ประเภท 1. แบ่งตามแหลง่ ของการฝกึ อบรม ของการฝกึ อบรม 2. แบ่งโดยยดึ ผ้ทู ากิจกรรมเป็นเกณฑ์ 3. แบ่งตามลกั ษณะของผู้เข้ารบั การอบรม 4. แบ่งตามวัตถุประสงค์ของการฝึกอบรม 5. แบ่งโดยยดึ ช่วงเวลาในการฝึกอบรม 6. แบ่งตามผลทีไ่ ด้จากการอบรม 7. แบ่งโดยยดึ ลกั ษณะวธิ กี ารฝกึ อบรมเปน็ หลกั
ประเภทของการฝกึ อบรม นอกจากมีความรู้ความเข้าใจขั้นตอนต่าง ๆ ของกระบวนการฝึกอบรมแล้ว ผู้รับผิดชอบจัดการฝึกอบรมควรเข้าใจถึงแนวความคิดเก่ียวกับการแบ่งประเภทการ ฝึกอบรมซ่ึงจะเกี่ยวข้องการจัดและบริหารงานฝึกอบรมต่อไป การจาแนกหรือแบ่ง ประเภทของการฝกึ อบรม มีเกณฑ์ในการแบ่งโดยยึดหลักต่าง ๆ ได้หลายประเภท ดงั นี้ 1. แบ่งตามแหลง่ ของการฝกึ อบรม พจิ ารณาจากหน่วยงานทท่ี าหนา้ ท่ฝี ึกอบรม ซ่ึงแบ่ง ไดเ้ ปน็ 2 ลักษณะ คอื 1.1 การฝกึ อบรมจากหนว่ ยงานภายในองค์กร (Internal training) 1.2 การฝกึ อบรมจากหน่วยงานภายนอกองคก์ ร (Public training)
2. แบ่งโดยยึดผ้ทู ากจิ กรรมเปน็ เกณฑ์ จาแนกไดเ้ ปน็ 2 ประเภทใหญ่ ๆ ได้แก่ 2.1 วิทยากรเป็นศูนย์กลาง เป็นการอบรมท่ีวิทยากรเป็นศูนย์กลางของการเรียนรู้ หรือมีบทบาท มากกว่าผู้เข้ารับการฝึกอบรม เช่น การบรรยาย(lecture)การสาธิต (demonstration) และ แบบเรียนสาเรจ็ รปู (programmed instruction) เป็นต้น 2.2 ผู้เข้ารับการฝึกอบรมเป็นศูนยก์ ลาง เป็นการเปิดโอกาสให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรม มีบทบาทหรือมีส่วนร่วมในการเรียนรู้มากข้ึน เช่น การอภิปรายกลุ่ม (group discussion) การแสดงบทบาทสมมุติ(role-playing) กรณีศึกษา(case studies) เกม (games) การระดมสมอง(brainstorming) การใช้เคร่ืองคอมพิวเตอร์(computer assisted instruction) และการประชุมเชงิ ปฏบิ ัติการ(workshop) เป็นต้น
3. แบง่ ตามลักษณะของผูเ้ ขา้ รบั การอบรม แบง่ ยอ่ ยได้ 3 ประเภท คอื 3.1 จานวนผู้เขา้ รบั การฝกึ อบรม แบ่งยอ่ ยไดเ้ ป็น 2 ประเภท คือ 3.1.1 การฝึกอบรมเป็นรายบุคคล (Individual training) เป็นการฝึกอบรม เฉพาะรายตามความจาเป็นของบุคคลน้ัน และอาจเป็นการฝึกอบรมในเร่ืองเฉพาะหรือ ขั้นสงู 3.1.2 การฝกึ อบรมเปน็ รายคณะ (Group training) เปน็ การฝึกอบรมใหก้ ับ กลมุ่ บุคลากรทมี่ ีลกั ษณะความจาเป็นในการฝกึ อบรมที่เหมอื นกัน
3.2 แบ่งตามกล่มุ โครงสร้างการบริหารงานของผเู้ ข้ารบั การอบรม แบง่ ย่อยไดเ้ ป็น 2 ประเภท คอื 3.2.1 การฝกึ อบรมเพือ่ พฒั นาบคุ ลากรตามแนวนอนในโครงสรา้ งขององคก์ ร (Vertical) มวี ัตถปุ ระสงค์เพ่อื ใหค้ วามรูท้ วั่ ไป ในลกั ษณะทต่ี ้องการสรา้ งกรอบ แนวความคดิ และแนวปฏบิ ตั ิอยา่ งกว้าง ๆ ไดแ้ ก่ การฝึกอบรมเบือ้ งตน้ (Induction training) 3.2.2 การฝึกอบรมเพือ่ พัฒนาบุคลากรตามแนวตั้งในโครงสร้างขององคก์ ร (Horizontal) มีวัตถปุ ระสงคเ์ พอ่ื ให้ความรู้หรือ สรา้ งทักษะเฉพาะสาหรับบคุ ลากรในแต่ละ ตาแหนง่ หรือสายงาน โดยใชห้ ลักสูตรซง่ึ กาหนดข้นึ โดยเฉพาะตามความจาเป็นในการฝกึ อบรม ของตาแหนง่ นั้น ๆ และมักจะเนน้ ถงึ แนวทางการปฏิบัติงานในรายละเอยี ด ซง่ึ ผูเ้ ขา้ อบรมจะ นาไปใช้ในการทางานได้มากกว่าการฝึกอบรมแนวนอน เช่น การฝึกอบรมสาหรับเจา้ หน้าที่ บคุ คล เลขานกุ าร หรอื ผู้บริหาร
3.3 แบง่ ตามลกั ษณะของเน้ือหาหลักสตู รฝึกอบรม การกาหนดหลกั สตู รฝึกอบรมใน แต่ละดา้ นจะมาจากการสารวจหาความจาเปน็ ในการฝึกอบรม เน่ืองจากเนอื้ งานมีความ หลากหลายหรือมคี วามเจาะจงเฉพาะ โดยผู้เขา้ รบั การฝกึ อบรมจะเปน็ บคุ ลากรซ่งึ ดารง ตาแหน่งแตกตา่ งกัน และแบ่งประเภทการฝกึ อบรมออกเป็นดา้ นตา่ ง ๆ ตามลกั ษณะของ หลักสูตรฝึกอบรม เชน่ การฝึกอบรมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ การฝึกอบรมดา้ นการ บริหารทรัพยากรมนษุ ย์ การฝกึ อบรมดา้ นมาตรฐานการบัญชี เปน็ ต้น
4. แบ่งตามวัตถุประสงค์ของการฝกึ อบรม แบง่ ออกเปน็ 3 ประเภท คือ 4.1 การฝกึ อบรมเพ่ือแก้ปญั หา เม่ือองค์กรค้นพบปัญหาท่ีเกดิ ขึ้นจากการดาเนินงาน และสามารถแก้ไขได้ด้วยการฝึกอบรมจึงจัดการฝึกอบรมขึ้น เช่น เมื่อพบว่าเจ้าหน้าที่ไม่ สามารถจดรายงานการประชุมได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงต้องแก้ปัญหาดังกล่าวด้วยการ จดั ฝกึ อบรมหลกั สูตรเทคนคิ การจดรายงานการประชุมขึ้น 4.2 การฝึกอบรมเพ่ือป้องกันปัญหา เม่ือองค์กรมีแผนเปล่ียนแปลงตัวบุคคลในการ ปฏิบตั งิ าน หรือเปลี่ยนวิธีการปฏิบัตงิ าน หรอื นาเทคโนโลยใี หม่ๆ มาใช้ในการปฏบิ ัติงาน ซึ่งบุคลากรท่ีมีอยู่ไม่สามารถรองรับการปฏิบัติงานน้ันได้ จึงต้องจัดฝึกอบรม เช่น เม่ือ องค์กรมีแผนจะนาคอมพิวเตอร์มาใช้ในการปฏบิ ัติงาน จึงต้องจัดฝึกอบรมให้บุคลการที่ จะต้องใช้คอมพิวเตอร์ในการปฏิบัติงานให้ สามารถใช้คอมพิวเตอร์ได้อย่างมี ประสิทธภิ าพเสียก่อน
4.3 การฝึกอบรมเพ่ือพัฒนาบุคลากร ถึงแม้องค์กรไม่มีปัญหา หรือไม่มีแผน เปลี่ยนแปลงตัวบุคคลในการปฏิบัติงาน หรือไม่มีการนาเทคโนโลยีใหม่ ๆ มาใช้ ก็ตาม องค์กรก็จะต้องพัฒนางานและพัฒนาคน เพ่ือมุ่งสู่ความเป็นเลิศขององค์กรโดยรวม องค์กรจจึงจาเป็นต้องจัดการฝึกอบรมเพ่ือพัฒนาบุคลากรให้มีศักยภาพสูงข้ึน อย่าง ตอ่ เน่อื งและทัง่ ถึงท้งั องค์กร
5. แบ่งโดยยึดช่วงเวลาในการฝกึ อบรม แบ่งออกเปน็ 2 ประเภท คือ 5.1 การฝึกอบรมก่อนประจาการ (Pre-Service Training) เป็นการฝึกอบรมเพ่ือ เตรียมบุคลากรก่อนเข้าทางานให้มีความรู้ ความสามารถในการปฏิบัติงานท่ีได้รับ มอบหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ เนื้อหาของการฝึกอบรมจะเน้นเร่ืองท่ีจาเป็นในการ ปฏิบตั งิ านอย่างละเอียดทกุ ดา้ น 5.2 การฝกึ อบรมระหว่างประจาการ (In-Service Training) เป็นการฝึกอบรมเพ่ือ เพิ่มพูนความรู้ ทักษะ ทัศนคติ หรือเพื่อเตรียมบุคลากรให้พร้อมสาหรับการเลื่อน ตาแหน่งหรือเปล่ียนสายงานแก่ผู้เข้ารับการฝึกอบรม ให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพเพมิ่ ขน้ึ หรือชว่ ยแก้ปัญหาในการปฏิบัติงาน
6. แบ่งตามผลทไ่ี ดจ้ ากการอบรม แบ่งไดเ้ ป็น 3 ประเภท คอื 6.1 การฝกึ อบรมทจ่ี ะชว่ ยให้มีการเรยี นรู้หรอื การเปลยี่ นแปลงด้านความรู้ เช่น การ บรรยาย การสัมมนา 6.2 การฝกึ อบรมทีจ่ ะชว่ ยให้มกี ารเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ทกั ษะ หรือ ความสามารถ เช่น การสาธติ การฝึกปฏิบัติ กรณีศกึ ษา การสรา้ งสถานการณ์จาลอง การสอนงาน การ แสดงบทบาทสมมติ 6.3 การฝึกอบรมท่ีจะชว่ ยให้มีการเปลย่ี นแปลงด้านเจตคติ เช่น การแสดงบทบาท สมมติ กรณีศึกษา การสมั มนา การฝึกปฏิบตั ิ เกมการบรหิ าร
7. แบ่งโดยยดึ ลกั ษณะวธิ ีการฝกึ อบรม แบง่ ออกเปน็ 3 ประเภท คือ 7.1 การฝึกปฏิบัติงานปกติในท่ีทาการ (On the Job Training) เป็นการฝึกอบรม ระหวา่ งการปฏิบัตงิ านจรงิ ๆ เพ่อื ใหผ้ ู้เข้าอบรมเข้าใจถึงวธิ กี ารทางานท่ีถูกต้องเหมาะสม ซ่ึงจากัดเฉพาะงานที่จะทาจริงเท่าน้ัน โดยให้ผู้เข้าอบรมทางานตามปกติ แล้วมีผู้คอย กากับดูแลให้ปฏิบัติอย่างถูกต้อง ผู้คอยกากับอาจเป็นหัวหน้างานหรือครูฝึก ซ่ึงจะทา หน้าที่อธิบาย หรือสาธิตเพิ่มเติมจากการเรียนรู้ ซึ่งผู้เข้าอบรมได้รับจากการฝึกปฏิบัติ ของตนเองเป็นหลัก ในช่วงหลังการฝึกอบรมแบบนี้ มักจะเป็นการปฏิบัติตามคู่มือการ ปฏบิ ตั ิงาน ซงึ่ มีผูเ้ ขียนระบถุ งึ ข้ันตอนและรายละเอยี ดในการปฏบิ ตั ิงานนน้ั ไว้แล้ว
7.2 การฝึกอบรมนอกสถานที่ทางาน (Off the Job Training) เพ่อื เตรียมใหผ้ ูเ้ ขา้ อบรมพรอ้ มทีจ่ ะปฏิบตั ิงานได้ทนั ที หรอื พร้อมในการที่จะเข้ารบั การฝกึ ปฏิบตั งิ านปกติ ในท่ที าการ หรอื เพ่อื ลดค่าใชจ้ ่ายหรือ ความเสียหายทอ่ี าจเกดิ ข้ึน กรณีเปน็ งานทีเ่ ส่ยี งต่อ ความเสียหายหรอื เสีย่ งอันตราย การฝึกอบรมแบบน้จี ะเน้นจานวนผูเ้ ข้ารับการอบรมคร้งั ละมาก ๆ อบรมในหอ้ ง ประชมุ ใช้เทคนิคการบรรยาย อภิปราย เป็นหลกั 7.3 การฝึกอบรมแบบผสม คอื การฝกึ อบรมที่มีทั้งการฝกึ อบรมขณะทางานและการ ฝึกอบรมนอกสถานที่ทางานประกอบกนั
Search
Read the Text Version
- 1 - 12
Pages: