนการจัดการของกลู กิ และเออรว์ กิ ใหส้ นั้ ลง เรียกวา่ วัฏจกั รเดมิง (Deming Cycle) หรือ PDCA มี 4 ขน้ั ตอน ดงั นี้ 1. P = Plan = การวางแผน 2. D = Do = การนาแผนทว่ี างไวไ้ ปปฏิบตั ิ 3. C = Check = การตรวจสอบการปฏิบัตงิ าน 4. A = Act = การนาแผนทแ่ี กไ้ ขแล้วไปปฏบิ ัตใิ หม่ ทม่ี า : https://www.ftpi.or.th/wp-content/uploads/2015/03/pdca-1.jpg ถา้ วฏั จกั ร PDCA หมุนไดห้ ลายรอบ การบริหารจะมปี ระสิทธภิ าพมากขนึ้ สมคิด บางโม. (2560). องค์การและการจัดการ (พิมพ์ครงั้ ท่ี 3). กรุงเทพฯ: วทิ ยพฒั น์.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook