Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 11.วิธีการฝึกอบรม

11.วิธีการฝึกอบรม

Published by นงเยาว์ บุญริน, 2021-01-30 23:14:24

Description: 11.วิธีการฝึกอบรม

Search

Read the Text Version

การบรรยาย วธิ กี ารฝึกอบรม แบบการเรียนสาเร็จรูป เกมบริหาร การประชุมเชิงปฏบิ ตั กิ าร การสาธติ การอภปิ ราย การประชุมกลุม่ ซนิ ดิเคท กรณีศกึ ษา การบรรยายเปน็ ชุด การแสดงบทบาทสมมุติ การฝึกปฏิบัติ การเรียนรูจ้ ากการปฏบิ ัติ การฝึกอบรมขณะปฏบิ ตั งิ าน การสัมมนา การใหก้ ารศึกษาด้วยตนเอง การศกึ ษานอกสถานท่ี การระดมสมอง

วธิ กี ารฝึกอบรม วิธีการฝึกอบรม หมายถึง เคร่ืองมือหรือวิธีการ ที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารและ ถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์ระหว่างวิทยากรกับผู้เข้าอบรม เพื่อทาให้ผู้เข้าอบรมมี ความรู้ ทกั ษะ ความสามารถ และสร้างทศั นคติตามวัตถุประสงคข์ องการฝึกอบรม เทคนคิ การฝึกอบรม เป็นวธิ ีการ เคร่ืองมือ และกจิ กรรมต่าง ๆ ท่ีจะช่วยในการ ถา่ ยโอนความรคู้ วามเข้าใจ ทักษะ เจตคติ และประสบการณ์เพอื่ ให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรม ได้รับความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ตา่ ง ๆ ให้สามารถปรับเปลี่ยนความคิด พฤติกรรม อนั ที่จะนาไปสูก่ ารปฏบิ ตั งิ านให้สาเรจ็ หรอื ทาใหม้ ีผลที่ดตี อ่ การปฏิบตั ิงาน

เทคนคิ และวิธีการฝกึ อบรม จงึ มคี วามหมายเหมอื นกัน ในหนว่ ยน้ีจะใชท้ งั้ คาว่า เทคนิคและวธิ ีการฝกึ อบรม ตามความเหมาะสม การเลือกใช้เทคนิคหรือวิธีการฝึกอบรมควรก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงด้าน ความรู้ ทักษะ ทัศนคติที่พึงประสงค์ นาไปสู่เป้าหมายการฝึกอบรมท่ีต้ังไว้ ช่วยกระตุ้นผู้ เข้าอบรมให้เกิดการเรียนรู้และสร้างบรรยากาศท่ีไม่น่าเบ่ือ ช่วยทาให้ผู้เข้าอบรมได้ แลกเปลยี่ นประสบการณจ์ รงิ และไดร้ ู้สึกถงึ ความสอดคลอ้ ง เกยี่ วโยงกับตวั ผู้เขา้ อบรม เทคนิคหรือวิธีการฝึกอบรมท่แี ตกต่างกนั จะมีประสทิ ธิภาพมากนอ้ ยเพียงใด ขน้ึ อย่กู บั ความ เหมาะสมและบริบทของแตล่ ะองค์กร องคก์ รจงึ ต้องพจิ ารณาเลือก เทคนิคหรอื วิธีการฝึกอบรมทีเ่ หมาะสมกับองคก์ รมากท่ีสุด เทคนคิ หรือวธิ ีการฝกึ อบรมมี หลายวธิ ี ดังต่อไปนี้

1. การบรรยาย (Lecture) เหมาะสมสาหรับการฝึกอบรมท่ีมีการบรรยายเนื้อหา รองรบั ผ้เู ข้ารบั การอบรมจานวนมาก เป็นวธิ ที ี่นิยมมาก เพราะประหยัดและใช้ทรัพยากร ให้เกดิ ประโยชนส์ ูงสดุ วิทยากรต้องเป็นผู้มีความรู้ ความสามารถและมีทักษะในการพูด และการสะกด ผฟู้ งั ใหส้ นใจตลอดเวลา จึงตอ้ งมกี ารใช้โสตทศั นปู กรณ์ประกอบการบรรยาย ได้แก่ วีดิโอ คอมพิวเตอร์ สไลด์ อินเทอรเ์ น็ต วธิ กี ารบรรยายนจี้ ะถูกนาไปใช้รว่ มกับ การฝึกอบรมทุกวธิ ี เนอ่ื งจากการฝกึ อบรม ทกุ วิธีต้องมกี ารอธิบายเนือ้ หาตา่ ง ๆ กอ่ นเสมอ

2. การอภิปราย (Discussion) เป็นการพูดแสดงความคิดเห็นของกลุ่มคนท่ีมีความ สนใจในปัญหาเร่ืองเดียวกัน เพ่ือต้องการที่จะแลกเปล่ียนความคิดเห็นและหาข้อสรุป ร่วมกัน การอภิปรายมหี ลายแบบ ดังนี้ 2.1 การอภิปรายเป็นหมู่คณะ (Panel Discussion) เป็นการอภิปรายร่วมกันของ กลุ่มบุคคลหรือผู้ทรงคุณวุฒิประมาณ 3-5 คน โดยมีผู้ดาเนินรายการทาหน้าที่ในการ อภิปราย และสรปุ ประเด็นความคดิ เหน็ ของ ผทู้ รงคณุ วฒุ แิ ตล่ ะคน รวมทง้ั เปิดโอกาสให้ ผู้เขา้ รว่ มอบรมซกั ถามปัญหาเพมิ่ เติมได้

2.2 การอภิปรายแบบชุมนุมปาฐกถา (symposium discussion) คล้ายกับการ อภิปรายเป็นหมู่คณะ แต่เน้นหัวข้อสาคัญ เม่ืออภิปรายเสร็จส้ิน จะเปิดโอกาสให้ผู้ฟังได้ มกี ารซกั ถามปญั หาตา่ ง ๆ ได้ 2.3 การอภปิ รายกลมุ่ (group discussion) การประชุมร่วมกันต้ังแต่ 5-15 คน ข้ึน ไปเพ่ือแสดงความคิดเห็น ประสบการณ์ ความรู้ ความเข้าใจ หรือข้อเสนอแนะของ สมาชิกแต่ละคน เป็นการเปิดโอกาสให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้อภิปรายในเรื่องใดเร่ือง หน่ึง เพื่อหาข้อสรุปหรือข้อยุติร่วมกัน โดยมีประธานกลุ่มเป็นผู้ดาเนินการให้สมาชิกได้ แสดงความคิดเห็น และเลขานกุ ารกลมุ่ เปน็ ผ้จู ดบนั ทกึ ข้อสรปุ

3. การบรรยายเป็นชดุ (symposium) เป็นการประชุมเชิงบรรยายของกลุม่ ผมู้ ีความรู้ ความสามารถเป็นพเิ ศษ เป็นการประชมุ ทเี่ นน้ ตัวผู้บรรยายหรอื วิทยากร มีลกั ษณะ ใกล้เคียงกบั การอภปิ รายเป็นหมู่คณะ (panel discussion) แตกต่างกนั ทผ่ี ู้บรรยายแต่ ละคนจะไดร้ ับมอบหมายใหพ้ ูดหรือบรรยายในเรื่องใดเรื่องหนงึ่ ตามลาพัง เมอ่ื บรรยาย เสร็จก็อาจมกี ารอภปิ รายเปน็ หมู่คณะ ผอู้ ภปิ รายแตล่ ะคนสามารถแสดงความคดิ เหน็ หรอื อภิปรายในหวั ข้ออนื่ ได้ ใหผ้ ้เู ข้ารบั การอบรมซกั ถามได้

4. แบบการเรยี นสาเร็จรูป (Programmed Instruction) เป็นวิธีการท่ีให้ผู้เข้ารับการ อบรมเรียนรู้ด้วยตนเองจาก “แบบเรียนสาเร็จรูป” ท่ีได้เตรียมไว้ก่อนล่วงหน้า ซึ่งจะ ประกอบด้วยเนื้อหาสาระและความรู้เรียงลาดับไว้ ผู้เรียนจะเรียนรู้ไปตามลาดับข้ันตอน เพิ่มข้ึนทีละขั้น ไปสู่ความรู้ใหม่ท่ีบทเรียนสาเร็จรูปกาหนดไว้ โดยมีวิทยากรคอยดูแล แนะนาช่วยเหลือ ผู้เรยี นจะได้รับแรงเสริมโดยการตรวจคาตอบแต่ละขน้ั ตอนด้วยตนเอง ทันที ตวั อยา่ งเชน่ การฝกึ ปฏิบัตกิ ารใชส้ อื่ โสตทัศน์ คอมพิวเตอร์ และระบบออนไลน์

5. เกมบริหาร (Management Game) วิธีน้ีวิทยากรจะกาหนดหัวข้อและกติกา แล้ว ให้ผเู้ ขา้ รับการฝกึ อบรมแขง่ ขนั กันตามกติกาทีก่ าหนด ให้สาเรจ็ ตามจดุ ประสงค์ วิทยากรจะสรุปผลหาผู้ชนะตามกติกา โดยให้แสดงผลการดาเนินงานและให้ผู้ เข้ารบั การฝึกอบรมร่วมกนั สรุปสิง่ ทไี่ ด้รบั จากเกม เป็นเทคนิคท่ีมีการพัฒนาขีดความสามารถของบุคคล ส่งเสริมให้ผู้เข้ารับการ ฝึกอบรมมีความสนกุ กระตือรอื ร้น และไดเ้ รยี นรู้วธิ แี กป้ ญั หาทเ่ี กดิ ขึ้นจริงในสถานการณ์ การทางาน ผเู้ ข้ารับการฝกึ อบรมจะได้เรียนรู้ท้ัง การวางแผน การตัดสินใจ การคิดแกป้ ัญหา การทางานเป็นทมี การสรา้ งมนุษยสัมพันธแ์ ละความเป็นผ้นู า เปน็ ต้น

6. การสาธิต (Demonstration) วิธีน้ีผู้ฝึกอบรมหรือวิทยากรจะแสดงการทางานให้ดู เป็นตัวอย่าง แล้วให้ผู้รับการฝึกอบรมทาตาม ผู้เข้ารับการฝึกอบรมจะได้เห็นการปฏิบัติ จริง มีลักษณะคล้ายการสอนงาน การทางานบางอย่างไม่อาจพูดหรืออธิบายให้เข้าใจได้ จาเป็นต้องแสดงการปฏบิ ตั จิ รงิ ใหด้ เู ป็นตวั อยา่ งประกอบจงึ จะสามารถปฏิบตั ิตามได้

7. การประชุมเชิงปฏิบัติการ (Workshop) เป็นการประชุมปรึกษาหารือ ศึกษา ค้นควา้ หรอื วิเคราะห์ เพือ่ แก้ปญั หาร่วมกันของผู้เข้ารับการฝึกอบรม โดยมุ่งเน้นให้เกดิ การเรียนรู้ ท้ังด้านทฤษฎีและปฏิบัติ การใช้เทคนิคการประชุมเชิงปฏิบัติการ กลุ่มเป้าหมายจะเป็นผู้บังคับบัญชาในระดับต่าง ๆ ดังนั้น วิทยากรจึงต้องเป็นผู้ท่ีมี ความรู้ ความสามารถท่ีจะถ่ายทอดและแลกเปลี่ยนประสบการณ์กับผู้เข้ารับการ ฝึกอบรมด้วย เมื่อเสร็จส้ินการฝึกอบรม ผู้เข้ารับการฝึกอบรมสามารถนาความรู้ หลกั การและทฤษฎีไปปฏิบัติงานในสถานการณ์จริงได้

8. การประชมุ กลุ่มซินดเิ คท (Syndicate) เปน็ การฝึกอบรมโดยแบง่ ผ้เู ขา้ รบั การ ฝึกอบรมออกเป็นกลมุ่ ๆ ละ 5 -11 คน แตล่ ะกลุ่มจะต้องประกอบดว้ ยคนที่มคี วามรู้ และประสบการณ์ท่ีแตกตา่ งกัน ต่างหนว่ ยงาน ต่างลักษณะงาน มาแลกเปล่ียนอภิปราย รว่ มกนั เพอื่ ใหไ้ ดค้ วามรแู้ ละประสบการณใ์ หม่ ๆ จะทาใหเ้ กิดการเรียนรตู้ ่อกนั ได้อยา่ ง กว้างขวาง และศึกษาไดอ้ ยา่ งลึกซง้ึ มากกว่าการแบ่งกล่มุ ประเภทอืน่ ผเู้ ขา้ รบั การฝึกอบรมในกลุ่มจะต้องเปน็ ผทู้ ีม่ คี วามรแู้ ละประสบการณส์ งู พอสมควร จงึ จะเกดิ ประโยชน์ต่อการประชมุ ทาให้ไดร้ บั ความรู้ ประสบการณท์ ี่ หลากหลาย ผู้เขา้ รบั การฝึกอบรมจะไดร้ บั มอบหมายและเตรยี มการล่วงหน้า การประชมุ กลมุ่ ซินดิเคท จะเน้นการศึกษาคน้ ควา้ อย่างลกึ ซึง้ และกวา้ งขวางกวา่ วิธกี ารหรอื รปู แบบอ่นื ๆ

9. กรณีศึกษา (Case Study) เปน็ การฝกึ อบรมโดยใช้ตัวอย่างสถานการณ์ทางธรุ กิจ หรือปญั หาทเ่ี กดิ ขน้ึ จริง นามาเขยี นเป็นกรณีตวั อย่างหรอื สร้างเป็นวดี โี อคลิป ใหผ้ ู้เขา้ รับ การอบรมไดศ้ ึกษารายละเอยี ดและอภปิ รายในประเด็นตา่ ง ๆ แลว้ จึงเสนอความคิดเห็น ในการแก้ปญั หาโดยใชว้ ธิ กี ารอภิปรายกลุ่มด้วยการสรุปแนวคดิ ทฤษฎี และหลกั การเพื่อ ค้นหาคาตอบหรอื เทคนคิ ทเ่ี หมาะสม หากผู้รบั การฝึกอบรมประสบปญั หาจรงิ ในหน่วยงานของตน กจ็ ะสามารถคน้ พบ สภาพการณ์จริงของปญั หานั้นได้ และสามารถวเิ คราะหถ์ ึงปญั หาและสาเหตุแหง่ ปัญหาท่ี เกดิ ขึ้นในสถานการณน์ ัน้ ๆ ได้เป็นอยา่ งดี

10. การแสดงบทบาทสมมุติ (Role Playing) เป็นการจดั กจิ กรรมใหผ้ ้เู ขา้ รับการ ฝกึ อบรมได้แสดงบทบาทสมมตุ ิ โดยวทิ ยากรจะเป็นผ้กู าหนดโครงเร่ืองและมอบหมายให้ ผเู้ ขา้ รับการฝกึ อบรมแต่ละคนไดแ้ สดงบทบาท อยา่ งใดอย่างหนึ่งตามทกี่ าหนด เมื่อผูเ้ ขา้ รับการฝกึ อบรมแตล่ ะคนไดร้ บั มอบหมายบทบาทแลว้ ก็แสดงบทบาทไปตามความคดิ และความร้สู ึกของตนเอง รวมทั้งตอ้ งกลา้ ทีจ่ ะแสดงออกให้สมจริงตามบทบาททกี่ าหนด สมาชกิ ของกลมุ่ จะเปน็ ผ้คู อยสงั เกตดกู ารแสดงอย่างละเอยี ด เพื่อใหส้ ามารถ วเิ คราะห์ อภิปราย และพิจารณาทางแกป้ ัญหาตามวัตถปุ ระสงค์ที่ตัง้ ไว้ การแสดงบทบาทสมมตจิ ะใชเ้ วลาช่วงระหว่าง 5 -10 นาท และการจดั สถานที่ แสดง ตอ้ งให้ผเู้ ข้ารว่ มฝึกอบรมสามารถมองเห็นโดยทั่วถงึ กัน

11. การฝกึ ปฏบิ ัติ (Practical Exercise) เป็นการนาทฤษฎีหรอื แนวคิดตามทไี่ ดเ้ รยี นรู้ มาทดลองปฏิบตั ิในตอนท้ายของการฝกึ อบรม วทิ ยากรจะเปน็ ผู้เตรยี มกจิ กรรมหรือสิง่ ท่ี จะให้ฝกึ ปฏบิ ัตไิ วล้ ว่ งหนา้ หลงั จากได้ฝกึ อบรมทางทฤษฎีจบแล้ว วิทยากรจะใหผ้ ู้เข้ารับการฝึกอบรมได้ ทดลองปฏบิ ัตหิ รือฝึกทาตามท่ไี ดส้ อนไว้ วิทยากรอาจปฏบิ ตั ิหรือสาธติ ให้ดูกอ่ น แลว้ ใหผ้ ู้ เขา้ รบั การฝกึ อบรมทดลองปฏบิ ัติ โดยวิทยากรจะคอยดูวา่ สามารถปฏิบตั ิไดจ้ รงิ หรอื ไม่ ทาผิดหรือถกู อย่างไร วิธีการนจี้ ะช่วยให้ทราบไดว้ ่าการฝกึ อบรมจะบรรลวุ ัตถุประสงค์ หรอื ไม่ เพยี งใด

12. การใหก้ ารศึกษาดว้ ยตนเอง (Self-Study) กรณที บ่ี คุ ลากรในองคก์ รไมพ่ ร้อมจะ เข้ารว่ มอบรมอย่างเป็นทางการ การใหก้ ารศกึ ษาดว้ ยตนเองเป็นวธิ กี ารฝกึ อบรมวธิ หี นง่ึ ที่ สามารถช่วยใหบ้ คุ ลากรมีโอกาสได้ฝึกอบรมตามความต้องการ เลอื กสนใจทจี่ ะเรียนรู้ ดว้ ยตนเอง ไดแ้ ก่ ศึกษาจากเอกสาร คู่มอื ทาแบบฝึกหดั แบบทดสอบ ศกึ ษาจากวีดิโอ ออนไลน์ เวบ็ ไซตต์ ่าง ๆ เปน็ ตน้

13. การสัมมนา (Seminar) เป็นการประชุมเพื่อร่วมกันแสดงความคิดเห็นและร่วมกัน สรุป หรือหาแนวทางปฏิบัติร่วมกันของผู้ท่ีมีอาชีพเดียวกัน หรือลักษณะการทางาน เหมือนกัน ประสบการณ์ทางานคล้ายกัน โดยมีผู้ทรงคุณวุฒิท่ีมีความรู้จริงและมี ประสบการณใ์ นการทางานด้านน้ัน คอยใหค้ าแนะนา ชี้แนะ และสรุปประเด็นต่าง ๆ ให้ ชดั เจนหากผรู้ ว่ มสมั มนามคี วามเหน็ ไมต่ รงกัน ส่วนใหญ่จะมีการบรรยายให้ความรู้พื้นฐานก่อนแล้วจึงแบ่งกลุ่มย่อย จากน้ันนา ผลการอภปิ รายของกล่มุ ย่อยมานาเสนอต่อที่ประชมุ ใหญ่ วิธีการสาคญั คอื ผูร้ ่วมสัมมนา ทกุ คนต้องร่วมกันอภปิ รายเสนอความคิดเหน็

14. การศึกษานอกสถานที่ (Field trip) เป็นการพาผเู้ ขา้ รบั การฝกึ อบรมไปศกึ ษายัง สถานท่อี ่ืนนอกสถานท่ฝี ึกอบรม เพ่ือใหพ้ บเห็นส่ิงใหม่ ๆ ภายนอก ใหส้ ามารถนามาปรบั ใชใ้ นการปฏิบัติงาน ซ่ึงผู้จดั การฝึกอบรมต้องเตรยี มการเปน็ อย่างดี วธิ กี ารคือนาผเู้ ขา้ รับ การฝึกอบรมไปศึกษาดูงานนอกสถานที่

15. การเรียนรู้จากการปฏบิ ตั ิ (The Action Learning) เปน็ ฝึกอบรมโดยการใหผ้ ู้เขา้ รับการฝกึ อบรมแลกเปลี่ยนประสบการณ์จากปัญหาในการปฏบิ ัตงิ านจริง คอื การนา ปัญหาในการปฏิบตั งิ านมาเป็นโจทย์ในการเรยี นรู้ ท้ังต้องมีการคิดหาวธิ ีในการแกป้ ญั หา หรอื พัฒนางาน มกี ารระดมสมอง เรียนรกู้ ารทางานเป็นทีม แตห่ ากผ้ดู าเนนิ การฝกึ อบรมขาดทกั ษะจะทาให้ผ้เู ข้ารบั การฝกึ อบรมไมไ่ ดเ้ รยี นรู้ อยา่ งแท้จริง และหากผ้เู ขา้ รับการฝึกอบรมไมม่ ีประสบการณ์และขาดทักษะในการแสดง ความคิดเหน็ จะทาใหก้ ารอบรมแบบน้ไี ม่ได้ผล

16. การฝกึ อบรมขณะปฏบิ ัตงิ าน (On the job training) เป็นการฝึกอบรมท่ีให้ผู้เข้า รับการฝึกอบรมได้เรียนรู้การปฏิบัติงานจริงด้วยการลงมือปฏบิ ัติ โดยให้หัวหน้างานหรือ ผเู้ ชียวชาญในงานสอนในสถานท่ีทางานจริง ซึ่งเป็นการปฏบิ ัติงานกับอุปกรณ์ เครื่องมือ และบรรยากาศจริง ผู้เข้ารับการฝึกอบรมจะเป็นผู้เข้าไปมีส่วนร่วมในการปฏิบัติงานโดย ได้เห็นสภาพการทางาน วิธีการแสดงที่ถูกต้องโดยมีการกากับจากผู้สอนงาน การ ฝกึ อบรมขณะปฏบิ ัตงิ าน มหี ลายวิธีทีน่ ยิ มใช้ คือ 16.1 วิธีสอนงาน (coaching) เปน็ วธิ ีการฝกึ อบรมทผ่ี จู้ ดั การอาจสอนงานเอง หรอื ใหห้ วั หนา้ งานหรือพี่เลี้ยงเปน็ ผู้บอกถึง เทคนคิ วิธกี ารทางาน โดยเรยี นร้จู ากงานจริง และใหผ้ เู้ ข้ารับการอบรมลงมือปฏิบัติ

16.2 การหมุนเวียนงาน (job rotation) เป็นการฝึกอบรมท่ีพนักงานได้รับมอบหมาย จากผู้จัดการให้ย้ายจากงานหน่ึงไปยังอีกงานหนึ่ง ตามช่วงเวลาท่ีวางแผนไว้ เพ่ือลด ความเบ่ือหน่ายงานแบบเดิม หรือให้เรียนรู้ส่ิงใหม่ ๆ เป็นการฝึกอบรมท่ีลดการลาออก ของพนักงานทม่ี คี วามซ้า จาเจกับงานเดิม ๆ 16.3 การฝึกอบรมดว้ ยการฝกึ งาน (apprenticeshiptraining) เปน็ การให้คาแนะนา ในการปฏิบัตงิ าน การฝกึ อบรมขณะปฏบิ ตั ิงานและนอกเหนอื จากการปฏบิ ัตงิ าน หรอื การฝกึ อบรมเก่ียวกับการปฏบิ ัตงิ านตามลักษณะต่าง ๆ วธิ ีการนีม้ ักใชก้ บั การฝึกอบรมบุคคลในอาชพี เชน่ แพทย์ใหม่ นักกฎหมาย นกั ศึกษาฝึกงาน เป็นตน้

17. การระดมสมอง (Brain Storming) เป็นเทคนิคการประชุมกลุ่มเล็กไม่เกิน 15 คน จะเปดิ โอกาสให้ทกุ คนแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ ปราศจากข้อจากดั หรือกฎใด ๆ ใน หวั ข้อใดหัวขอ้ หน่งึ หรือปญั หาใดปญั หาหน่งึ แล้วชว่ ยกันคิดแสดงเหตผุ ลรว่ มกนั เพือ่ รวบรวมความคดิ เหน็ คน้ หาสาเหตุของปัญหา หรอื ขอ้ เสนอแนะจานวนมากในเวลาที่ รวดเรว็ เปน็ วิธกี ารที่ดกี ระตนุ้ ความคิดสรา้ งสรรค์ และเกดิ การมสี ่วนร่วมของกลมุ่ มาก ท่สี ุด เพ่อื ให้สมาชิกในกลุ่มเสนอแนวความคิดใหม่ ๆ ขน้ึ มาเปน็ แนวทางสู่การวาง แผนการดาเนินการ การแสดงความเห็นหรอื ขอ้ เสนอทกุ ขอ้ เสนอจะถูกกลัน่ กรองดว้ ยกนั อีกครง้ั จนเปน็ ท่ียอมรบั และเห็นพ้องกัน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook