Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ใบความรู้ 9 เรื่องการคลังสาธารณะ

ใบความรู้ 9 เรื่องการคลังสาธารณะ

Published by นงเยาว์ บุญริน, 2020-10-11 22:45:24

Description: ใบความรู้ 9 เรื่องการคลังสาธารณะ

Search

Read the Text Version

การคลงั สาธารณะ ความหมายของ “การคลัง อตั ราภาษี สาธารณะ รายจา่ ยรฐั บาล บทบาทของรัฐบาลทางเศรษฐกิจ หนีส้ าธารณะ รายได้ของรัฐบาล งบประมาณแผน่ ดิน หลักการจดั เกบ็ ภาษี นโยบายการคลงั วัตถปุ ระสงค์ในการจัดเก็บภาษี ประเภทของภาษีอากร

ความหมายของ “การคลงั สาธารณะ” การคลังสาธารณะ (Public Finance) หรอื การคลังรัฐบาล (Government Finance) เป็นการหารายได้ เพื่อนามาใชจ้ ่ายให้บรรลเุ ปา้ หมายทางเศรษฐกจิ ท่ตี ้องการ บางคร้ังอาจหารายไดไ้ ม่เพียงพอกับค่าใช้จา่ ย รัฐบาลจะตอ้ งกยู้ ืมเพมิ่ เติม การคลงั สาธารณะ จงึ หมายถึง การจดั หารายได้และการกยู้ มื เงนิ ของรัฐบาล นามาใช้จา่ ย เพือ่ ให้บรรลเุ ป้าหมายทางเศรษฐกิจทต่ี ้องการ

บทบาทของรฐั บาลทางเศรษฐกิจ 1. ผลติ สินคา้ หรอื บริการทเี่ อกชนไม่อยากทาหรือทาไมไ่ ด้แตจ่ าเปน็ ต้องมีในระบบ เศรษฐกิจ เชน่ สาธารณปู โภค การรกั ษาความสงบในประเทศ การปอ้ งกันประเทศ 2. จดั สรรทรัพยากรระหวา่ งรัฐบาลและเอกชน ให้ประชาชนได้รับความพอใจสงู สดุ 3. ทาใหเ้ กดิ การกระจายรายไดอ้ ยา่ งเป็นธรรมระหวา่ งคนจนกบั คนรวย 4. ส่งเสริมการเจริญเตบิ โตทางเศรษฐกจิ ด้วยการใชจ้ ่ายด้านสาธารณปู โภค 5. รกั ษาเสถยี รภาพทางเศรษฐกิจ ด้วยการใช้จ่ายของรฐั บาลและระบบภาษีทีป่ รับตัวได้ เอง เช่น ในภาวะเศรษฐกจิ ตกตา่ รัฐบาลเกบ็ ภาษีไดน้ อ้ ยลง แตใ่ ชจ้ ่ายมากขึ้น ทาให้อปุ สงค์ของตลาดเพิม่ ข้ึน

รายได้ของรฐั บาล รายได้ของรฐั บาล มาจากการเก็บภาษีอากร และรายไดท้ ่มี ิใช่ภาษอี ากร ภาษีอากร เปน็ รายได้ท่ีบงั คับเกบ็ จากประชาชน รายไดท้ ่ีมิใชภ่ าษอี ากร ได้จากกาไรของรัฐวิสาหกิจ การขายทรพั ยส์ นิ ของทางราชการ การให้เชา่ หรอื การใช้ทรพั ยากรของประเทศ ค่าธรรมเนียม คา่ ปรับและรายไดจ้ ากการ ผลติ เหรียญกษาปณ์ รายไดข้ องรัฐบาลไทยมากกว่ารอ้ ยละ 80 มาจากภาษีอากร รายรับของรฐั บาล มาจากรายไดข้ องรัฐบาล รวมกบั เงินกู้ยมื และเงินคงคลัง ท่สี ามารถ นามาใช้จา่ ยได้ตามงบประมาณ

หลกั การจดั เก็บภาษี ตามหลกั ของ Adam Smith มีอยู่ 4 ประการ คือ 1. หลกั ความยตุ ิธรรม ผู้มีความสามารถเท่ากันจะเสียภาษเี ทา่ กนั โดยไมม่ ีการยกเว้น ภาษีใหแ้ กค่ นใดเปน็ พิเศษ เปน็ การเกบ็ ภาษีตามความสามารถในการหารายไดแ้ ละการ เปน็ เจ้าของทรพั ย์สนิ 2. หลกั ความแนน่ อน ผเู้ สยี ภาษีต้องรแู้ นน่ อน ในเร่อื ง เวลาที่ต้องชาระ วิธีการและ สถานที่ อัตราภาษี ท่ีต้องชาระ เพอ่ื สามารถเตรยี มการและชาระภาษไี ดถ้ กู ตอ้ งตามเวลา 3. หลักความสะดวก ทง้ั ผู้จัดเกบ็ และผ้เู สียภาษี ในเรอ่ื ง ระยะเวลา วิธีการและสถานท่ี ตดิ ตอ่

หลกั การจัดเกบ็ ภาษี 4. หลกั ความประหยดั ผจู้ ัดเก็บและผเู้ สยี ภาษี เสียคา่ ใชจ้ า่ ยในการจดั เก็บและจา่ ยภาษี น้อยทสี่ ดุ ถ้าระบบการจัดเกบ็ ภาษไี มเ่ หมาะสม จะทาให้เกิดการหลกี เลี่ยงภาษี

วัตถปุ ระสงค์ในการจัดเกบ็ ภาษี 1. เพอ่ื เปน็ รายได้สาหรับการใช้จา่ ยในการบรหิ ารประเทศ 2. เพือ่ ควบคุมการบรโิ ภคสนิ คา้ ฟ่มุ เฟอื ย และค้มุ ครองอตุ สาหกรรมภายในประเทศ 3. เพือ่ ส่งเสรมิ การลงทนุ ในกจิ การท่ไี ด้รับการส่งเสริมจะมกี ารลดหรอื ยกเวน้ ภาษี 4. เพอ่ื ทาให้เกดิ การกระจายรายได้ โดยเกบ็ ภาษีในอัตรากา้ วหน้า และเกบ็ ภาษที างตรง ในสดั ส่วนที่มากกวา่ ภาษที างอ้อม 5. เพอ่ื ใชใ้ นการรกั ษาเสถยี รภาพทางเศรษฐกิจ ดว้ ยการใชร้ ะบบภาษีทป่ี รบั ตวั ไดเ้ อง คือในช่วงเศรษฐกจิ รงุ่ เรอื ง จะเกบ็ ภาษีไดม้ าก ชว่ ยลดแรงกดดันตอ่ การเกดิ ภาวะเงนิ เฟอ้ ชว่ งเศรษฐกิจตกตา่ จะเก็บภาษไี ด้น้อย เงนิ อย่ใู นมอื ประชาชนมากขึ้น ช่วยลดปัญหา ความรนุ แรงจากการว่างงาน

ประเภทของภาษอี ากร มวี ธิ กี ารแบ่ง 2 วิธี คือ 1. แบง่ ตามหลกั การผลกั ภาระภาษี 2. แบ่งตามฐานภาษี 1. แบง่ ตามหลกั การผลกั ภาระภาษี แบง่ ได้เปน็ 2 ประเภท คอื 1.1 ภาษที างตรง เป็นภาษีที่ผ้มู หี นา้ ท่เี สยี ภาษีตอ้ งจ่ายภาษีเอง ไมส่ ามารถผลักภาระ ภาษไี ปใหผ้ ้อู ่ืนได้ เชน่ ภาษเี งินไดบ้ ุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบคุ คล ภาษที รัพยส์ ิน ภาษีมรดก

ประเภทของภาษีอากร 1.2 ภาษที างออ้ ม เป็นภาษีท่ีผมู้ ีหน้าทีเ่ สียภาษสี ามารถผลกั ภาระภาษีไปใหผ้ ซู้ อ้ื สินคา้ ได้ เช่น ภาษมี ูลคา่ เพิ่ม ภาษศี ุลกากร ภาษีสรรพสามติ 2. แบง่ ตามฐานภาษี ฐานภาษีเป็นฐานทใ่ี ช้คานวณมูลค่าของภาษีทตี่ ้องเสยี มี 3 ประเภท คอื 2.1 ภาษีท่ีเก็บจากเงินได้ ไดแ้ ก่ ภาษเี งนิ ไดบ้ ุคคลธรรมดา ภาษเี งนิ ไดน้ ิติบคุ คล 2.2 ภาษที ่ีเกบ็ จากทรพั ย์สิน ได้แก่ ภาษที รัพย์สนิ ภาษที ี่ดิน ภาษีมรดก 2.3 ภาษีที่เกบ็ จากการบริโภค ได้แก่ ภาษีการคา้ ภาษมี ูลคา่ เพมิ่ ภาษีศลุ กากร ภาษี สรรพสามิต

อัตราภาษี มี 3 แบบ คือ ที่มา : https://money.kapook.com/view112464.html 1. อตั รากา้ วหน้า เป็นการกาหนดอตั รา ภาษีใหส้ ูงข้นึ เม่ือฐานภาษมี ากขนึ้ เชน่ ภาษีเงนิ ไดบ้ คุ คลธรรมดา ทาใหเ้ กดิ การ กระจายรายได้ทีเ่ ป็นธรรม 2. อตั ราคงท่ี เป็นการกาหนดอัตราภาษี อตั ราเดยี ว ไม่วา่ ฐานภาษีจะมากหรอื นอ้ ย เชน่ ภาษมี ลู คา่ เพม่ิ

อตั ราภาษี 3. อตั ราภาษีถอยหลัง เป็นการกาหนดอัตราภาษีทต่ี า่ ลง เม่อื ระดบั รายไดส้ ูงขึน้ เน่อื งจากการเก็บภาษีทางออ้ มและสัดส่วนการใช้จ่ายเพอ่ื การบริโภคต่อรายได้ของคนจน สูงกวา่ คนรวย ทาใหค้ นจนรับภาระภาษีการใชจ้ ่ายเพื่อการบรโิ ภคในอัตราท่สี งู กว่าคน รวยเมอ่ื เทียบกบั รายได้ อัตราภาษแี บบน้ที าใหเ้ กิดความเหล่อื มล้าในรายได้มากขนึ้

รายจ่ายรฐั บาล การใช้จ่ายของรฐั บาล เป็นการใช้จา่ ยในสิง่ ทีร่ ฐั บาลตอ้ งทา เพอ่ื ประโยชนข์ องคน ทง้ั ประเทศ การใช้จา่ ยของรฐั บาลนอกจากจะทาใหม้ ีสินค้าและบรกิ ารทีจ่ าเป็นเกิดขึน้ แล้ว ยงั มผี ลต่อการกระจายรายได้ การเจริญเติบโตทางเศรษฐกจิ และการรักษา เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ การใชจ้ ่ายของรฐั บาล อาจไม่ขึ้นกับรายไดข้ องรัฐบาลก็ได้ และจะใชจ้ ายเพ่อื เป้าหมายใด ดไู ด้จากประเภทของรายจา่ ยของรฐั บาล

รายจา่ ยรัฐบาล ประเภทรายจ่ายของรฐั บาล 1. แบง่ ตามลักษณะงาน แบง่ ได้ 8 ประเภท ไดแ้ ก่ 1) รายจ่ายด้านเศรษฐกิจ ไดแ้ ก่ รายจา่ ยด้านคมนาคม ดา้ นการเกษตร ด้านพลงั งาน ด้านอตุ สาหกรรม ดา้ นการพาณิชย์ 2) รายจา่ ยดา้ นการศึกษา 3) รายจ่ายด้านการปอ้ งกนั ประเทศ 4) รายจ่ายด้านสาธารณสขุ 5) รายจา่ ยด้านสาธารณูปการ

รายจ่ายรฐั บาล 6) รายจ่ายดา้ นการรกั ษาความสงบภายใน 7) รายจา่ ยด้านการบริหารทว่ั ไป 8) รายจา่ ยเพ่อื ชาระหน้ีเงินกู้ 2. แบ่งตามลกั ษณะทางเศรษฐกิจ ตามผลกระทบตอ่ การเจรญิ เตบิ โตทางเศรษฐกจิ แบ่งได้ 2 ประเภท คือ 1) รายจ่ายประจา เป็นคา่ ใช้จ่ายในการดาเนนิ งานตามปกติ 2) รายจ่ายเพ่ือการลงทนุ เป็นค่าใชจ้ า่ ยเพ่ือการลงทนุ ในสาธารณูปโภคเปน็ สว่ นใหญ่ 3. แบง่ ตามหน่วยงานท่ีใชจ้ า่ ย จะแบง่ เปน็ รายจา่ ยของกระทรวงและกรมตา่ ง ๆ

หนส้ี าธารณะ (Public Debt) หน้สี าธารณะ หมายถงึ หนี้ของรัฐบาลซง่ึ เกิดจากการกยู้ ืมโดยตรง และการค้าประกนั เงนิ กโู้ ดย รัฐบาล เรยี กหนส้ี าธารณะเพราะหนเี้ หลา่ นตี้ อ้ งชาระด้วยภาษีอากรท่ีเรยี กเก็บจากประชาชนท้ัง ประเทศ การคา้ ประกนั เงนิ กู้โดยรฐั บาล เป็นการค้าประกนั พันธบัตรที่ออกโดยรฐั วสิ าหกจิ เพือ่ สร้างความม่นั ใจให้แก่ผูล้ งทนุ ในพนั ธบัตรของรัฐวสิ าหกจิ การก้ยู มื ของรัฐบาลเกดิ จากการที่รฐั บาลมีรายไดไ้ มเ่ พียงพอกบั รายจา่ ย เกดิ จากสาเหตุ 5 ประการ ได้แก่ 1. กู้เพ่อื ลงทุนในสาธารณูปโภค ซ่งึ จะทาให้เกดิ การสะสมทนุ และเกิดการเจริญเตบิ โตทาง เศรษฐกจิ เชน่ สร้างถนน สรา้ งเข่ือน

หนส้ี าธารณะ (Public Debt) 2. กูเ้ พอ่ื ชดเชยรายได้ทเ่ี ก็บไมท่ ันรายจา่ ย จะเกิดข้นึ ช่วงตน้ ปีงบประมาณ ซึ่งมรี ายจา่ ย แต่ยงั เก็บภาษไี ด้ไม่เพยี งพอ 3. ก้เู พื่อชดเชยรายได้ที่เกบ็ ได้น้อยกว่าค่าใชจ้ ่าย เกิดจากการกาหนดนโยบายของ รฐั บาลที่ไม่ข้ึนกับรายได้ บางปที ม่ี ีรายจ่ายมากกว่ารายได้จากภาษีอากร จึงต้องกเู้ พ่มิ 4. กเู้ พอ่ื ใชจ้ ่ายในยามสงครามหรือกรณีจาเป็นเร่งดว่ น เชน่ เกดิ ภยั ธรรมชาติรุนแรง 5. กู้เพอื่ ชาระหน้ีเก่าที่ถงึ กาหนด กรณที มี่ รี ายไดไ้ มเ่ พียงพอท่ีจะชาระหนนี้ น้ั การก้ยู ืมเพ่อื การลงทนุ จะให้ผลตอบแทนในอนาคตจะไมเ่ ป็นภาระกับคนรนุ่ หลงั แต่การกู้เงนิ เพือ่ นามาใชจ้ า่ ย จะไม่มีผลตอบแทนจึงเป็นภาระของคนร่นุ หลงั ต้องใช้หน้ี

หนี้สาธารณะ (Public Debt) ประเภทของหน้ีสาธารณะ แบง่ ได้ 2 วธิ ี คือ 1. แบง่ ตามแหลง่ เงินกู้ แบง่ ไดเ้ ป็น 2 ประเภท คือ 1.1 หนี้ภายในประเทศ กู้ยืมจากสถาบันการเงนิ ภายในประเทศด้วยการประมูลขาย ตัว๋ เงินคลงั และขายพนั ธบัตรรฐั บาล ถ้ากูย้ ืมจากธนาคารแหง่ ประเทศไทย จะทาให้มีการพมิ พ์ธนบตั รเพิ่ม ทาให้ ปริมาณเงนิ เพิม่ 1.2 หนภ้ี ายนอกประเทศ กจู้ ากสถาบันการเงินระหวา่ งประเทศ รฐั บาลต่างประเทศ ดว้ ยการขายพันธบตั รรฐั บาลทไ่ี ดร้ ับการจัดอนั ดบั เครดติ ในอันดบั ที่ลงทนุ ได้

หน้สี าธารณะ (Public Debt) 2. แบ่งตามระยะเวลาของการกู้เงนิ แบ่งไดเ้ ปน็ 3 ประเภท คือ 2.1 หนร้ี ะยะสั้น มรี ะยะเวลากยู้ มื ไม่เกิน 1 ปี ดว้ ยการประมูลขายต๋วั เงนิ คลงั แก่ สถาบันการเงิน 2.2 หน้รี ะยะปานกลาง มีระยะเวลากยู้ ืมเกิน 1 ปี แต่ไม่เกน 5 ปี ดว้ ยการขาย พนั ธบัตรรัฐบาล 2.3 หนร้ี ะยะยาว มรี ะยะเวลากู้ยืมมากกว่า 5 ปี ดว้ ยการขายพันธบตั รรัฐบาล

งบประมาณแผน่ ดิน (Government Budget) งบประมาณแผน่ ดนิ คอื แผนทางการเงนิ ของรฐั บาล จดั ทาขน้ึ เพ่อื แสดงรายรับ และรายจา่ ยตามโครงการต่าง ๆ ที่รฐั บาลกาหนดวา่ จะทาในชว่ งระยะเวลา 1 ปี เรียกวา่ “ปงี บประมาณ” ซ่ึงเริม่ ในวนั ที่ 1 ตุลาคม เช่น ปงี บประมาณ 2564 เรม่ิ ในวนั ที่ 1 ตุลาคม 2563 ถงึ วันท่ี 30 กันยายน 2564 งบประมาณเพิม่ เติม คอื ค่าใชจ้ ่ายทร่ี ัฐบาลตอ้ งรบี ดาเนนิ การ แต่ไม่ได้ตงั้ งบประมาณไว้ งบประมาณแผน่ ดินตอ้ งผ่านการพจิ ารณาจากรฐั สภาก่อนนามาใช้

นโยบายการคลงั นโยบายการคลงั เป็นแนวทางในการแก้ไขปญั หาทางเศรษฐกจิ ด้วยมาตรการ ทางการคลัง ได้แก่ มาตรการทางภาษี การใช้จ่ายของรฐั บาลและการกอ่ หนีส้ าธารณะ นโยบายการคลงั มี 2 แบบ ได้แก่ 1. นโยบายการคลังแบบผอ่ นคลาย (งบประมาณขาดดุล) รฐั บาลจะเพ่ิมการใชจ้ า่ ยและ ลดการเกบ็ ภาษี ในกรณเี งินคงคลงั ไมเ่ พยี งพอ รฐั บาลจะกยู้ มื จากสถาบนั การเงิน นโยบายน้ีจะแกป้ ญั หาภาวะเศรษฐกิจถดถอยและตกตา่ แกป้ ญั หาการวา่ งงาน ใช้เพื่อกระตนุ้ เศรษฐกิจให้ฟนื้ ตัว

นโยบายการคลัง 2. นโยบายการคลังแบบเขม้ งวด (งบประมาณเกนิ ดุล) รัฐบาลจะลดการใช้จ่ายและเพ่ิม การเกบ็ ภาษี ทาให้มเี งินคงคลังเพ่มิ ข้ึน นโยบายนจี้ ะชะลอการขยายตวั ทางเศรษฐกิจทสี่ งู เกนิ ไป และแก้ปัญหาเงนิ เฟ้อที่ เกิดจากภาวะเศรษฐกจิ รุ่งเรือง นอกจากนแ้ี ลว้ รัฐบาลอาจดาเนินนโยบายการคลังแบบสมดลุ ดว้ ยมาตรการใช้ จ่ายเท่ากบั รายได้ทไ่ี ดร้ บั เม่อื เศรษฐกิจดาเนนิ ไปในทิศทางทน่ี า่ พอใจ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook