Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 2.3 ภาวะดุลยภาพ

2.3 ภาวะดุลยภาพ

Published by นงเยาว์ บุญริน, 2020-07-08 23:32:49

Description: 2.3 ภาวะดุลยภาพ

Search

Read the Text Version

ภาวะดุลยภาพ (Equilibrium)

ภาวะดุลยภาพ หมายถึง ภาวะท่ี ระดบั ราคาและปรมิ าณเสนอซือ้ เทา่ กบั ระดบั ราคาและ ปริมาณเสนอขาย ราคาดลุ ยภาพ หมายถึง ราคาเสนอซอ้ื เท่ากบั ราคาเสนอขาย ปริมาณดลุ ยภาพ หมายถงึ ปรมิ าณเสนอซื้อ เท่ากบั ปริมาณเสนอขาย ดุลยภาพของตลาด หมายถงึ สภาพสมดุลทเ่ี กดิ ขึน้ ณ ระดบั ราคาทผ่ี ซู้ ื้อและผ้ขู ายตกลง ซอ้ื ขายแล้ว ปรมิ าณเสนอซ้ือเทา่ กบั ปริมาณเสนอขายพอดี

DD คือเสน้ อปุ สงคข์ องสินค้าชนดิ หน่งึ ซงึ่ เป็นสินค้าปกติ SS คอื เสน้ อปุ ทานของสินค้าชนดิ เดียวกนั เส้นอปุ สงคแ์ ละอปุ ทานตดั กนั ทจ่ี ดุ E จดุ E คอื จดุ ดุลยภาพ ราคาดุลยภาพ คอื 15 บาท ปริมาณดลุ ยภาพ คอื 9 ชน้ิ

อปุ ทานส่วนเกนิ (Excess supply) หรือ อปุ สงค์สว่ นขาด (Demand-shortage)

อุปทานส่วนเกิน (Excess supply) หรอื อปุ สงค์สว่ นขาด (Demand-shortage) เมื่อราคาสนิ ค้าสงู กว่าราคาดุลยภาพจะเกดิ ปญั หาปริมาณเสนอซอ้ื และปริมาณเสนอขายไมเ่ ทา่ กนั ตัวอย่างเช่น ณ ระดบั ราคา = 20 บาท ปรมิ าณเสนอซื้อ = 6 ชิ้น ปริมาณเสนอขาย = 12 ช้นิ ความตอ้ งการขายมมี ากกวา่ ความตอ้ งการซื้อ = 12 - 6 = 6 ชิ้น(จุด A ถึงจุด B) ดงั นั้น อปุ ทานสว่ นเกินหรอื อปุ สงคส์ ว่ นขาด (ปริมาณสนิ คา้ ที่เหลอื ขาย) = 6 ชนิ้ ถ้าปล่อยให้กลไกราคาทางานอย่างเต็มท่ีจะมีการปรบั ตวั อัตโนมตั ิ คือ เมอ่ื เกดิ อุปทาน สว่ นเกนิ (ปริมาณสินค้าเหลือขาย) ผ้ผู ลติ บางรายจะยอมลดราคาสนิ คา้ ลง ทาให้ผูบ้ รโิ ภคบางคน ยอมซื้อสนิ ค้าเพิ่มข้ึน อปุ ทานส่วนเกินกจ็ ะคอ่ ยๆ ลดลงจนเขา้ สภู่ าวะดุลยภาพ

อปุ สงค์สว่ นเกนิ (Excess demand) หรือ อปุ ทานส่วนขาด (Supply-shortage)

อปุ สงค์สว่ นเกนิ (Excess demand) หรอื อปุ ทานสว่ นขาด (Supply-shortage) เม่ือราคาสินคา้ ต่ากวา่ ราคาดลุ ยภาพ จะเกดิ ปญั หาปรมิ าณเสนอซ้อื และปรมิ าณเสนอขายไม่ เท่ากัน ตวั อยา่ งเชน่ ณ ระดับราคา = 10 บาท ปริมาณเสนอซื้อ = 12 ช้นิ ปริมาณเสนอขาย = 6 ช้นิ ความต้องการซื้อมีมากกวา่ ความตอ้ งการขาย = 12 - 6 = 6 ชนิ้ (จุด A ถงึ จุด B) ดังนั้น อุปสงคส์ ่วนเกนิ หรอื อุปทานสว่ นขาด (ปริมาณสนิ ค้าทีข่ าดตลาด) = 6 ชน้ิ ถ้าปล่อยให้กลไกราคาทางานอยา่ งเต็มทีจ่ ะมีการปรบั ตัวอัตโนมัติ คอื เม่อื เกดิ อุปสงค์ ส่วนเกนิ (ปริมาณสินคา้ ขาดแคลน) ผู้บรโิ ภคบางรายจะยอมซอ้ื สนิ ค้าในราคาท่สี ูงข้ึน ทาใหผ้ ูผ้ ลิต บางรายยอมขายสินคา้ เพม่ิ ขน้ึ อปุ สงคส์ ่วนเกนิ กจ็ ะค่อยๆ ลดลงจนเข้าสูภ่ าวะดุลยภาพ

การเปลีย่ นแปลงภาวะดุลยภาพ ภาวะดลุ ยภาพ อาจเปล่ยี นแปลงได้เมอื่ เกดิ การเปล่ยี นแปลงของเส้นอุปสงค์ หรอื เสน้ อุปทาน หรอื ทัง้ สองเสน้ 1. การเปลย่ี นแปลงภาวะดลุ ยภาพอนั เน่อื งมาจากการเปลีย่ นแปลงของเสน้ อุปสงค์ 2. การเปลี่ยนแปลงภาวะดลุ ยภาพอันเน่ืองมาจากการเปลย่ี นแปลงของเสน้ อุปทาน 3. การเปล่ียนแปลงภาวะดลุ ยภาพอนั เนื่องมาจากการเปล่ียนแปลงของเส้นอปุ สงค์และเส้นอุปทาน

1. การเปลี่ยนแปลงภาวะดลุ ยภาพอนั เนื่องมาจากการเปล่ยี นแปลงของเส้นอปุ สงค์

ถา้ ปจั จัยทก่ี าหนดอปุ สงค์เปลย่ี นแปลงไป เชน่ รายได้ของผู้บริโภคสงู ขึ้น เสน้ อปุ สงคจ์ ะ เปล่ียนจาก เส้น DD เปน็ D1D1 จดุ ดลุ ยภาพเปลยี่ นจาก จดุ E เปน็ จดุ E1 ราคาดุลยภาพเปล่ยี น จาก 15 เป็น 20 ปรมิ าณดุลยภาพ เปลย่ี นจาก 9 เป็น 12 แตถ่ ้ารายไดข้ องผบู้ รโิ ภคลดลง เส้นอุปสงค์จะเปล่ียนจากเส้น DD เปน็ D2D2 จุด ดลุ ยภาพเปลี่ยนจากจดุ E เปน็ จุด E2 ราคาดุลภาพเปลี่ยนจาก 15 เปน็ 10 ปรมิ าณดุลยภาพ เปลี่ยนจาก 9 เปน็ 6

2. การเปลี่ยนแปลงภาวะดลุ ยภาพอนั เนื่องมาจากการเปล่ยี นแปลงของเส้นอปุ ทาน

ถา้ ปจั จัยท่กี าหนดอปุ ทานเปล่ยี นแปลงไป เช่น มีการคน้ พบเทคโนโลยีใหมๆ่ ทาให้ สามารถผลติ สนิ คา้ ไดค้ ณุ ภาพดีขน้ึ เส้นอุปทานจะเปลย่ี นจาก เส้น SS เปน็ S1S1 จดุ ดลุ ยภาพ เปล่ยี นจาก จุด E เปน็ จดุ E1 ราคาดลุ ยภาพเปลย่ี นจาก 15 เป็น 10 ปรมิ าณดลุ ยภาพ เปล่ียนจาก 9 เปน็ 12 บางกรณีหากปัจจยั การผลติ มีราคาสูงขึน้ เส้นอุปสงคจ์ ะเปล่ยี นจากเส้น SS เปน็ S2S2 จดุ ดลุ ยภาพเปล่ยี นจากจุด E เปน็ จดุ E2 ราคาดลุ ภาพเปลย่ี นจาก 15 เปน็ 20 ปรมิ าณดุลยภาพ เปล่ยี นจาก 9 เปน็ 6

3. การเปล่ยี นแปลงภาวะดุลยภาพอันเน่ืองมาจากการเปลี่ยนแปลงของเสน้ อุปสงค์และ เส้นอปุ ทาน

จากกราฟ เดิมเสน้ อุปสงค์และเสน้ อปุ ทานตัดกนั ทจี่ ุด E ราคาดลุ ยภาพ = 15 ปรมิ าณดลุ ยภาพ = 9 ตอ่ มามีปัจจยั บางชนดิ เปลี่ยนแปลงไป เช่น รายได้ของผูบ้ รโิ ภค ลดลง ประกอบกบั มีการค้นพบเทคโนยีการผลติ แบบใหม่ ๆ ทาใหก้ ารผลติ มีคณุ ภาพ มากขน้ึ ทาให้เสน้ อปุ สงค์ เปลี่ยนจากเสน้ DD เป็น D1D1 และเส้นอุปทานเปลี่ยน จาก SS เป็น S1S1 จุดดุลยภาพเปลีย่ นจากจุด E มาเปน็ จุด E1 ราคาดลุ ยภาพเปลยี่ นจาก 15 เปน็ 6 ปริมาณดุลยภาพเปลีย่ นจาก 9 เป็น 10

การน่าวิธกี ารวเิ คราะห์ดลุ ยภาพไปประยุกต์ใชใ้ นกรณีตา่ ง ๆ 1. นโยบายการก่าหนดราคาขัน้ ต่า 1.1 การประกันราคาข้ันต่า เช่น สินคา้ เกษตร เมอื่ รฐั บาลประกนั ราคาขน้ั ตา่ แลว้ จะ เกดิ อุปทานส่วนเกนิ หรืออุปสงคส์ ว่ นขาด รัฐบาลต้องมมี าตรการรองรับ โดย การลดอปุ ทานสว่ นเกิน ในระยะยาวทาได้โดยจากดั พื้นทเี่ พาะปลกู หรือส่งเสริมการ ปลกู พน้ื ชนิดอืน่ เพ่อื ให้การผลิตพืชชนิดน้ลี ดลง การเพม่ิ อปุ สงคส์ ่วนขาด ในระยะเรง่ ด่วนสามารถเพ่ิมอปุ สงค์ส่วนขาดไดโ้ ดย หา ตลาดทัง้ ในและต่างประเทศ หรอื รบั ซอ้ื สินค้าเอง

การนา่ วธิ ีการวเิ คราะหด์ ลุ ยภาพไปประยุกตใ์ ชใ้ นกรณีตา่ ง ๆ 1.2 การกา่ หนดอตั ราค่าจา้ งข้ันต่า รัฐบาลตอ้ งมมี าตรการแกไ้ ขปญั หาการวา่ งงานท่ี เกดิ ขน้ึ โดย การเพม่ิ อปุ สงค์ของแรงงาน เช่นหางานทั้งในและต่างประเทศไว้รองรบั การลดอุปทานของแรงงาน เชน่ ฝึกอบรมพัฒนาฝีมอื แรงงาน ใหเ้ ป็นแรงงาน อีกระดบั หน่งึ เพือ่ ลดอุปทานของแรงงานระดบั เดิม

การน่าวธิ ีการวเิ คราะห์ดุลยภาพไปประยุกต์ใชใ้ นกรณีต่าง ๆ 2. นโยบายการก่าหนดราคาข้ันสูง ส่วนใหญใ่ ช้กบั สนิ คา้ ท่ีจาเป็นตอ้ งซ้ือ เชน่ น้ามนั เบนซนิ นา้ ตาลทราย เม่ือกาหนดราคาข้ันสงู จะทาให้เกิดอุปสงคส์ ่วนเกิน ส่งิ ท่จี ะตามมา คอื  เกิดการขายในลกั ษณะใครมาก่อนได้กอ่ น เกดิ การเข้าแถวรอควิ ซ้ือ ยาวมาก เกิด การสูญเสยี ดา้ นเวลา เมอ่ื เปรียบเทียบการสูญเสยี เวลากบั ราคาข้นั สูงแลว้ อาจแพงกว่า  เกิดการลดคณุ ภาพหรือลดเวลาการให้บริการ  เกดิ การลกั ลอบขายสนิ ค้าหลงั ร้านหรอื ตลาดมดื

การนา่ วธิ ีการวเิ คราะหด์ ุลยภาพไปประยุกต์ใชใ้ นกรณีตา่ ง ๆ เม่อื รฐั บาลกาหนดราคาขัน้ สงู แลว้ รัฐบาลควรกาหนดนโยบายอื่นควบคู่กันไป เชน่ นาเขา้ สินค้า เพอ่ื ลดอปุ สงคส์ ว่ นเกนิ หรือการปนั ส่วนโดยกระจายสินค้าให้ทว่ั ถึง 3. การเก็บภาษสี นิ ค้าจากผู้ขายและผ้ซู ้อื


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook