ภาษอี ากร ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินไดน้ ิติบคุ คล ภาษีมลู ค่าเพ่มิ ภาษีธุรกจิ เฉพาะ อากรแสตมป์ ภาษีสรรพสามิต ภาษีศลุ กากร ภาษโี รงเรอื น ภาษีบารงุ ท้องที่ ภาษปี า้ ย
ความหมาย “ภาษีอากร” หมายถึง เงินท่รี ฐั จัดเก็บจาก ประชาชนและผู้ประกอบการ เพ่อื นามาเป็นรายไดใ้ ช้ในการพัฒนาประเทศดา้ น ต่าง ๆ
วตั ถุประสงคข์ องการจัดเกบ็ ภาษอี ากร 1. นาไปพัฒนาประเทศดา้ นตา่ ง ๆ เชน่ ☀ ด้านการศึกษา ☀ ดา้ นสาธารณสุข ☀ ด้านเศรษฐกิจ ☀ ด้านคมนาคม ☀ ด้านการทหาร
วัตถปุ ระสงค์ของการจัดเก็บภาษอี ากร 2. เพื่อส่งเสรมิ และคมุ้ ครองอุตสาหกรรม ภายในประเทศ ☀ การต้งั กาแพงภาษี สนิ ค้านาเข้าราคาแพง กวา่ สนิ ค้าทผี่ ลติ ในประเทศ ☀ ยกเวน้ หรือลดอตั ราภาษี ทาให้ ผ้ปู ระกอบการมตี น้ ทนุ ตา่
วตั ถุประสงค์ของการจดั เก็บภาษีอากร 3. เพ่ือควบคุมการบรโิ ภคของประชาชนในประเทศ เชน่ ภาษีสรรพสามติ ภาษมี ลู คา่ เพ่มิ 4. เพอ่ื กระจายความม่งั ค่ังจากผมู้ รี ายไดม้ ากไปสู่ผมู้ ี รายไดน้ อ้ ย เชน่ ภาษเี งินได้บุคคลธรรมดา
วัตถปุ ระสงค์ของการจดั เก็บภาษอี ากร 5. เพอ่ื ใช้เปน็ เคร่ืองมอื ในการควบคมุ ปริมาณเงนิ หมนุ เวยี นภายในประเทศ ☁ ถ้าปรมิ าณเงินในมือประชาชนมากเกนิ ไป อาจเกดิ ภาวะเงนิ เฟอ้ รฐั จะเก็บภาษีมูลคา่ เพิ่มแพงขึ้น ☁ ถา้ มีเงินหมุนเวียนในระบบนอ้ ย อาจเกดิ ภาวะเงินฝดื รฐั จะลดภาษีมูลคา่ เพิ่ม
การจาแนกประเภทภาษีอากร จาแนกตามการผลักภาระภาษี ได้ 2 ประเภท ไดแ้ ก่ 1. ภาษีทางตรง ภาษที ีผ่ ้มู ีหน้าท่ีเสียภาษีไมส่ ามารถผลกั ภาระ ให้ผูอ้ ื่นจ่ายแทนได้ เชน่ ภาษเี งินได้บคุ คลธรรมดา ภาษีเงินได้ นติ บิ ุคคล 2. ภาษีทางอ้อม ภาษที ี่ผ้มู หี น้าทเ่ี สยี ภาษสี ามารถผลกั ภาระ ให้ผู้อ่นื จ่ายแทนได้ เช่น ภาษมี ลู คา่ เพิ่ม ภาษีธุรกจิ เฉพาะ อากรแสตมป์ ภาษีสรรพสามติ ภาษศี ุลกากร
ภาษีเงนิ ไดบ้ คุ คลธรรมดา การจดั เกบ็ ภาษีจากบคุ คลทกุ คนท่มี ีรายได้ถึงเกณฑ์ ที่กาหนดตาม ประมวลรษั ฎากร ผูม้ ีหนา้ ท่ีเสยี ภาษีเงินได้บคุ คลธรรมดา ♥ บุคคลธรรมดา ♥ ผู้ท่ีถึงแก่ความตายระหว่างปีภาษี ♥ หา้ งหุ้นส่วนสามัญหรือคณะบคุ คลท่มี ิใชน่ ติ ิบุคคล ♥ กองมรดกท่ียังไมไ่ ด้แบ่ง
ภาษเี งินไดบ้ คุ คลธรรมดา เงนิ ได้พึงประเมนิ หมายถึง เงิน ทรัพยส์ ิน หรอื ประโยชน์อย่างอ่นื ที่ ไดร้ บั และอาจคิดคานวณไดเ้ ปน็ เงนิ ประเภทที่ 1 เงินเดอื น คา่ จา้ ง(งานประจา) ประเภทท่ี 2 ค่าจ้างทาของ (งานเปน็ จ๊อบ) ประเภทท่ี 3 คา่ ลขิ สทิ ธ์ิ ทรพั ยส์ ินทางปัญญา ประเภทที่ 4 ดอกเบี้ย เงินปันผล ประเภทที่ 5 คา่ เช่า ประเภทที่ 6 ค่าวชิ าชีพอิสระ ประเภทที่ 7 ค่ารบั เหมา(ทั้งคา่ แรงและค่าของ) ประเภทท่ี 8 เงนิ ไดอ้ ่นื ๆ
ภาษีเงนิ ไดบ้ คุ คลธรรมดา การชาระภาษี 1. มเี งินได้พงึ ประเมนิ ประเภทท่ี 1 ประเภทเดยี ว ย่ืนปีละ 1 ครง้ั 1 ม.ค.-31 ม.ี ค. ของทุกปี 2. มีเงินไดพ้ งึ ประเมนิ เกิน 1ประเภท ยื่นปลี ะ 2 ครัง้ 6 เดือนย่นื 1 คร้งั สถานที่ สรรพากร เคาเตอร์เซอรว์ สิ ธนาคาร เว็บไซต์ กรมสรรพากร
ภาษเี งินไดน้ ติ ิบคุ คล ภาษีท่เี รียกเก็บจากผทู้ ป่ี ระกอบธุรกิจ ท่ีจดทะเบยี นเปน็ นติ ิบุคคล ท่ีมรี ายไดจ้ ากหรือในประเทศไทย คานวณจาก 1. กาไรสุทธิ 2. รายได้กอ่ นหกั รายจา่ ย 3. เงนิ ไดท้ ่จี า่ ยจากหรอื ในประเทศไทย 4. การจาหน่ายเงนิ กาไรไปนอกประเทศ
ภาษเี งินไดน้ ิตบิ ุคคล การย่ืนแบบชาระภาษี 1 ปี ยื่น 2 ครั้ง คือ 1. การเสยี ภาษคี รึ่งรอบระยะเวลาบญั ชี ยื่นและชาระ ภายใน 2 เดือน นับจากวันสุดทา้ ยของ 6 เดือนแรก 2. การเสียภาษีส้ินรอบระยะเวลาบัญชี ยืน่ และชารภายใน 150 วนั นบั จากวนั สดุ ท้ายของรอบระยะเวลาบัญชี
ภาษมี ูลค่าเพม่ิ (Value Added Tax “VAT”) การจัดเกบ็ ภาษีจากการจาหนา่ ยสนิ ค้าหรอื บรกิ ารและการ นาเข้าสินค้าแต่ละข้ันตอน ภาษขี าย = ภาษที ่ผี ูป้ ระกอบการฯ เรียกเกบ็ จากผูซ้ ้ือสินคา้ หรอื ผู้รบั บริการทุกครง้ั ที่มีการซื้อสินค้า ภาษซี ื้อ = ภาษีที่ผ้ปู ระกอบการฯ ได้จา่ ยให้กับผู้ขายสนิ คา้ หรือ ผูป้ ระกอบการฯ ทกุ ครงั้ ทม่ี กี ารซ้อื สินคา้
ผมู้ หี นา้ ทเี่ สยี ภาษมี ลู คา่ เพ่ิม ผปู้ ระกอบการ (ทงั้ บคุ คลธรรมดาและนติ บิ ุคคล) ขายสนิ ค้า หรอื บรกิ าร ทม่ี รี ายรบั เกิน 1 ลา้ น 8 แสนบาท ต่อปี ผปู้ ระกอบการทีไ่ มต่ ้องจดทะเบยี นภาษมี ูลค่าเพ่ิม 1. ผูป้ ระกอบการมีรายรบั ฯ ไม่เกิน 1 ล้าน 8 แสนบาท ตอ่ ปี 2. ผูป้ ระกอบการทีไ่ ด้รับยกเว้นภาษีมูลค่าเพม่ิ ตามกฎหมาย 3. ผู้ประกอบการทใ่ี ห้บรกิ ารจากต่างประเทศ 4. ผปู้ ระกอบการอยู่นอกราชอาณาจกั รและเข้ามาประกอบการเปน็ ครัง้ คราว 5. ผปู้ ระกอบการอ่ืนตามทอ่ี ธบิ ดีจะประกาศกาหนด
ผู้มีหนา้ ท่ีเสยี ภาษีมูลค่าเพม่ิ ผู้ประกอบการที่ได้รบั ยกเวน้ ภาษีมูลค่าเพมิ่ แต่สามารถขอจดทะเบยี น ได้ 1. ผปู้ ระกอบการมีรายรบั ฯ ไมเ่ กนิ 1 ล้าน 8 แสนบาท ต่อปี 2. ผ้ปู ระกอบการขายพืชผลทางการเกษตร สัตว์ ปยุ๋ ปลาปน่ อาหารสัตย์ ยาเคมีภณั ฑ์สาหรับพชื หรอื สตั ว์ หนงั สือพิมพ์ นติ ยสาร ตาราเรียน ฯลฯ 3. การให้บริการขนสง่ ในราชอาณาจกั รโดยอากาศยาน 4. การส่งออกของผปู้ ระกอบการตามกฎหมายนคิ มอุตสาหกรรมแหง่ ประเทศไทย 5. ผปู้ ระกอบการขนส่งน้ามันเชอ้ื เพลงิ ทางท่อในประเทศ
อัตราภาษี อตั ราภาษีมูลค่าเพ่มิ มี 2 อตั รา คือ 1. รอ้ ยละ 7 สาหรบั ผปู้ ระกอบการทีม่ รี ายรบั กอ่ นหกั รายจา่ ยเกิน 1 ล้าน 8 แสนบาทตอ่ ปี 2. รอ้ ยละ 0 สาหรับผู้ประกอบการที่สง่ ออก
ภาษีธุรกิจเฉพาะ ภาษที ่เี ก็บจากผ้ปู ระกอบธรุ กจิ ดงั น้ี 1. กจิ การธนาคาร 2. ธุรกิจเงนิ ทนุ ธรุ กจิ หลักทรัพย์ ธรุ กิจเครดิตฟองซิเอร์ 3. กจิ การประกันชีวิต 4. กิจการรับจานา 5. การประกอบกจิ การเยอื่ งธนาคารพาณิชย์ 6. การขายอสังหารมิ ทรัพย์เป็นทางการค้าหรอื หากาไร
อากรแสตมป์ เปน็ ภาษที ีเ่ กบ็ จากการทาตราสาร ดงั นี้ 1. ต๋ัวแลกเงินและตั๋วสญั ญาใช้เงนิ 2. สญั ญาเช่าท่ีดนิ หรอื โรงเรอื น 3. สัญญาเช่าซอ้ื ทรัพยส์ ิน 4. สัญญากู้ยืมเงิน 5. ใบหนุ้ ใบหนุ้ กู้ ชาระโดย ปดิ อากรแสตมปท์ บั กระดาษ
ภาษีสรรพสามิต ภาษีท่เี รยี กเก็บจากผ้ผู ลติ ผูป้ ระกอบการธรุ กจิ อตุ สาหกรรม ผนู้ าเข้าสินค้า และผปู้ ระกอบกิจการสถาน บริการ กรมสรรพสามติ กระทรวงการคลังเป็นผจู้ ัดเก็บ *สนิ คา้ ท่ตี ้องเสียภาษีมลู คา่ เพมิ่ ด้วยกรมสรรพสามิตจะเก็บ แทนกรมสรรพากร*
ภาษสี รรพสามิต สนิ ค้าที่ตอ้ งเสียท้งั ภาษีสรรพสามิตและภาษีมลู ค่าเพ่มิ 1. รถยนต์ 2. นา้ หอมและหัวนา้ หอม 3. สรุ า เบยี ร์ 4. ยาสบู 5. ไพ่ 6. เรือยอร์ช 7. น้ามันและผลิตภัณฑน์ า้ มนั 8. เคร่อื งใชไ้ ฟฟา้ 9. โรงภาพยนตร์ 10. เคร่อื งดม่ื
ภาษศี ลุ กากร เงนิ หรือทรัพย์ ที่เรียกเก็บจากการนาสิง่ ของผา่ นเขา้ มาในประเทศหรอื สง่ สงิ่ ของออกไปตา่ งประเทศ ผู้มีหน้าท่ีชาระภาษศี ุลกากร คอื ผู้ท่ีนาเข้าหรือสง่ สิ่งของน้นั ชาระที่ด่านศุลกากร หรอื กรมศลุ กากร
ภาษีศลุ กากร การนาเข้าหรือส่งออก แบ่งออกเป็น 4 ประเภท คอื 1. การนาเขา้ -ส่งออกทางบก 2. การนาเขา้ -ส่งออกทางเรือ 3. การนาเขา้ -ส่งออกทางอากาศยาน 4. การนาเข้า-ส่งออกทางไปรษณีย์
ภาษีโรงเรอื น ภาษีบารงุ ทอ้ งท่ี ภาษปี ้าย ภาษีโรงเรือน = ภาษที ่ีเก็บจากผ้มู ีรายไดจ้ ากการใช้ โรงเรือนเพอ่ื ทาธรุ กิจการค้า หรือใหเ้ ชา่ จัดเก็บรอ้ ยละ 12.5 ของคา่ รายปี บ้านพกั อาศยั หรอื สถานท่ีราชการไมต่ อ้ งเสยี ภาษี โรงเรอื น
ภาษโี รงเรือน ภาษีบารุงท้องที่ ภาษปี า้ ย ภาษบี ารงุ ทอ้ งท่ี = ภาษีทเ่ี รยี กเกบ็ จากผู้มที ่ดี นิ ภาษปี ้าย = ภาษีที่เรียกเก็บจากเจา้ ของป้าย หรอื ผู้ ครอบครองป้าย จัดเกบ็ ตามขนาดของป้าย ยนื่ แบบแสดงรายการภาษปี า้ ยภายในเดือนมนี าคม ของทกุ ปี และชาระภายใน 15 วัน นบั แตว่ นั ทไ่ี ดร้ บั การแจง้ ประเมิน
Search
Read the Text Version
- 1 - 24
Pages: