103
104 4.1 ความหมายของการเจาะ 4.2 จดุ ม่งุ หมายในการเจาะ 4.3 ชนิดของเคร่ืองเจาะ 4.4 หน้าท่ีและสว่ นประกอบของเครื่องเจาะ 4.5 เคร่ืองมือและอปุ กรณ์ในงานเจาะ 4.6 ความเร็วรอบ ความเร็วตดั และอตั ราปอ้ นในงานเจาะ 4.7 หลกั การทางานด้วยเครื่องเจาะ 4.8 การเจาะรูด้วยเคร่ืองเจาะ 4.9 ความปลอดภยั ในการใช้เคร่ืองเจาะ 4.10 การบารุงรักษาเคร่ืองเจาะ 4.11 การคว้านเรียบ งานเจาะ (Drilling) เป็นกระบวนการขนึ ้ รูปท่ีมีจุดม่งุ หมายเพื่อทาให้เกิดรู (Hole) ท่ีชิน้ งาน ซึ่งการ เจาะนีอ้ าจใช้ดอกสวา่ นหมุนตดั ลงในวัสดุชิน้ งานหรือเคร่ืองมือตดั ในลกั ษณะอ่ืน ๆ เช่น ใช้ดอกเจาะเพ่ือ ขยายปากรู (Counter Bore) เป็นต้น ดงั นนั้ ก่อนจะปฏิบตั ิงานเจาะ ผ้ปู ฏิบตั ิงานจาเป็นต้องศึกษาเก่ียวกบั ชนิด ส่วนประกอบ เคร่ืองมือ และอุปกรณ์ในงานเจาะ รวมทงั้ การบารุงรักษาและความปลอดในการใช้ เคร่ืองเจาะให้เข้าใจก่อนจึงจะปฏบิ ตั ิงานได้อยา่ งถกู ต้องและปลอดภยั แสดงความรู้เกี่ยวกบั เคร่ืองเจาะพนื ้ ฐานและงานเจาะตามคมู่ ือ
105 1. อธิบายความหมายของการเจาะ 2. บอกจดุ มงุ่ หมายในการเจาะ 3. จาแนกลกั ษณะของการเจาะรูแบบตา่ ง ๆ 4. จาแนกชนดิ ของเคร่ืองเจาะ 5. บอกหน้าทีแ่ ละสว่ นประกอบของเคร่ืองเจาะ 6. บอกช่ือและอธิบายหน้าทขี่ องเครื่องมือและอุปกรณ์จบั ยดึ ในงานเจาะ 7. อธิบายวธิ ีการจบั ยดึ ชิน้ งานเจาะ 8. คานวณความเร็วรอบ ความเร็วตดั และอตั ราปอ้ นในงานเจาะตามโจทย์กาหนด 9. บอกความปลอดภยั ในการใช้เครื่องเจาะตงั้ พนื ้ 10. บอกวิธีการบารุงรักษาเคร่ืองเจาะตงั้ พนื ้ 11. บอกจุดม่งุ หมายในการคว้านเรียบ 12. จาแนกชนิดของดอกคว้านเรียบ 13. คานวณหาขนาดรูเจาะในการคว้านเรียบตามโจทย์กาหนด 14. อธิบายวิธีการเลอื กความเร็วรอบและความเร็วตดั ในการคว้านเรียบ 15. บอกทิศทางหมนุ ด้ามจบั ดอกคว้านเรียบในขณะปฏิบตั ิงานคว้านเรียบ
106 การเจาะ (Drilling) คอื การทารูทมี่ ีลกั ษณะเป็นรูปทรงกระบอกลงในเนอื ้ วสั ดชุ ิน้ งาน โดยใช้ดอกเจาะ แบบตา่ ง ๆ การเจาะโดยทว่ั ไปแบง่ ออกเป็น 2 ลกั ษณะ คือ การเจาะรูทะลแุ ละการเจาะรูไมท่ ะลุ ดงั ตวั อยา่ ง ในรูปที่ 4.1 รูปท่ี 4.1 การเจาะรู การเจาะรูมีวตั ถุประสงค์ในการเจาะหลายอยา่ ง เช่น การเจาะรูเพื่อต๊าปเกลยี ว การร้อยสลกั เกลยี ว (Screw) การคว้านเรียบ การฝังหวั สกรู และการยา้ หมดุ เป็นต้น รูปท่ี 4.2 การเจาะรูในลกั ษณะตา่ ง ๆ
107 จากรูปท่ี 4.2 การเจาะรูในลกั ษณะตา่ ง ๆ มีดงั นี ้(ก) การเจาะรูตรงด้วยดอกสวา่ น (Straight Hole) (ข) การเจาะรูเพือ่ ฝังสกรูหวั เอียง (Counter Sinking) (ค) การเจาะรูเพื่อคว้านผิวเรียบ (Reaming) (ง) การ เจาะรูเพอ่ื คว้านขยายรูเจาะ (Boring) (จ) การปาดผวิ หน้ารูเจาะให้เรียบ (Sport Facing) (ฉ) การเจาะรูเพื่อ ต๊าปเกลยี ว (Tapping) และ (ช) การเจาะรูเพ่ือฝังสกรูหวั ฉาก (Counter Boring) เคร่ืองเจาะท่ีใช้ในงานอุตสาหกรรมการผลิต โรงงานฝึกช่าง และโรงงานซ่อมบารุงแบ่งออกได้เป็น หลายชนดิ เชน่ เครื่องเจาะตงั้ โต๊ะ เครื่องเจาะตงั้ พนื ้ เคร่ืองเจาะรัศมี และเครื่องเจาะแนวนอน เป็นต้น รูปท่ี 4.3 ชนดิ ของเคร่ืองเจาะ 4.4.1 เคร่ืองเจาะตงั้ โต๊ะ เคร่ืองเจาะตงั้ โต๊ะ (Bench Drilling Machine) เป็นเครื่องเจาะขนาดเล็กสามารถเจาะรูได้ ขนาดไม่เกิน 13 มม. โดยมีความเร็วรอบสงู การสง่ กาลงั โดยทว่ั ไปจะใช้สายพานและปรับความเร็วรอบด้วย ล้อสายพานประมาณ 2–3 ขนั้ เทา่ นนั้ เครื่องเจาะตงั้ โต๊ะประกอบด้วยสว่ นที่สาคญั และหน้าท่ีการใช้งาน ดงั นี ้ 1. ฐานเคร่ือง (Base) สว่ นใหญ่ทาด้วยเหลก็ หลอ่ เป็นสว่ นที่รองรับนา้ หนกั ทงั้ หมดของเคร่ือง และใช้ยดึ ติดแนน่ บนโต๊ะเพ่ือปอ้ งกนั การสน่ั สะเทือนในขณะใช้งาน 2. เสาเครื่องเจาะ (Column) เป็นเหล็กรูปทรงกระบอกกลวง ใช้เป็นส่วนท่ียึดติดกับฐาน เคร่ือง เพื่อรองรับชุดหวั เครื่องและรองรับโต๊ะจบั ชิน้ งาน
108 3. โต๊ะจบั ชิน้ งาน (Table) สว่ นใหญ่ทาด้วยเหลก็ ทอ่ เป็นสว่ นทรี่ องรับชิน้ งานท่ีจะนามาเจาะ หรืออาจรองรับอุปกรณ์จบั ยดึ ชิน้ งาน เช่น ปากกาจบั ชิน้ งาน เป็นต้น 4. ชุดหวั เครื่อง (Drilling Head) เป็นสว่ นทีอ่ ยบู่ นสดุ ของเครื่องเจาะ ประกอบด้วยสว่ นตา่ ง ๆ ทสี่ าคญั เช่น มอเตอร์สง่ กาลงั (Motor) สายพานและล้อสายพานสง่ กาลงั (Belt & Pulley) ฝาครอบ (Pulley Guard) มีไว้ครอบสายพานเพ่ือปอ้ งกนั อนั ตราย หวั จับดอกสว่าน (Drill Chuck) ใช้จบั ดอกสว่านก้านตรง ส่วนใหญ่มีขนาดไม่เกิน 1/2 นิว้ (12.7 มม.) คนั หมุนป้อนเจาะ (Hand Feed Level) และสวิตช์ปิด–เปิด (Switch) การทางานเคร่ืองเจาะ เป็นต้น รูปท่ี 4.4 สว่ นประกอบของเครื่องเจาะตงั ้ โต๊ะ 4.4.2 เคร่ืองเจาะตงั้ พนื้ เคร่ืองเจาะตัง้ พืน้ (Plan Vertical Spindle Drilling Machine) เป็ นเคร่ืองเจาะท่ีใช้ ติดตัง้ บนพนื ้ โรงงานและมีใช้งานอยา่ งกว้างขวาง ประกอบด้วยสว่ นที่สาคญั และหน้าทีก่ ารใช้งานดงั นี ้ 1. ฐานเคร่ือง (Base) มีลกั ษณะเป็นรูปสเ่ี หลี่ยมผืนผ้า เป็นสว่ นรับนา้ หนกั ทงั้ หมดของเครื่อง และอยู่ตาแหน่งด้านลา่ งสุดของเครื่อง ฐานเครื่องเจาะโดยทวั่ ไปทามาจากเหล็กหลอ่ และออกแบบให้มี รูเจาะสาหรับยดึ สลกั เกลยี วเพือ่ ตดิ ตงั้ กบั พืน้ โรงงาน และท่ฐี านเคร่ืองจะมีร่องรูปตวั ที (T–Slot) ไว้สาหรับจบั ยดึ งานทีม่ ีความสงู มาก ๆ 2. เสาเคร่ือง (Column) เป็นเหลก็ รูปทรงกระบอกกลวง ผา่ นการเจียระไนผิวเรียบ เพอ่ื ให้โต๊ะ จบั ชิน้ งานเลอื่ นขนึ ้ ลงได้สะดวก โดยมีเฟืองสะพาน (Rack Gear) ติดตงั้ ไว้สาหรับการเลอ่ื นโต๊ะจบั ชิน้ งาน 3. โต๊ะจบั ชิน้ งาน (Table) เป็นสว่ นรองรับชิน้ งานและอุปกรณ์จับยึดชิน้ งานเจาะ สามารถ เลอ่ื นขนึ ้ –ลง หมุนปรับองศา และโยกซ้าย–ขวาได้ ทงั้ นีเ้ พื่อความสะดวกในการปรับตาแหน่งเจาะ โต๊ะจับ ชิน้ งานแบง่ ออกเป็น 2 ชนดิ คือ ชนิดกลมและชนดิ สเ่ี หลย่ี ม ดงั ตวั อยา่ งในรูปที่ 4.6
109 รูปท่ี 4.5 สว่ นประกอบของเครื่องเจาะตงั ้ พนื ้ รูปท่ี 4.6 ชนิดของโต๊ะจบั ชนิ ้ งานของเครื่องเจาะตงั ้ พนื ้ รูปท่ี 4.7 ทิศทางการเคลอ่ื นท่ขี องโต๊ะจบั ชนิ ้ งาน
110 4. ชุดหวั เครื่อง (Head) เป็นสว่ นท่ีอยดู่ ้านบนของเคร่ืองเจาะ ใช้สาหรับติดตงั้ ระบบสง่ กาลงั ไปยงั แกนหมนุ และปรับความเร็วรอบเป็นขนั้ ๆ เพ่อื ให้เหมาะสมกบั ขนาดของดอกสวา่ น ประกอบด้วยสว่ น ท่สี าคญั คอื มอเตอร์ ชุดสง่ กาลงั และชุดปอ้ นเจาะ รูปท่ี 4.8 สว่ นประกอบและระบบการส่งกาลงั ของชดุ หวั เครื่อง 5. แกนหมุน (Spindle) แกนเพลาด้านบนจะเป็นร่องฟันสไปลน์ (Spline) สวมในรูของล้อ สายพาน (Pulley) สว่ นด้านลา่ งจะเป็นรูเรียวสาหรับประกอบเข้ากับด้ามหัวจบั ดอกสว่านหรือดอกสว่าน ก้านเรียว 6. คันป้อนเจาะ (Hand Feed) เป็ นคันโยกสาหรับป้อนเจาะในแนวด่ิง คันป้อนเจาะ แบง่ ออกเป็น 2 ลกั ษณะ คอื แบบสปริงดนั กลบั ตาแหนง่ เดิมและแบบปอ้ นเจาะโดยใช้เฟือง ดงั รูปที่ 4.9 7. แขนหมุนปรับโต๊ะจับชิน้ งาน (Hand Wheel) ใช้หมุนขบั เฟื องเพื่อปรับตงั้ ระดบั และเลือ่ น การขนึ ้ – ลงของโต๊ะจบั ชิน้ งาน รูปท่ี 4.9 ระบบการปอ้ นเจาะของเครื่องเจาะตงั ้ พนื ้
111 4.4.3 เคร่ืองเจาะรัศมี เคร่ืองเจาะรัศมี (Radial Drilling Machine) เป็นเครื่องเจาะที่มีขนาดใหญ่สามารถเจาะรู บนชิน้ งานท่ีมีขนาดใหญ่กวา่ เคร่ืองเจาะตงั้ พืน้ โดยที่หวั จับดอกสวา่ นจะเลอื่ นไป–มาบนแขนเจาะ (Arm) ได้ ดังนัน้ จึงสามารถเจาะงานได้ทุกตาแหน่ง เคร่ืองเจาะแบบรัศมีประกอบด้วยส่วนท่ีสาคัญและหน้าที่ การใช้งาน ดงั นี ้ รูปท่ี 4.10 สว่ นประกอบของเครื่องเจาะรัศมี 1. ฐานเคร่ือง (Base) เป็นสว่ นท่ีติดตงั้ อยู่กบั พืน้ โรงงาน ทาด้วยเหล็กหล่อ และเป็นส่วนที่ รองรับนา้ หนกั ทงั้ หมดของเคร่ืองเจาะรัศมี 2. เสาเครื่อง (Column) มีลักษณะเป็ นเสาทรงกระบอกกลวงยึดติดอยู่กับฐานเคร่ือง เป็นสว่ นทเี่ คลอื่ นขนึ ้ –ลงและจบั ยดึ ของแขนรัศมี 3. แขนรัศมี (Radial Arm) สามารถเลอื่ นขนึ ้ –ลงได้ และหมนุ รอบเสาเคร่ืองเพ่ือหาตาแหน่ง เจาะบนชิน้ งานได้ นอกจากนยี ้ งั เป็นสว่ นทร่ี องรับชุดหวั เคร่ือง 4. ชุดหัวเคร่ือง (Drilling Head) ติดตัง้ อยู่บนแขนรัศมี สามารถเลื่อนเข้า–ออกได้ ตาม ความยาวของแขนรัศมีเพอื่ ให้ตรงกบั ตาแหนง่ เจาะรู 5. แกนเพลา (Spindle) เป็นรูปทรงกระบอก ภายในเป็นรูเรียว ใช้สาหรับจบั ยดึ ก้านเรียว ของ หวั จบั ดอกสวา่ นหรือจบั ก้านเรียวของดอกสวา่ นทม่ี ีขนาดใหญ่ 6. โต๊ะจับชิน้ งาน (Table) เป็นสว่ นที่ยดึ ติดอยบู่ นฐานเคร่ืองและมีร่องตวั ทีเพอ่ื ใช้สาหรับจบั ยดึ ชิน้ งานโดยตรงหรือใช้สาหรับจบั ยดึ ปากกาจบั ชิน้ งานหรืออุปกรณ์ช่วยจบั ยดึ อยา่ งอ่ืน 7. มอเตอร์ (Motor) ใช้สง่ กาลงั ไปหมุนแกนเพลาเพื่อหมุนดอกสว่านเจาะชิน้ งานหรือส่ง กาลงั เพ่ือขบั เคลอ่ื นสว่ นตา่ ง ๆ อตั โนมตั ิ เน่ืองจากชิน้ สว่ นแตล่ ะชิน้ มีขนาดใหญ่
112 เคร่ืองมือและอปุ กรณ์ท่ีใช้ร่วมกบั เคร่ืองเจาะตงั้ พนื ้ มีดงั นี ้ 4.5.1 เคร่ืองมอื ตดั เคร่ืองมือตดั ทใ่ี ช้สาหรับงานเจาะแบง่ ออกเป็นหลายชนิดดงั นี ้ 1. ดอกสว่าน (Drills) ที่นิยมใช้ กันมากที่สุด คือ ดอกสว่านคมเลือ้ ย (Twist Drill) แบ่ง ออกเป็น 2 ชนิด คือ ชนิดก้านตรงและก้านเรียว โดยท่ีดอกสว่านก้านตรงส่วนมากจะมีขนาดเล็กกว่า 15 มม. ส่วนสว่านก้านเรียวจะเป็นสว่านท่ีมีขนาดใหญ่ คมตดั ของสว่านแบบคมเลือ้ ยนีเ้ กิดขึน้ จากการ กดั ร่องคายเศษเจาะ โดยมีรายละเอียดดงั นี ้ รูปท่ี 4.11 ชนดิ ของดอกสว่านคมเลอื ้ ย 1.1 เส้นแกนของดอกสวา่ น (Web) เกิดจากการกัดร่องคายเศษเจาะและการขนึ ้ รูปคมตัด ของสวา่ น ซึ่งร่องคายเศษเป็นตวั ทาให้เกิดเส้นแกนที่มีลกั ษณะเป็นแนวเรียว โดยเส้นแกนนีจ้ ะเป็นร่องบิด ไปรอบ ๆ ลาตวั สวา่ น และความหนาของเส้นแกนจะคอ่ ย ๆ เรียวเลก็ ลงจากโคนไปยงั ปลายคมตดั เส้นแกน ร่องคายเศษ ปลายคมตดั เส้นแกน คมตดั (ก) (ข) รูปท่ี 4.12 เส้นแกนของดอกสวา่ นแบบคมเลอื ้ ย
113 1.2 มมุ ของดอกสวา่ น ดอกสวา่ นทจ่ี ะนามาใช้งานนจี ้ ะมีมมุ ตา่ ง ๆ ทเ่ี กี่ยวข้องกบั การตดั เฉือนและเพื่อจะให้ผลดตี อ่ การตดั เฉือนดงั นี ้ 120O–135 O 59O 59O 8O–12 O 30O (ก) มมุ คมตดั (ข) มมุ คายเศษ (ค) มมุ หลบ (ง) มมุ จกิ รูปท่ี 4.13 มมุ ของดอกสวา่ นแบบคมเลอื ้ ย (1) มุมคมตัด (Cutting Angle) มีลกั ษณะคล้ายกับลิ่มทาหน้าท่ีตัดเฉือนเนือ้ วสั ดุ ชิน้ งาน (2) มมุ คายเศษ (Rake Angle) ทาหน้าท่ีให้เศษตดั เฉือนเคลอื่ นท่ีออกจากผิวชิน้ งาน ทีถ่ กู ตดั ได้สะดวก (3) มมุ หลบ (Lip Clearance Angle) ทาหน้าทลี่ ดการเสยี ดสแี ละลดแรงต้านบริเวณ ผิวหน้าของมมุ จิกของดอกสวา่ น และถ้าไม่มีมมุ หลบนี ้ดอกสวา่ นจะไมส่ ามารถตดั เฉือนผิวชิน้ งานได้ (4) มมุ รวมปลายดอกสวา่ น (Point Angle) หรือมมุ จิก เป็นมมุ ท่ีมีผลตอ่ แรงกดเจาะ กลา่ วคือ ถ้ามมุ รวมปลายดอกสวา่ นมีคา่ มากก็จะทาให้แรงต้านการเจาะมากขนึ ้ ตามลาดบั ในขณะเดียวกนั มมุ รวมปลายดอกสวา่ นจะช่วยในการนาศนู ย์ของการเจาะชิน้ งานในขณะเร่ิมเจาะด้วย ขนาดของมุมรวม ปลายดอกสวา่ นจะขนึ ้ กับชนิดของวสั ดุชิน้ งานท่ีนามาเจาะ เช่น ในงานเจาะเหลก็ กล้าทว่ั ไปมุมรวมนีม้ ีคา่ เทา่ กบั 118 องศา เป็นต้น รูปท่ี 4.14 มมุ รวมปลายดอกสว่านสาหรับเจาะวสั ดชุ นดิ ตา่ ง ๆ
114 2. ดอกเจาะนาศูนย์ (Center Drill) ใช้สาหรับเจาะนาศูนย์ชิน้ งานก่อนที่จะเจาะด้วยดอก สวา่ น รูปท่ี 4.15 ดอกเจาะนาศนู ย์ 3. ดอกผายปากรู (Counter Sinks) ใช้สาหรับผายปากรูเพอ่ื ลบคมรูเจาะ (ก) ดอกผายปากรู (ข) การใช้งานดอกผายปากรู รูปท่ี 4.16 ดอกผายปากรู 4. ดอกเจาะคว้านขยายรูเจาะ (Counter Bores) ใช้สาหรับคว้านขยายรูเจาะเพื่อฝังหวั สกรู (ก) ดอกเจาะคว้านขยายรูเจาะขนาดตา่ ง ๆ (ข) การใช้งานดอกเจาะคว้านขยายรูเจาะ รูปท่ี 4.17 ดอกเจาะคว้านขยายรู
115 5. ดอกคว้านเรียบ (Reamer) ใช้สาหรับคว้านผวิ รูเจาะให้เรียบ รูปท่ี 4.18 ดอกคว้านเรียบ 4.5.2 อุปกรณ์จับเคร่ืองมือตัด อปุ กรณ์จบั เคร่ืองมือตดั ในงานเจาะทสี่ าคญั มีดงั นี ้ 1. หวั จบั ดอกสวา่ น (Drill Chuck) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้จบั ยดึ ดอกสวา่ นแบบก้านตรง (ก) หวั จบั ดอกสวา่ น (ข) จาปาขนั รูปท่ี 4.19 หวั จบั ดอกสว่านและจาปาขนั 2. ปลอกเรียวและปลอกเรียวลดขนาด (Sleeve and Drill Socket) ใช้สวมเข้ากบั เพลาหวั จบั ดอกสวา่ นท่มี ีความโตเรียวขนาดเดยี วกนั นอกจากนยี ้ งั ใช้จบั ดอกสวา่ นแบบก้านเรียวมอร์ส (Morse Taper) ขนาดเดียวกนั หรือตอ่ ปลอกเรียว สาหรับขนาดของปลอกเรียวแสดงไว้ในตารางท่ี 4.1 รูปท่ี 4.20 ปลอกเรียวและปลอกลดขนาด
116 ตารางท่ี 4.1 เบอร์เรียวมอร์สสาหรับดอกสวา่ นก้านเรียว เบอร์ เรียวแบบมอร์ ส 1 2 3 4 5 ขนาดของดอกสว่าน (มม.) 13 14–24 24–32 32–50 เกินกวา่ 50 รูปท่ี 4.21 การใช้ปลอกเรียวและปลอกเรียวลดขนาด สาหรับการจับยดึ ดอกสวา่ นก้านเรียวท่ีมีขนาดใหญ่เข้ากับเพลาหมนุ ของเคร่ืองเจาะ กระทา ได้โดยใช้มือจบั ดอกสวา่ นหมนุ ให้ปลายเรียวตรงร่องเพลาหมนุ จากนนั้ ออกแรงกระแทกเข้าไปแล้วทดลอง ใช้มือหมนุ ดเู พื่อให้แนใ่ จวา่ สวมแนน่ แล้วแสดงวา่ พร้อมใช้งานได้ รูปท่ี 4.22 การจบั ดอกสว่านก้านเรียวเข้ากบั เพลาหมนุ ของเครื่องเจาะ
117 รูปท่ี 4.23 การถอดสว่านก้านเรียว 4.5.3 อุปกรณ์จับยึดชิน้ งานบนเคร่ืองเจาะ อุปกรณ์จับยดึ ชิน้ งานบนเครื่องเจาะใช้สาหรับจบั ยึดชิน้ งานให้แนน่ แบง่ ออกเป็นหลายชนิด ดงั นี ้ 1. ปากกาจบั ชิน้ งาน ใช้จบั ยดึ ชิน้ งานทีม่ ีลกั ษณะสเี่ หลยี่ มทรงตนั ในกรณีท่ีเป็นชิน้ งาน แผน่ บาง ควรหาแท่งขนานสองแผน่ รองด้านลา่ งชิน้ งานเพ่ือให้ปากกาบีบจับได้แน่นหนาและช่วยให้ชิน้ งานได้ ระดบั รูปท่ี 4.24 ปากกาจบั ชนิ ้ งานและการใช้งาน
118 2. อุปกรณ์ช่วยจับยึด การจับยึดงานเจาะในกรณีท่ีปากกาจับชิน้ งานไม่สามารถจับได้ ผ้ปู ฏิบตั ิงานสามารถเลอื กใช้อุปกรณ์ช่วยจบั ยดึ แทนได้ เช่น ชิน้ งานรูปทรงกระบอกเจาะขวางกับหน้าตัด ของชิน้ งานก็ให้ใช้วบี ลอ็ ก (V–Block) สาหรับวางชิน้ งาน จากนนั้ ใช้แผน่ กดด้านบนขนั ยดึ ให้แน่นด้วยโบลต์ แบบท–ี สลอต (T–Slot Bolt) เป็นต้น ตวั อยา่ งอุปกรณ์ชว่ ยจบั ยดึ แสดงไว้ในรูปท่ี 4.25 5 โบลตแ์ บบที–สลอต รูปท่ี 4.25 อปุ กรณ์ชว่ ยจบั ยดึ ชนิ ้ งาน จากรูปท่ี 4.25 อุปกรณ์ช่วยจบั ยดึ มีดงั นี ้ หมายเลข 1 แท่งขนาน (Parallels) เป็นเหล็กแท่งเหล่ียมท่ีผ่านการเจียระไน มีขนาดเที่ยงตรง ใช้สาหรับรับรองชิน้ งานเพ่ือให้ได้ระดบั รวมทงั้ ป้องกนั ไม่ให้ดอกสว่านที่เจาะทะลไุ ปถูกผิวของปากกาจับ ชิน้ งานด้วย หมายเลข 2 ซี–แคลม็ ป์ (C–Clamp) มีรูปร่างคล้ายตวั ซี ใช้สาหรับจบั ยดึ ชิน้ งานให้ติดแนน่ กบั ปากกา จบั ชิน้ งานโดยตรงหรือยดึ ชิน้ งานกบั แทง่ ฉาก หมายเลข 3 แผน่ กดชิน้ งาน (Strap Clamp) มีรูปร่างเป็นแผน่ รูปทรงตา่ ง ๆ และมีรูหรือร่องตรงกลาง เพอื่ สวมโบลต์แบบที–สลอต ใช้สาหรับกดชิน้ งานให้แนบสนิทกบั อุปกรณ์จบั อยา่ งอ่ืน
119 หมายเลข 4 แท่งฉาก (Angle Plate) มีรูปร่างเป็นเหล็กแท่งฉากที่เจาะรู ใช้ สาหรับจับยึดชิน้ งาน ที่ไมส่ ามารถจบั ด้วยอปุ กรณ์อื่น ๆ ได้ หมายเลข 5 โบลต์แบบที–สลอต (T–Slot Bolt) เป็นสกรู–นตั รูปตวั ทีท่ีสวมเข้ากบั ร่องที (T–Slot) ของ โต๊ะจบั ชิน้ งานได้พอดี ใช้สาหรับยดึ งานร่วมกบั อุปกรณ์อื่น ๆ เชน่ แผน่ กดชิน้ งาน แทง่ ระดบั เป็นต้น หมายเลข 6 แท่งระดบั (Step Blocks) มีรูปร่างเป็นเหล็กเหลี่ยมท่ีผ่านการไสหรือกัดเป็นขนั้ บนั ได เพ่ือใช้รองรับแผน่ กดชิน้ งานให้มีความสูงเทา่ กับหรือสงู กว่าชิน้ งานที่ต้องการจับยึดเล็กน้อย ทงั้ นีเ้พ่ือให้ การจบั ยดึ ชิน้ งานได้มนั่ คงมากยง่ิ ขนึ ้ หมายเลข 7 สกรูระดบั (Jack Screw) มีรูปร่างเป็นสกรูเกลยี วท่ีปรับระดบั ความสงู –ต่าได้ ใช้สาหรับ รองรับชิน้ งานให้มีความมนั่ คงแข็งแรง หมายเลข 8 ว–ี บลอ็ ก (V–Block) มีรูปร่างเป็นเหลก็ แทง่ เหลย่ี มหน้าตดั คล้ายรูปตวั วี ใช้สาหรับรองรับ ชิน้ งานรูปทรงกระบอก โดยใช้ยดึ งานร่วมกบั อุปกรณ์จบั ยดึ อ่ืน ๆ โบลต์แบบที–สลอต ดอกสวา่ น แท่งระดบั ชนิ ้ งาน ว–ี บลอ็ ก รูปท่ี 4.26 การจบั ยดึ ชนิ ้ งานกลมด้วยวี–บลอ็ กและอปุ กรณ์ช่วยจบั ยดึ งานเจาะ ว–ี บลอ็ ก ดอกสวา่ น ชนิ ้ งาน รูปท่ี 4.27 การจบั ยดึ ชนิ ้ งานกลมด้วยวี–บลอ็ กและอปุ กรณ์ช่วยจบั ยดึ งานเจาะ
120 ดอกสวา่ น ชนิ ้ งาน แท่งขนาน แทน่ รองรับชนิ ้ งาน รูปท่ี 4.28 การจบั ยดึ ชนิ ้ งานด้วยอปุ กรณ์ช่วยจบั ยดึ งานเจาะ ดอกสวา่ น ซี–แคลม็ ป์ ชนิ ้ งาน แท่นรองรับชนิ ้ งาน สกรูระดบั รูปท่ี 4.29 การจบั ยดึ ชนิ ้ งานด้วยอปุ กรณ์ชว่ ยจบั ยดึ งานเจาะ แผน่ กดชนิ ้ งาน โบลต์แบบที–สลอต ชนิ ้ งาน แทน่ ระดบั วี–บลอ็ ก รูปท่ี 4.30 การจบั ชนิ ้ งานด้วยวี–บลอ็ ก โบลต์แบบท–ี สลอต แผน่ กดชนิ ้ งาน และแทง่ ระดบั (ก) การจบั ชนิ ้ งานถกู ต้อง เพราะชิน้ งานอย่ใู กล้กบั แนวแรงจบั ยดึ ของโบลต์ รูปท่ี 4.31 การจบั ชนิ ้ งานด้วยแท่งระดบั แผ่นกดชิน้ งาน และโบลต์แบบที–สลอต
121 (ข) การจบั ชนิ ้ งานไมถ่ กู ต้อง เพราะชิน้ งานอย่ไู กลจากแนวแรงจบั ยดึ ของโบลต์ รูปท่ี 4.31 (ต่อ) การจบั ชนิ ้ งานด้วยแท่งระดับ แผน่ กดชนิ ้ งาน และโบลต์แบบที–สลอต 4.6.1 ความเร็วรอบ ก่อนการปฏิบตั ิงานเจาะทุกครัง้ ผ้ปู ฏิบตั ิงานจะต้องคานวณหาความเร็วรอบของดอกสว่าน ที่ถกู ต้องและเหมาะสม โดยสามารถคานวณได้จากสตู รตอ่ ไปนี ้ n= V 1,000 (รอบ/นาที) πd เมื่อ n = ความเร็วรอบ (รอบ/นาท)ี v = ความเร็วตดั (เมตร/นาท)ี d = ขนาดเส้นผา่ นศนู ย์กลางของดอกสวา่ น (มม.) 1,000 = คา่ คงที่ (ใช้สาหรับเปลยี่ นหนว่ ยมิลลเิ มตรให้เป็นเมตร) 4.6.2 ความเร็วตดั ค่าความเร็วตดั (v) สามารถหาได้จากตารางค่าความเร็วของดอกสว่าน ซ่ึงขึน้ อยู่กับชนิด ของวสั ดทุ ่ีนามาเจาะและวสั ดทุ ่ใี ช้ผลติ เครื่องมือตดั ดงั ตารางที่ 4.2
122 ตารางท่ี 4.2 ความเร็วรอบและความเร็วตดั สาหรับดอกสวา่ นท่ีผลติ จากเหลก็ กล้ารอบสงู ความเร็วรอบและความเร็วตดั สาหรับดอกสว่านท่ผี ลติ จากเหล็กกล้ารอบสูง ขนาดดอกสว่าน เหลก็ กล้าหล่อ เหลก็ กล้า เหลก็ หล่อ เหลก็ กล้าท่ัวไป ทองเหลือง เคร่ืองมือ และอะลูมเิ นียม ความเร็วตัด (ฟุต/นิว้ และเมตร/นาท)ี นวิ ้ มม. 40 12 60 18 80 24 100 30 200 60 Ft/min m/min Ft/min m/min Ft/min m/min Ft/min m/min Ft/min m/min 1/16 2 2445 1910 2665 2865 4890 3820 6110 4775 12225 9550 1/8 3 1220 1275 1835 1910 2445 2545 3055 3185 6110 6365 3/16 4 815 955 1220 1430 1630 1910 2035 2385 4075 4775 1/4 5 610 765 915 1145 1220 1530 1530 1910 3055 3820 5/16 6 490 635 735 955 980 1275 1220 1590 2455 3180 3/8 7 405 545 610 820 815 1090 1020 1365 2035 2730 7/16 8 350 475 525 715 700 955 875 1195 1745 2390 1/2 9 305 425 460 635 610 850 765 1060 1530 2120 5/8 10 245 350 365 520 490 695 610 870 1220 1735 3/4 15 205 255 305 380 405 510 510 635 1020 1275 7/8 20 175 190 260 285 350 380 435 475 875 955 1 25 155 150 230 230 305 305 380 380 765 765 หมายเหตุ : จากตวั อยา่ งที่ 4.1 ความเร็วรอบทีค่ านวณได้ คอื 955 รอบ/นาที และเมื่อพิจารณาคา่ ความเร็ว จากตารางที่ 4.2 จะได้ความเร็วรอบเทา่ กบั 870 รอบ/นาที ซง่ึ เป็นคา่ ท่ใี กล้เคียงกบั คา่ ทไี่ ด้จากการคานวณ ดงั นนั้ ในทางปฏิบตั ิอาจใช้คา่ จากการคานวณหรือตารางก็ได้เช่นเดียวกนั ตวั อย่างท่ี 4.1 เจาะรูชิน้ งานซงึ่ เป็นเหลก็ กล้าทวั่ ไป โดยใช้ดอกสวา่ นขนาดเส้นผา่ นศนู ย์กลาง 10 มม. จะต้องใช้ความเร็วรอบเทา่ ไร วิธที า โจทย์กาหนด ขนาดเส้นผา่ นศนู ย์กลางของดอกสวา่ น (d) = 10 มม. ความเร็วตดั (v) จากตารางที่ 4.2 = 30 เมตร/นาที
123 แทนคา่ ในสตู ร n= V 1000 = 30π1d000 3.14 10 = 955.41 รอบ/นาที 955 รอบ/นาที ตอบ 4.6.3 การปรับตงั้ ความเร็วรอบเคร่ืองเจาะ หลงั จากได้คา่ ความเร็วรอบที่เหมาะสมกบั ชิน้ งานเจาะแล้ว ผ้ปู ฏิบตั ิจะต้องปรับตงั้ ความเร็ว บนเครื่องเจาะให้ตรงกบั ความเร็วที่คานวณได้ โดยการปรับตงั้ ความเร็วรอบมีขนั้ ตอนดงั นี ้ 1. เครื่องเจาะสง่ กาลงั ด้วยสายพาน 1.1 เปิดฝาครอบชดุ สายพานด้านบนของเคร่ืองเจาะ 1.2 คลายสกรูลอ็ กคานเลอื่ นมอเตอร์ จากนนั้ ดึงสายพานให้หย่อนเข้าหาชุดเพลาเจาะ ให้มากที่สดุ เทา่ ทจ่ี ะทาได้ 1.3 ใช้มือดงึ ให้สายพานเบี่ยงไปทางล้อขบั สายพานชุดเล็ก จากนนั้ ใช้มือช่วยหมุนล้อ ชุดสายพาน เพ่ือให้สายพานหลดุ ออกจากร่องเดมิ รูปท่ี 4.32 วธิ ีการถอดสายพานออกจากล้อสายพาน 1.4 นาสายพานคล้องเข้ากบั ล้อสายพานร่องใหม่ตามต้องการ ในขณะที่คล้องสายพาน เข้าร่องใหม่นนั้ ก็ให้หมนุ ล้อสายพานไปด้วย รูปท่ี 4.33 วิธีการใสส่ ายพาน
124 1.5 ตรึงสายพานด้วยแขนปรับตรึงสายพาน จากนนั้ ลอ็ กสกรูคานเลือ่ นมอเตอร์ให้เข้า ตาแหนง่ 1.6 ปิดฝาครอบชดุ สายพาน หมายเหตุ : การเปลย่ี นความเร็วรอบของเคร่ืองเจาะสง่ กาลงั ด้วยสายพานมีข้อควรระวงั ดงั นี ้ - ห้ามใสส่ ายพานสลบั กบั ล้อสายพานหรือไขว้ผิดร่องสายพาน - ถ้ามือเปือ้ นนา้ มนั ห้ามทางานกบั สายพาน - ห้ามเปิดเคร่ืองเพือ่ ชว่ ยใสส่ ายพานโดยเดด็ ขาด 2. เครื่องเจาะสง่ กาลงั ด้วยเฟือง สาหรับเคร่ืองเจาะแบบสง่ กาลงั ด้วยเฟืองมีขนั้ ตอนดงั นี ้ 2.1 โยกคนั โยกหาความเร็วรอบตามตารางความเร็วรอบบนหวั เคร่ืองเจาะ 2.2 ขณะโยกคนั โยกให้ขยบั เพลาหมนุ ไป–มา เพื่อให้ร่องฟันเฟืองขบกนั ได้งา่ ย คนั โยกปรับความเร็วรอบ รูปท่ี 4.34 การปรับความเร็วรอบเครื่องเจาะระบบสง่ กาลงั ด้วยเฟื อง 4.6.4 อตั ราป้อนดอกสว่าน อตั ราป้อนดอกสว่าน คือ ความเร็วของดอกสว่านท่ีป้อนตดั เฉือนวสั ดุชิน้ งานเมื่อดอกสว่าน หมนุ ครบ 1 รอบ มีหนว่ ยวดั เป็น มม./รอบ เชน่ อตั ราปอ้ นเจาะ 0.02 มม./รอบ หมายถึง เมื่อดอกสวา่ นหมนุ ครบ 1 รอบ จะสามารถปอ้ นตดั เนอื ้ วสั ดไุ ด้ลกึ ลงไปในเนอื ้ ชิน้ งาน 0.20 มม. เป็นต้น ในการปอ้ นตดั เฉือนชิน้ งานถ้าอตั ราปอ้ นมากจะทาให้เศษเจาะมีความหนาและใช้แรงกดเจาะ มากตามด้วย ซ่ึงอาจสง่ ผลให้ผิวรูเจาะหยาบหรือดอกสว่านหกั ได้ ดังนนั้ การเลือกความเร็วป้อนจึงต้อง เลอื กใช้ให้เหมาะสมกบั ขนาดของดอกสวา่ น ดงั ตวั อยา่ งในตารางท่ี 4.3
125 ตารางท่ี 4.3 อตั ราปอ้ นเจาะของดอกสวา่ นขนาดตา่ ง ๆ ขนาดดอกสว่าน อัตราป้อนต่อรอบ นิว้ มม. นิว้ มม. เลก็ กวา่ ถงึ 1/8 เลก็ กวา่ ถงึ 3 0.001 – 0.002 0.02 – 0.05 1/8 – 1/4 3–6 0.002 – 0.004 0.05 – 0.10 1/4 – 1/2 6 – 13 0.004 – 0.007 0.10 – 0.18 1/2 – 1 13 – 25 0.007 – 0.015 0.18 – 0.38 1 – 1/2 25 – 38 0.015 – 0.025 0.35 – 0.63 ก่อนที่จะปฏิบตั ิงานบนเคร่ืองเจาะ ผ้ปู ฏิบตั ิงานจะต้องมีความรู้และทกั ษะที่จาเป็นในด้านตา่ ง ๆ เช่น การจับยึดชิน้ งานบนเครื่องเจาะ การจับยึดดอกสว่าน การปรับความเร็วรอบสาหรับการเจาะ ทเี่ หมาะสม เป็นต้น โดยมีรายละเอียดดงั ตอ่ ไปนี ้ 4.7.1 การจับยดึ ชิน้ งานบนเคร่ืองเจาะ ในการปฏิบตั ิงานบนเคร่ืองเจาะ การจับยึดชิน้ งานจะมีลกั ษณะแตกต่างกันทงั้ นีข้ ึน้ อยกู่ ับ รูปร่างของชิน้ งาน ดงั นนั้ ผ้ปู ฏิบตั ิงานจะต้องเลอื กใช้เคร่ืองมือและอุปกรณ์ช่วยยึดให้ถูกต้องและเหมาะสม ดงั ตวั อยา่ งในรูปที่ 4.35 (ก) การจบั ชนิ ้ งานสีเ่ หลีย่ ม รูปท่ี 4.35 ตวั อยา่ งการจบั ยดึ ชนิ ้ งานเจาะในลกั ษณะตา่ ง ๆ
126 4.7.2 การจบั ยึดเคร่ืองมอื ตดั เน่อื งจากเครื่องมือตดั สาหรับงานเจาะมีมากมายหลายชนิด ทงั้ ที่ใช้งานทวั่ ไป เชน่ ดอกสวา่ น และใช้งานเฉพาะ เชน่ ดอกคว้านเรียบ ดงั นนั้ ในการจบั ยดึ เคร่ืองมือตดั สามารถแบง่ ได้เป็น 2 ลกั ษณะใหญ่ ๆ ตามรูปร่างของก้านเคร่ืองมือตดั คือ การจบั ยดึ เคร่ืองมือตดั แบบก้านจบั ตรงและแบบก้านจบั เรียวดงั ท่ีได้ อธิบายมาแล้ว 4.7.3 การปรับตงั้ ความเร็วรอบและอัตราป้อนสาหรับงานเจาะ ก่อนปรับตงั้ ความเร็วรอบสาหรับการเจาะงานทกุ ครัง้ ผ้ปู ฏิบตั ิงานจะต้องคานวณหาความเร็ว รอบและอตั ราปอ้ นท่ีเหมาะสมกบั ขนาดของดอกสวา่ นและชนิดของวสั ดทุ ่ีนามาเจาะ การเจาะรูชิน้ งานด้วยเคร่ืองเจาะมีขนั้ ตอนดงั นี ้ 4.8.1 ศกึ ษาแบบงานให้เข้าใจ 4.8.2 เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์ทีจ่ าเป็นสาหรับการเจาะรูตามแบบงานนนั้ ๆ ให้ครบถ้วน 4.8.3 นาชิน้ งานที่ต้องการเจาะรูมาร่างแบบ 4.8.4 เมื่อร่างแบบงานเสร็จแล้วให้ตอกนาศนู ย์บริเวณจดุ ศนู ย์กลางของรูเจาะ 4.8.5 นาชิน้ งานมาจับยึดงานบนเครื่องเจาะให้แน่นและได้ตาแหน่ง โดยเลือกอุปกรณ์จับยึด ทีเ่ หมาะสม 4.8.6 นาหวั จบั ดอกสวา่ นท่เี ตรียมไว้มาประกอบเข้ากบั เพลาหมนุ (Spindle) ของเครื่องเจาะ 4.8.7 จบั ยดึ ดอกเจาะนาศนู ย์เข้ากบั หวั จบั ดอกสวา่ นให้แนน่ 4.8.8 ปรับตงั้ ความเร็วรอบสาหรับการเจาะตามท่ีคานวณได้หรือใช้คา่ จากตาราง 4.8.9 เปิดเคร่ืองแล้วเจาะนาศนู ย์ชิน้ งาน ณ ตาแหนง่ ที่ตอกนาศนู ย์หรือบริเวณจดุ ศนู ย์กลางของรูเจาะ 4.8.10 หยดุ เครื่องเจาะเพื่อเปลย่ี นดอกสวา่ น 4.8.11 นาดอกสว่านที่ต้องการเจาะมาจับยึดดอกสว่านเข้ากับหัวจับดอกสว่านหรือเพลาหมุน ของเคร่ืองเจาะ 4.8.12 ปรับตงั้ ความเร็วรอบสาหรับการเจาะตามที่คานวณได้ 4.8.13 เปิดเคร่ือง จากนนั้ เจาะรูตามตาแหนง่ ตา่ ง ๆ ท่ีได้เจาะนาศูนย์ไปแล้ว โดยในขณะเจาะรูให้ หลอ่ เย็น (Coolant) ตามชนิดของวสั ดุชิน้ งาน และขณะเจาะรูควรจะถอยดอกสวา่ นขึน้ เพื่อคายเศษเจาะ อีกทงั้ ยงั เป็นการปอ้ งกนั ดอกสวา่ นหกั จากเศษเจาะอดุ ตนั
127 4.8.14 ปิดเคร่ืองแล้วตรวจสอบความลกึ ของรูเจาะ (กรณีท่ีเจาะรูไมท่ ะล)ุ 4.8.15 ทาการเจาะรูทตี่ าแหนง่ อื่น ๆ จนกระทงั่ ครบตามแบบงาน 4.8.16 ปิดเคร่ืองและถอดหวั จบั ดอกสวา่ นออกจากเพลาหมนุ ของเครื่องเจาะ 4.8.17 ถอดชิน้ งานออกจากแทน่ รองรับหรือปากกา 4.8.18 ทาความสะอาดเครื่องมือ อุปกรณ์ และเครื่องเจาะ 4.8.19 จดั เก็บเคร่ืองมือและอุปกรณ์ให้เรียบร้อย เพื่อความปลอดภยั ในการทางานกบั เครื่องเจาะผ้ปู ฏบิ ตั งิ านจะต้องระมดั ระวงั ในเร่ืองตา่ ง ๆ ดงั นี ้ 4.9.1 จบั ชิน้ งานให้แนน่ และมน่ั คง เพอ่ื ไม่ให้ชิน้ งานหลดุ และหมนุ ตามดอกสวา่ นได้ รูปท่ี 4.36 การจบั ยดึ ชนิ ้ งานไม่แน่นพออาจทาให้ชนิ ้ งานหลดุ และหมนุ ตามดอกสว่าน 4.9.2 การจบั ยดึ ดอกสวา่ นจะต้องให้แน่นพอก่อนเปิดสวิตช์ ทงั้ นเี ้พราะดอกสวา่ นอาจหลดุ ลอยหรือ หกั ขณะเจาะชิน้ งานได้ รูปท่ี 4.37 การจบั ดอกสวา่ นทไ่ี ม่แนน่ พออาจทาให้ดอกสวา่ นหลดุ ได้
128 4.9.3 ห้ามใช้มือปัดหรือกวาดเศษเจาะลงจากโต๊ะจับชิน้ งาน (นิว้ อาจถูกบาดเป็นแผลและขาดได้) และห้ามใช้ลมเป่าเศษเจาะเพราะอาจกระเด็นเข้าตาได้ ผ้ปู ฏิบตั ิงานควรใช้แปลงปัดลงจะปลอดภยั มากกวา่ รูปท่ี 4.38 ห้ามใช้ลมเป่าเศษเจาะเพราะจะทาให้กระเดน็ เข้าตาเพือ่ นร่วมงานได้ 4.9.4 สวมใสช่ ดุ ปฏิบตั งิ านทเ่ี หมาะสม อยา่ ปลอ่ ยให้ผมยาว ผกู เนกไท หรือแขนเสอื ้ ยาวรุ่มร่าม และ ห้ามสวมถงุ มือขณะปฏบิ ตั งิ าน เพราะอาจเกิดอนั ตรายได้ รูปท่ี 4.39 การแตง่ กายท่ีไม่เหมาะสมขณะปฏบิ ตั ิงานเจาะอาจกอ่ ให้เกิดอนั ตรายสาหรับผ้ปู ฏบิ ตั ิงานได้ 4.9.5 สวมแวน่ ตานิรภยั ทกุ ครัง้ ทปี่ ฏบิ ตั งิ าน 4.9.6 เลอื กความเร็วรอบและอัตราป้อนที่เหมาะสมกับขนาดของดอกสวา่ นและวสั ดุชิน้ งาน ถ้าใช้ แรงกดและปอ้ นเร็วเกินไปอาจทาให้ดอกสวา่ นหกั หรือแตกเป็นชิน้ เลก็ ๆ ได้ 4.9.7 หลอ่ เย็นตามชนดิ ของวสั ดชุ ิน้ งาน
129 4.9.8 ควรใช้ไม้รองชิน้ งาน เพ่อื ปอ้ งกนั ดอกสวา่ นทะลไุ ปถูกพืน้ ปากกาจบั ชิน้ งานหรือโต๊ะงานเคร่ือง เจาะ 4.9.9 เลอื กใช้ดอกสวา่ นที่มีคมตดั และมีมมุ ที่ถกู ต้องกบั วสั ดชุ ิน้ งาน เช่น ถ้าเจาะชิน้ งานโลหะทว่ั ไป ให้ใช้มมุ รวมปลายดอกสวา่ นเทา่ กบั 118 องศา เป็นต้น เพ่อื ยดื อายกุ ารใช้งานของเคร่ืองเจาะ ผ้ปู ฏิบตั ิควรบารุงรักษาเครื่องเจาะให้ถกู วธิ ีดงั นี ้ 4.10.1 ตรวจสอบสภาพของเครื่องเจาะตามจุดต่าง ๆ ก่อนใช้งานทกุ ครัง้ เช่น สายพาน ความตึง ของสายพานหรือแขนโยกต่าง ๆ และโต๊ะจบั ชิน้ งานวา่ อยู่ในสภาพสมบูรณ์พร้อมที่จะทางานหรือไม่ ถ้ามี ปัญหาให้แจ้งผ้คู วบคมุ แก้ไขทราบโดยทนั ที 4.10.2 ขณะใช้เคร่ืองเจาะ หากมีสว่ นใดสว่ นหนึ่งของเครื่องเจาะเกิดความเสยี หาย ให้หยดุ เครื่อง เพอ่ื ซอ่ มบารุงโดยทนั ที 4.10.3 หลงั การใช้งานเสร็จแล้วจะต้องทาความสะอาดและหยอดนา้ มนั ตามจดุ หลอ่ ลน่ื ตา่ ง ๆ เชน่ สว่ นประกอบทเี่ คลอื่ นทเ่ี พือ่ ลดการสกึ หรอของสว่ นตา่ ง ๆ ของเคร่ืองเจาะ 4.10.4 ก่อนปรับความเร็วรอบของดอกสว่าน ไม่วา่ จะเป็นระบบเฟื องหรือระบบสายพาน จะต้อง หยดุ เครื่องให้สนทิ ก่อน และถ้าเป็นระบบสายพานจะต้องปรับสายพานให้ตงึ และมน่ั คง 4.10.5 กอ่ นสวมปลอกเรียวหรือหวั จบั ดอกสวา่ นเข้าไปในเพลาเคร่ืองเจาะ จะต้องทาความสะอาด ไมใ่ ห้มีเศษโลหะ เพราะอาจทาให้การจบั ยดึ ด้วยเรียวไมแ่ นบสนทิ 4.10.6 เพื่อปอ้ งกันไม่ให้ดอกสวา่ นเจาะทะลถุ ึงฐานของปากกาจบั ชิน้ งานหรือพนื ้ โต๊ะงาน จะต้อง ใช้ไม้หรือแทง่ ขนานรองรับชิน้ งาน 4.10.7 เมื่อปฏิบัติงานเสร็จแล้วจะต้องทาความสะอาดเคร่ืองให้ปราศจากเศษโลหะและชโลม นา้ มนั ทกุ สว่ นของเคร่ืองเจาะเพอื่ ปอ้ งกนั สนิม
130 การคว้านเรียบ (Reaming) มีวตั ถปุ ระสงค์เพือ่ ทาให้ผวิ รูเจาะเรียบและได้ขนาดเท่ียงตรง 4.11.1 ดอกคว้านเรียบ ดอกคว้านเรียบ (Reamer) เป็นเครื่องมือตดั สาหรับงานคว้านเรียบ มีสว่ นประกอบท่สี าคญั ดงั แสดงในรูปท่ี 4.40 ความยาวคมตดั (ลาตวั ) ด้ามจบั คมตดั รูปท่ี 4.40 สว่ นประกอบดอกคว้านเรียบ จากรูปที่ 4.40 ดอกคว้านเรียบ ประกอบด้วยสว่ นทส่ี าคญั 3 สว่ น ดงั นี ้ 1. ด้าม (Shank) เป็นสว่ นที่รับกาลงั จากมือหมนุ หรือเคร่ือง 2. คมตดั (Blade) มีหน้าท่ีปาดผวิ รูเจาะให้เรียบและได้ขนาดท่ีถกู ต้อง 3. ลาตวั คมตดั (Cutting Lips) มีหน้าท่ีนาคมตดั ของดอกคว้านเรียบเข้าปาดผิวรูเจาะให้ ได้ตรงศนู ย์ 4.11.2 ชนิดของดอกคว้านเรียบ ดอกคว้านเรียบแบง่ ออกเป็น 2 ชนิด ดงั นี ้ 1. ดอกคว้านเรียบด้วยมือ (Hand Reamers) ที่ปลายด้ามของดอกคว้านเรียบจะมี ลกั ษณะเป็นรูปส่เี หลย่ี มเพื่อใช้สาหรับมือหมุน แบ่งออกเป็น 3 แบบ คือ แบบขนาดตายตวั แบบปรับขนาด ได้และแบบเรียว (ก) รีมเมอร์ร่องตรงแบบตายตวั (ข) รีมเมอร์ร่องตรงแบบปรับขนาดได้ (ค) รีมเมอร์ปรับขนาดได้ (ง) รีมเมอร์เรียวมอร์สแบบหยาบ รูปท่ี 4.41 ดอกคว้านเรียบด้วยมอื
131 2. ดอกคว้านเรียบด้วยเครื่อง (Machine Reamers) ท่ีปลายด้ามของดอกคว้านเรียบ แบง่ ออกเป็น 2 ชนดิ คือ ชนดิ ด้ามตรง ซง่ึ ใช้กบั หวั จบั ของดอกสวา่ นและชนดิ ด้ามเรียวทใ่ี ช้จบั กบั เพลา ของ เครื่อง ดอกคว้านเรียบด้วยเครื่องแบง่ ออกเป็น 2 แบบ คอื แบบตายตวั และแบบปรับขนาดได้ รูปท่ี 4.42 ดอกคว้านเรียบด้วยเคร่ือง 4.11.3 หลักการคว้านเรียบ 1. การเจาะรูสาหรับการคว้านเรียบ ก่อนที่จะปฏิบตั ิงานคว้านเรียบจะต้องเจาะรูด้วย ดอกสวา่ นกอ่ น และขนาดของรูเจาะก็จะต้องเลก็ กวา่ ขนาดของดอกคว้านเรียบ ซงึ่ สามารถคานวณจากสตู ร ดงั ตอ่ ไปนี ้ db = df - z เม่ือ db = ขนาดรูเจาะ df = ขนาดดอกคว้านเรียบ z = ระยะเผ่อื (ระยะเผอ่ื จากตาราง + สว่ นเกินของขนาด) ตัวอย่างท่ี 4.2 เจาะรูด้วยดอกคว้านเรียบขนาดสาเร็จ 20 มม. จงหาขนาดของรูเจาะด้วย ดอกสวา่ น วิธที า จากสตู รขนาดของรูเจาะ = ขนาดสาเร็จ – (ระยะเผื่อ + สว่ นเกินของขนาด) = 20 – (0.3 + 0.05) ดงั นนั้ ขนาดของดอกสวา่ น = 19.65 มม. ตอบ
132 รูปท่ี 4.43 สดั สว่ นตา่ ง ๆ ของงานคว้านเรียบ หมายเหตุ : ดอกสวา่ นขนาดหนงึ่ ๆ เมื่อเจาะรูเสร็จแล้วขนาดของรูเจาะโดยปกตแิ ล้วจะโตกวา่ ขนาด ของดอกสวา่ นประมาณ 0.05 มม. ซง่ึ เป็นสว่ นเกินของขนาดในการคว้านเรียบ สาหรับระยะเผื่อดไู ด้จาก ตารางที่ 4.4 ตารางท่ี 4.4 ระยะเผอื่ ของการคว้านเรียบแตล่ ะขนาด ขนาดของดอกคว้านเรียบ (df) (มม.) ระยะเผอื่ (z) (มม.) เลก็ กวา่ 5 0.1 – 0.2 5 – 20 0.2 – 0.3 21 – 50 0.3 – 0.5 โตกวา่ 50 0.5 – 1.0 2. ความเร็วรอบสาหรับงานคว้านเรียบด้วยเครื่อง การคว้านเรียบด้วยเครื่องโดยปกติแล้ว จะเลือกใช้ความเร็วรอบช้ากว่าความเร็วรอบท่ีใช้ในการเจาะรูประมาณ 1 ใน 3 ส่วนความเร็วตัดและ ความเร็วในการคว้านเรียบจะขนึ ้ อยกู่ บั วสั ดชุ ิน้ งานและวสั ดทุ ี่ใช้ผลิตดอกคว้านเรียบ ดงั ในตารางที่ 4.5 และ ตารางที่ 4.6
133 ตารางท่ี 4.5 คา่ ความเร็วตดั สาหรับวสั ดดุ อกคว้านเรียบและวสั ดชุ ิน้ งาน วัสดุชนิ้ งาน ความเร็วตดั (V) สาหรับวสั ดุดอกคว้านเรียบ เหล็กเคร่ืองมือ เหล็กกล้ารอบสูง เหลก็ กล้า บรอนซ์ และเหลก็ หลอ่ 3–4 4–5 อะลมู เิ นียม 12 – 17 17 – 20 อะลมู เิ นียมเจือ 6 – 9 9 – 12 แมกนีเซียมผสม 20 30 ตารางท่ี 4.6 คา่ ความเร็วตดั สาหรับการคว้านเรียบด้วยดอกคว้านเรียบที่ผลติ จากเหลก็ กล้ารอบสงู วัสดุชนิ้ งาน ความเร็วตดั ของดอกคว้านเรียบ ฟุต/นาที (ft/min) เมตร/นาที (m/min) เหลก็ กล้าทว่ั ไป 50 – 70 15 – 21 เหลก็ กล้าผสม 30 – 40 9 – 12 เหลก็ หลอ่ 50 – 80 15 – 24 ทองเหลอื ง 130 – 180 39 – 55 อะลมู เิ นียม 130 – 200 39 – 60 สแตนเลส 40 – 50 12 – 15 แมกนีเซียม 170 – 270 52 – 58 3. การหลอ่ ลนื่ และหลอ่ เย็น ในขณะทาการคว้านเรียบจะเกิดเศษชิน้ งานขนึ ้ ดงั นนั้ จึงต้อง มีการหลอ่ ลน่ื และหลอ่ เยน็ เพื่อช่วยไมใ่ ห้เกิดความร้อน เศษโลหะอดุ ตนั และชว่ ยลดแรงเสยี ดทานระหวา่ งผิว รูเจาะกบั คมของดอกคว้านเรียบ ซงึ่ จะทาให้ชิน้ งานผวิ เรียบมากขนึ ้ ในตารางที่ 4.7 แสดงชนดิ ของสารหลอ่ เย็น ทใ่ี ช้ในงานคว้านเรียบ ตารางท่ี 4.7 ชนดิ ของสารหลอ่ เยน็ ท่ีใช้ในงานคว้านเรียบ การหล่อเยน็ นา้ มนั สบหู่ รือนา้ มนั วสั ดุชนิ้ งาน เหลก็ กล้า – เหลก็ หลอ่ นา้ สบู่ อะลมู เิ นียม
134 4. ขนั้ ตอนการคว้านเรียบด้วยมือมีดงั นี ้ 4.1 เจาะรูให้มีขนาดเลก็ กวา่ ขนาดจริงด้วยเครื่องเจาะหรือเคร่ืองกลงึ 4.2 จบั ยดึ ชิน้ งานด้วยปากกาจบั ชิน้ งานให้แนน่ และมน่ั คง 4.3 คว้านเรียบด้วยมือโดยใช้ด้ามต๊าปเกลยี วและให้หมนุ ไปทิศทางเดียว ห้ามหมนุ กลบั ทิศทางเหมือนต๊าปเกลยี ว เพราะเศษชิน้ งานจะขดู ผิวชิน้ งานเป็นรอยได้ ด้ามจบั ดอกคว้านเรียบ ด้ามจบั ดอกคว้าน เรียบ ปากกาจบั ชนิ ้ งาน ชนิ ้ งาน รูปท่ี 4.44 การคว้านเรียบด้วยมือ รูปท่ี 4.45 การหมนุ และกดดอกคว้านเรียบในทิศทางเดยี ว 4.4 ตรวจศนู ย์แนวฉากระหวา่ งดอกคว้านเรียบกบั ผิวชิน้ งานโดยใช้ฉากตาย 4.5 หลอ่ ลน่ื ดอกคว้านเรียบและชิน้ งานด้วยนา้ มนั ตดั เพื่อชว่ ยยืดอายกุ ารใช้งานของ ดอกคว้านเรียบ และรักษาคณุ ภาพของผิวชิน้ งาน ข้อควรระวัง : ในการคว้านเรียบจะต้องหมนุ ขวาทางเดียวเท่านนั้ ห้ามหมนุ ซ้ายโดยเด็ดขาด ทงั้ นี ้ เพราะคมตดั ของดอกคว้านเรียบอยดู่ ้านหมนุ ขวา ถ้าหมนุ กลบั ทางซ้าย คมตดั อาจทบั เศษโลหะและกดลงไป ในผวิ ชิน้ งานทาให้เกิดรอย และยง่ิ ไปกวา่ นนั้ อาจทาให้ดอกคว้านเรียบหกั ได้
135 คาส่ัง จงตอบคาถามตอ่ ไปนี ้ 1. จงบอกช่ือและหน้าทขี่ องสว่ นประกอบของเครื่องเจาะตามหมายเลขท่กี าหนดให้ตอ่ ไปนี ้(14 คะแนน) หมายเลข 1 ชื่อ หน้าที่ หมายเลข 2 ช่ือ หน้าท่ี หมายเลข 3 ชื่อ หน้าที่ หมายเลข 4 ชื่อ หน้าท่ี หมายเลข 5 ชื่อ หน้าที่ หมายเลข 6 ช่ือ หน้าท่ี หมายเลข 7 ช่ือ หน้าที่
136 2. จงเลือกหมายเลขและตัวอักษรด้านหน้าข้อความไปเติมลงในช่องว่างให้ตรงกับช่ือและหน้าท่ีของ เคร่ืองมือตอ่ ไปนีใ้ ห้ถกู ต้อง (12 คะแนน) 2.1 ช่ือ หน้าที่ 2. 2.3 ช่ือ หน้าที่ 2 ชื่อ หน้าท่ี 2.4 ช่ือ หน้าท่ี 2. 2.6 ชื่อ หน้าที่ 5 ชื่อ หน้าท่ี 2.7 ช่ือ หน้าที่ 2. 2.9 ช่ือ หน้าท่ี 8 ชื่อ หน้าท่ี 2.10 ช่ือ หน้าที่ 2.11 ชื่อ หน้าท่ี 2.12 ชื่อ หน้าที่ ช่ือ หน้าท่ี การใช้งาน
137 1. ปลอกจบั ดอกสวา่ นก้านเรียว ก. ผายปากรูเพอ่ื ลบคมรูเจาะ 2. ดอกคว้านเรียบ (Reamer) ข. เจาะรูชิน้ งาน 3. ดอกผายปากรู (Counter Sinks) ค. คว้านผิวรูให้เรียบ 4. ดอกสวา่ นก้านเรียว ง. รองชิน้ งานเพ่ือให้ได้ระดบั 5. ดอกสวา่ นก้านตรง จ. ขนั ยดึ ชิน้ งานให้แนน่ 6. แทง่ ระดบั ฉ. เจาะนาศนู ย์กอ่ นเจาะรูด้วยดอกสวา่ น 7. แทง่ ขนาน ช. อุปกรณ์ช่วยจบั ยดึ ชิน้ งานกลม ช่ือ หน้าท่ี การใช้งาน 8. วี–บลอ็ ก ซ. อุปกรณ์ชว่ ยจบั ยดึ ชิน้ งานและใช้ร่วมกบั แผน่ กดชิน้ งาน 9. โบลต์แบบที–สลอต (T–Slot Bolt) ฌ. จบั ยดึ ดอกสวา่ นก้านเรียว 10. ดอกเจาะนาศนู ย์ ญ. ใช้ขนั ยดึ หวั จบั ดอกสวา่ นให้ลอ็ กดอกสวา่ น 11. ปากกาจบั งานเจาะ ฎ. ใช้ตอกสง่ สวา่ นก้านเรียวออกจากปลอกเรียว 12. เหลก็ สง่ ก้านเรียว 3. จงเขยี นขนั้ ตอนการปรับความเร็วรอบของเคร่ืองเจาะชนดิ สง่ กาลงั ด้วยสายพานมาพอเข้าใจ (5 คะแนน) 4. จงเขียนขนั้ ตอนการเจาะรูด้วยเคร่ืองเจาะมาพอเข้าใจ (5 คะแนน)
138 5. จงบอกข้อควรระวงั ในการใช้เครื่องเจาะมาอยา่ งน้อย 5 ข้อ (5 คะแนน) 6. จงบอกวธิ ีการบารุงรักษาเครื่องเจาะตงั้ พนื ้ มาอยา่ งน้อย 5 ข้อ (5 คะแนน) 7. ดอกคว้านเรียบ (Reamer) แบง่ ออกเป็นกี่แบบและอะไรบ้าง (2 คะแนน) 8. ดอกคว้านเรียบมีสว่ นประกอบท่ีสาคญั ก่ีสว่ นและมีอะไรบ้าง (3 คะแนน) 9. ในการคว้านเรียบด้วยดอกคว้านเรียบท่ีมีขนาดเส้นผา่ นศูนย์กลาง 12 มม. จะต้องเจาะรูขนาดเท่าไร (กาหนดระยะเผือ่ เทา่ กบั 0.20 มม.) (5 คะแนน)
139 10. จงอธิบายขนั้ ตอนในการคว้านเรียบด้วยมือมาเป็นข้อ ๆ มาพอเข้าใจ (5 คะแนน) คาส่ัง จงเลอื กคาตอบทถ่ี กู ต้องทีส่ ดุ ข. การขนึ ้ รูปชิน้ งานเป็นรูทรงกระบอก 1. ข้อใดคือความหมายของการเจาะ ง. การขนึ ้ รูปชิน้ งานให้ผวิ เรียว ก. การขนึ ้ รูปชิน้ งานเป็นทรงกระบอก ข. ฝังหวั สกรู ค. การขนึ ้ รูปชิน้ งานเป็นรูปทรงกลม ง. ถกู ทกุ ข้อ 2. จุดม่งุ หมายในการเจาะรูคืออะไร ก. ทาเกลยี วใน ค. ร้อยสกรู 3. จากรูป หมายถงึ การเจาะแบบใด ก. การเจาะรูทะลุ ข. การเจาะแบบฝายปากรู ค. การคว้านเรียบ ง. การเจาะเพื่อฝังสกรู 4. จากรูป หมายถึงการเจาะแบบใด ก. การเจาะรูทะลุ ข. การเจาะรูไม่ทะลุ ค. การคว้านเรียบ ง. การเจาะเพ่อื ฝังสกรู
140 5. จากรูป หมายถึงการเจาะแบบใด ก. การคว้านขยายรู ข. การเจาะรูทะลุ ค. การคว้านเรียบ ง. การเจาะเพื่อฝังสกรู 6. จากรูป หมายถงึ การเจาะแบบใด ก. การคว้านขยายรู ข. การเจาะแบบฝายปากรู ค. การคว้านเรียบ ง. การเจาะแบบทะลุ 7. ในการเจาะรูชิน้ งานซงึ่ เป็นเหลก็ กล้าคาร์บอนปานกลางด้วยดอกสวา่ นขนาดเส้นผา่ นศนู ย์กลาง 20 มม. โดยใช้ความเร็วตดั 33 เมตร/นาที จะต้องใช้ความเร็วรอบเทา่ ไร ก. 314 รอบ/นาที ข. 572 รอบ/นาที ค. 509 รอบ/นาที ง. 525 รอบ/นาที 8. เคร่ืองเจาะชนิดใดมีขนาดเลก็ ทสี่ ดุ ก. เคร่ืองเจาะตงั้ โต๊ะ ข. เคร่ืองเจาะตงั้ พนื ้ ค. เคร่ืองเจาะรัศมี ง. เคร่ืองเจาะเอนกประสงค์ 9. ชิน้ สว่ นใดของเครื่องเจาะตงั้ พนื ้ ที่ตดิ ตงั้ ระบบสง่ กาลงั สาหรับปรับความเร็วรอบ ก. ฐานเคร่ือง ข. โต๊ะงาน ค. เสาเคร่ือง ง. หวั เครื่อง 10. อปุ กรณ์ที่ใช้สาหรับจบั ยดึ สวา่ นก้านเรียวคือข้อใด ก. เหลก็ สง่ ก้านเรียว ข. หวั จบั ดอกสวา่ น ค. ปลอกเรียว ง. จาปาขนั 11. เครื่องเจาะมีระบบสง่ กาลงั แบบใด ก. สง่ กาลงั ด้วยเพลา ข. สง่ กาลงั ด้วยโซ่ ค. สง่ กาลงั ด้วยสายพาน ง. สง่ กาลงั ด้วยเกลยี ว 12. ข้อใด ไม่ใช่ เครื่องมือตดั ท่ใี ช้กบั งานเจาะ ก. ดอกสวา่ น ข. ดอกเจาะนาศนู ย์
141 ค. ดอกกดั ง. ดอกผายปากรู 13. ปลอกเรียวและก้านเรียวของดอกสวา่ นหรือหวั จบั ดอกสวา่ นเป็นเรียวแบบใด ก. เรียวแบบสลกั ข. เรียวแบบมอร์ส ค. เรียวแบบบาร์วแอนด์ชาร์ป ง. เรียวแบบสวมอดั 14. การใช้ดอกเจาะนาศนู ย์เจาะนากอ่ นเจาะด้วยดอกสวา่ นจะทาให้เกิดผลดีอยา่ งไร ก. เจาะได้ตรงตาแหนง่ ทีต่ ้องการ ข. รูเจาะท่ไี ด้มีขนาดโตตามความต้องการ ค. ปากรูเจาะเกิดเป็นมมุ เรียวเรียบร้อยดี ง. ชว่ ยให้ปลายสวา่ นไมส่ กึ หรอ 15. ดอกเจาะนาศนู ย์มาตรฐานเยอรมนั ทนี่ ิยมใช้กนั มากเป็นดอกเจาะนาศนู ย์แบบใด ก. แบบ A ข. แบบ B ค. แบบ C ง. แบบ D 16. เพราะเหตใุ ดจงึ ต้องเจาะดอกสวา่ นดอกเลก็ ก่อนเจาะด้วยดอกทีข่ นาดใหญ่กวา่ เสมอ ก. เจาะได้ตรงตาแหนง่ ทต่ี ้องการ ข. รูเจาะที่ได้มีขนาดโตตามความต้องการ ค. ชว่ ยลดการสกึ หรอของคมตดั ดอกสวา่ น ง. ทาให้ได้ผวิ เรียบมากขนึ ้ 17. เจาะรูขนาดเส้นผา่ นศนู ย์กลาง 10 มม. โดยใช้ความเร็วตดั 23 เมตร/นาที จะต้องใช้ความเร็วรอบเทา่ ไร ก. 573 รอบ/นาที ข. 650 รอบ/นาที ค. 732 รอบ/นาที ง. 738 รอบ/นาที 18. วตั ถปุ ระสงค์ของการ Reamer คือข้อใด ก. คว้านฝังหวั ข. คว้านเรียบ ค. เจาะนาศนู ย์ ง. คว้านรูให้โตขนึ ้ 19. ความเร็วรอบท่เี หมาะสมของการคว้านเรียบด้วยเคร่ืองคอื ข้อใด ก. ช้ากวา่ ความเร็วที่ใช้เจาะรูประมาณ 1 ใน 2 ของความเร็วในการเจาะ ข. ช้ากวา่ ความเร็วทใ่ี ช้เจาะรูประมาณ 1 ใน 3 ของความเร็วในการเจาะ ค. ช้ากวา่ ความเร็วท่ีใช้เจาะรูประมาณ 1 ใน 4 ของความเร็วในการเจาะ ง. ช้ากวา่ ความเร็วท่ีใช้เจาะรูประมาณ 1 ใน 5 ของความเร็วในการเจาะ 20. การคว้านเรียบ (Reaming) มีวิธีการหมนุ ตามข้อใด ก. หมนุ ทศิ ทางเดียว ข. หมนุ กลบั ไป–กลบั มา ค. หมนุ เหมือนดายเกลยี ว ง. หมนุ เหมือนต๊าปเกลยี ว
142
Search
Read the Text Version
- 1 - 41
Pages: