Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 15.การฝึกปฏิบัติการเป็นวิทยากร

15.การฝึกปฏิบัติการเป็นวิทยากร

Published by นงเยาว์ บุญริน, 2021-02-23 22:17:48

Description: 15.การฝึกปฏิบัติการเป็นวิทยากร

Search

Read the Text Version

การฝึกปฏบิ ตั ิการเป็นวทิ ยากรหรือผ้สู อนงาน 1. ความหมาย 6. การลงทา้ ย 2. คณุ สมบตั ิ 7. หลกั การพัฒนาคาพดู 9 ประการ 3. ทฤษฎีการพูด 3 สบาย 8. การเตรยี มตวั พดู ในที่ชุมชน 4. การเร่ิมต้นพดู 9. บนั ได 13 ขั้น 5. การพดู เน้ือเรอ่ื ง

ความหมาย การท่ีบุคคลใดจะกาวเข้าสกู่ ารเปน็ วทิ ยากรมอื อาชีพได้นนั้ จาํ เป็นตอ้ งเรยี นรู้ เกย่ี วกับการสอนและการถา่ ยทอดความรตู้ า่ ง ๆ ให้กับผ้เู ขา้ รับการอบรม การท่จี ะเป็นวทิ ยากรฝกึ อมรมท่ีดตี ้องเปน็ ผูท้ ันสมยั อยู่เสมอ มคี วามรอบรู้ใน วทิ ยาการใหม่ ๆ ใฝ่หาความรู้อยูเ่ ป็นนจิ มีศลิ ปะในการถา่ ยทอดความรู้ วทิ ยากร หมายถึง ผรู้ อบรู้ทจี่ ะให้ความร้ทู ตี่ นเองมีอยู่ แก่ผู้เขา้ รบั การอบรมให้ มากทสี่ ดุ เทา่ ทจ่ี ะมากได้ และสามารถจงู ใจใหผ้ ู้เขา้ รบั การอบรมทาํ กิจกรรมเสริมทกั ษะ ร่วมกนั ได้อย่างมีประสิทธภิ าพ การฝกึ พูดในที่สาธารณะ ที่มา : http://pvlo-knr.dld.go.th/webfile/idp58/idp58new_n2/ppt_idp58n2.pdf

คุณสมบัติของวทิ ยากร 1. มคี วามรู้ วทิ ยากรต้องมีความร้ใู นหวั ข้อหรือหลักสูตรการฝึกอบรม ในแตล่ ะ ครง้ั นอกจากจะรใู้ นเนื้อหาวชิ าแล้ว ยงั ต้องรู้จักผูเ้ ขา้ รับการฝกึ อบรมดว้ ย ซง่ึ ทําให้ สามารถเข้าถงึ จิตใจของผ้เู ขา้ รบั การฝึกอบรม และทาํ ให้การฝกึ อบรมเปน็ ไปอยางราบรื่น 2. มีความสามารถในการถ่ายทอด วิทยากรจะต้องมคี วามสามารถในการ ถา่ ยทอดความรทู้ ีต่ นเองมอี ยู่ ไปยงั ผู้เขา้ รับการฝกึ อบรมใหไ้ ด้ จึงจะทําให้ผูเ้ ข้ารับการ ฝกึ อบรมเข้าใจและสามารถนําไปปฏบิ ัติได้

3. มมี นุษยส์ ัมพันธท์ ีด่ ี วทิ ยากรจะต้องสร้างความเป็นกนั เองกบั ผ้เู ขา้ รบั การ ฝกึ อบรม เพอ่ื จงู ใจใหเ้ ข้ารับการฝึกอบรมสนใจในตัวของวิทยากรเสยี กอ่ น เพ่ือทวี่ ิทยากร จะสามารถถา่ ยทอดเน้ือหาได้สะดวกงา่ ยดายย่ิงข้ึน 4. มบี ุคลกิ ภาพที่ดี วิทยากรฝกึ อบรม จะตอ้ งมีบุคลกิ ภาพทีเ่ หมาะสมทงั้ บคุ ลกิ ภาพภายนอก และภายใน ซ่ึงเป็นสภาวะทางอารมณ์ จติ ใจ ความร้สู กึ นึกคดิ และ ความสามารถทางสติ ิปญญ ญา บุคลิกภาพแยกไดด้ ังตอ่ ไปนี้

4.1 บคุ ลิกภาพภายนอก - การแตง่ กาย - รูปรา่ งหนา้ ตา - กิริยาทา่ ทาง - การปรากฏตวั ในทีป่ ระชมุ - การใชภ้ าษา -ความกระตือรือรน้ -ความรับผดิ ชอบ 4.2 บุคลิกภาพภายใน -อารมณ์ขนั - ความเชอ่ื มนั ในตวั เอง -ความรอบรู้ -ความจํา

ทฤษฎีการพูด 3 สบาย 1. ฟงั สบายหู 2. ดูสบายตา 3. พาสบายใจ

1. ฟังสบายหู 1. ต้องเป็นเสียงพูด 2. เสยี งดังไดย้ นิ ทั่ว 3. มีสงู ตํ่าหนกั เบา 4. อยา่ ใชผ้ ดิ วรรณยุกต์ 5. ใช้เสยี งส้ันยาวใหถ้ กู 6. ระวังเสยี งเทียมหรือเสียงแปลกปลอม 7. พดู ให้เสยี งทุ้มและหนกั แน่น 8. การใช้ถอ้ ยคาํ ภาษา (คาํ ผดิ พจนานุกรม, คาํ ควบกลา้ํ , คําย่อ คาํ ตลาด, คํา ภาษาต่างประเทศ, คําเออ้ อ้า อึกอัก เอ่อเอ่มิ ฯ)

2. ดสู บายตา 1. การแต่งกาย 2. ความเชอื่ มน่ั 3. ความกระตอื รอื รน้ 4. ความองอาจผ่ึงผาย 5. แผ่กระแสจติ “เมตตา” 6. ทักท่ปี ระชมุ กอ่ นทกุ คร้งั 7. การยืนพดู 8. การนั่งพูด 9. การใชท้ ่าทางประกอบการพูด ความหมายต้องสอดคลอ้ งกบั ถอ้ ยคํา ตอ้ งให้ได้ จังหวะพอดกี บั ถอ้ ยคาํ ไม่ควรต่าํ กว่าระดับเอวลงไปหรือสงู เกินไหล่

10. การแสดงออกทางสหี น้า ดวงตา (สหี น้าต้อง เบกิ บาน แจม่ ใส ตอ้ งสบตา มองใหท้ ั่วถึง) มาดต้องตา (เม่ือใดก็ตามทม่ี ีคนเหน็ เราต้องเท่! เสมอ) วาจาตอ้ งใจ ภายในยอดเยย่ี ม

3. พาสบายใจ เตรยี มจิตใจ 3.1 การเลือกเร่ืองทจี่ ะพูด เตรียมเรอื่ งพดู เปน็ เรื่องที่เรารู้ดี เป็นเรื่องท่ีอยากพดู เปน็ เรือ่ งที่ผู้ฟญงกําลังสนใจ 3.2 การเตรยี มการพูด เตรยี มความคดิ เตรียมร่างกาย

3.3 การเตรียมเร่อื งพูด หาวตั ถดุ ิบ โดยอา่ น ฟงญ คดิ จัดลําดับความคิดใหเ้ ป็นระบบ สรา้ งโครงเร่ือง เตรียมตวั ดี...มีชยั ไปกวา่ คร่งึ

การเร่มิ ต้นพูด อย่า! เริ่มตน้ แบบ ออกตวั มวั อ้อมคอ้ ม ถอ่ มตน สาระวนขออภยั

การเริม่ ต้นพูด จง! เรม่ิ ต้นแบบ พาดหัวข่าว กลา่ วคําถาม สรา้ งความสงสยั ใหร้ น่ื เริง เชงิ กวี

การพูดเนื้อเรอ่ื ง 1. พูดตามลําดบั เหตุการณ์ วัน...เวลา....สถานที่ 2. เน้นจดุ มุง่ หมายเดยี ว จุดเดียว ประเด็นเดยี ว 3. อย่าใหเ้ นอื้ หาขดั กนั หรือค้านกันเอง 4. อยา่ ออกนอกประเด็น 5. พร้อมตัดทอน หรอื ขยายความได้ 6. ใช้ถอ้ ยคาํ ภาษา นา้ํ เสียง สายตา ทา่ ทาง ใหส้ อดคล้องกับเนอื้ เรื่อง 7. ยกตวั อยา่ งรูปธรรมประกอบเสมอ เพราะจะทาํ ใหผ้ ้ฟู งญ เห็นภาพพจนแ์ ละเขา้ ใจงา่ ยขน้ึ

การลงท้าย อย่า! จบแบบ ไม่มากกน็ อ้ ย คอยขอโทษ หมดแค่นี้

การลงทา้ ย จง! จบแบบ สรปุ ความ ตามคมปาก ฝากให้คิด สะกิดชกั ชวน

หลกั การพัฒนาคาพดู 9 ประการ 1. อ่านหนงั สือพบประโยค หรอื วลีมีคณุ คา่ จดไวเ้ ป็นเสบียงกรัง 2. จดั ลาํ ดบั ความคิดทจี่ ะพดู ให้คล้องจองเหมือนเรียงความ 3. พูดจากหวั ใจ จรงิ ใจ 4. วิเคราะห์สถานการณ์การพูด คนฟญง สถานท่ี เวลา เรื่องท่ีจะพดู 5. กอ่ นพูดเตรียมร่างกายใหด้ ี 6. ตรวจดูความพร้อมของอุปกรณ์ เชน่ ไมโครโฟน

7. พดู เหมือนการเขียน คาํ นํา เนื้อเร่อื ง สรุป 8. ระลึกว่าการพดู เปน็ “ศาสตร”์ และ “ศิลป์ ” พดู ให้สอดคลอ้ งกับสีหน้าและอารมณ์ 9. กาํ หนดสารบญั การพูดในใจ จากใจ ที่ขน้ึ ใจ

การเตรียมตัวพดู ในทชี่ มุ ชน 1. กาหนดจดุ มงุ่ หมาย ใหช้ ัดเจนวา่ จะพดู อะไร เพอื่ อะไร มีขอบขา่ ยกวา้ งขวางมากน้อย เพยี งใด 2. วิเคราะหผ์ ฟู้ ัง พิจารณาจํานวนผู้ฟงญ เพศ วยั การศึกษา สถานภาพทางสงั คม อาชีพ ความสนใจ ความมุ่งหวัง และ ทัศนคติ ท่ีกลมุ่ ผู้ฟงญ มีตอ่ เรื่องทีพ่ ูด และตวั ผู้พดู เพือ่ นาํ ขอ้ มูลมา เตรยี มพูด เตรยี มวิธีการใช้ภาษาใหเ้ หมาะกบั ผู้ฟงญ 3. กาหนดขอบเขตของเรอื่ ง โดยคาํ นงึ ถงึ เนอ้ื เร่ืองและ เวลาท่จี ะพูด กาํ หนดประเดน็ สําคัญใหช้ ัดเจน

4. รวบรวมเนื้อหา ต้องจัดเนอ้ื หาทผี่ ฟู้ งญ ได้รับประโยชนม์ ากที่สดุ การรวบรวมเนื้อหาทาํ ได้ หาได้จากการศกึ ษา คน้ ควา้ จากการอา่ น การสมั ภาษณ์ ไต่ถามผู้รู้ ใช้ความรู้ ความสามารถ แลว้ จดบนั ทึก 5. เรียบเรียงเนอ้ื เร่อื ง ผู้พดู จัดทาํ เค้าโครงเรือ่ งให้ชัดเจน ตามลําดับจะกลา่ วเปิดเร่อื ง อย่างไร เตรียมการใช้ภาษาให้เหมาะสม กะทดั รดั เขา้ ใจง่าย ตรงประเด็น พอเหมาะกับ เวลา 6. การซอ้ มพูด เพ่อื เพมิ่ ความมั่นใจต้องซอ้ มพูด ออกเสียงพดู อักขรวธิ ี มีลลี าจงั หวะ ท่าทาง สีหนา้ สายตา นํ้าเสียง มผี ฟู้ งญ ชว่ ยติชมการพูด มกี ารบนั ทกึ เสียงการฝึกซอ้ ม

บนั ได 13 ข้ัน 1. เตรียมให้พรอ้ ม 2. ซกั ซอ้ มให้ดี 3. ท่าทีให้สง่า 4. หนา้ ตาใหส้ ขุ ุม 5. ทกั ที่ประชมุ ไม่วกวน 6. เร่มิ ต้นให้โนม้ น้าว 7. เร่ืองราวใหก้ ระชบั 8. ตาจบั ทผ่ี ้ฟู ัง 9. เสียงดังใหพ้ อดี 10. อยา่ ให้มเี ออ้ อา้ 11. ดูเวลาให้พอครบ 12. สรุปจบใหจ้ ับใจ 13. ย้มิ แย้มแจ่มใสตลอดการพูด


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook