Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Ebook3

Ebook3

Published by supaneeprachan, 2021-09-08 13:56:01

Description: Ebook3

Search

Read the Text Version

ศูนยอ์ าชีวศึกษาทวิภาคี สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 3 การเขยี นแผนการฝึกอาชีพ กรอบแนวคิด กระทรวงศึกษาธิการได้มีประกาศเรื่อง “มาตรฐานการจัดอาชีวศึกษาระบบทวภิ าคี” ลงวันที่ 17 ตุลาคม 2557 มีใจความสาคัญคือ การฝึกอาชีพในสถานประกอบการมีระยะเวลาไม่น้อยกว่าก่ึงหนึ่ง ของการจัดการศึกษาแต่ละระดับ และได้กาหนดให้สถานประกอบการต้องมีบุคลากรผู้ประสานงาน และครูฝึก และสถานศึกษาต้องมีครูนิเทศก์การฝึกอาชีพในสถานประกอบการ สาหรับครูฝึกในสถาน ประกอบการตอ้ งมคี ุณสมบัติตามกฎหมายว่าดว้ ยการอาชีวศึกษา การฝกึ อาชพี ระดับ ปวช. และ ปวส. ต้องมีครูฝกึ 1 คน ตอ่ ผูเ้ รียนไมเ่ กนิ 10 คน ระดบั ปรญิ ญาตรตี อ้ งมีครูฝึก 1 คน ตอ่ ผู้เรียนไม่เกิน 8 คน ท้ังนี้สถานประกอบการต้องจัดให้มี ครูฝึก และผู้ควบคุมการฝึก และกาหนดให้สถานศึกษาร่วมกับ สถานประกอบการมีการทาแผนการเรียน แผนการฝึกอาชีพ และแผนการนิเทศร่วมกับสถาน ประกอบการ ส่วนในด้านการจัดการเรียนการสอนให้เป็นไปตามจุดประสงค์สาขาวิชา และมาตรฐาน คุณวุฒิอาชีวศึกษาแต่ละสาขา แต่ละระดับ โดยผู้เรียนต้องมีการบันทึกการฝึกอาชีพ แฟ้มสะสมงาน บนั ทึกคุณธรรมและจติ อาสาใหเ้ ป็นไปตามแบบทส่ี านักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษากาหนด แผนการฝึกอาชีพเปน็ แผนการฝึกปฏิบตั ิในสถานประกอบการท่ีทาให้เกิดสมรรถนะอาชีพกับ นักศึกษาทวิภาคี ประกอบด้วยแผนการฝึก (Training Plan) ซ่ึงเป็นแผนการฝึกตลอดหลักสูตรของ สถานประกอบการ และแผนการฝึกปฏบิ ตั ิงาน (Work Task Plan) ซึ่งเปน็ แผนการฝึกอาชีพของงานที่ นักศกึ ษาทวภิ าคเี ข้ารับการฝึก จากมาตรฐานการจัดอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีท่ีกล่าวข้างต้น ได้กาหนดไว้ว่าลักษณะงานที่ ฝึกอาชีพต้องสอดคล้องกับการเรียนรู้ในสาขาวิชาที่ผู้เรียนกาลังศึกษา การวิเคราะห์งานหรืออาชีพใน สถานประกอบการจึงมีความจาเป็นเพื่อให้นักศึกษาทวิภาคีฝึกอาชีพได้อย่างมีประสิทธิภาพ และนา งานที่วเิ คราะห์ไดไ้ ปเขยี นเป็นแผนการฝกึ ซึ่งมีขัน้ ตอน ดงั น้ี 1. วเิ คราะหง์ านในสถานประกอบการโดยใช้กระบวนการ DACUM 2. กาหนดความต้องการในการฝึกอาชีพท่ีนักศึกษาต้องฝึกปฏิบัติได้ตามระดับ การศกึ ษา คือ ปวช. ปวส. และปรญิ ญาตรเี ทคโนโลยสี ายปฏิบตั ิการ 3. เขยี นแผนการฝกึ อาชีพตลอดหลกั สูตร (Training Plan) 4. วิเคราะหง์ านทีจ่ ะฝกึ อาชพี (Task Analysis) 5. เขียนแผนการฝึกปฏบิ ตั งิ าน (Work Task Plan) แผนการฝึกที่ได้ สถานประกอบการกับสถานศึกษาต้องร่วมกันวางแผนการสอนงาน และจัดการสอนงานอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งตามมาตรฐานระบบบริหารงานคุณภาพ (ISO9001)

ได้กาหนดระเบียบการอบรมในงาน (on the job training:OJT) ไว้ให้สถานประกอบการที่ได้คุณภาพ ดาเนินการ จุดประสงค์ทัว่ ไป 1. เพ่ือให้ครูฝึกมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ การจัดการฝึกอาชีพ (Training Management)รูปแบบการจัดฝึกอาชีพ การจัดการฝึกอบรมในสถานประกอบการ การจัดฝึกอาชีพ ตามหลักสูตรในสถานประกอบการตามหลักสูตร ปวช. ปวส. และ ปริญญาตรี สายเทคโนโลยี ปฏิบตั ิการ 2. เพื่อให้ครูฝึกมีความรู้ ความเข้าใจการวิเคราะห์งานในสถานประกอบการ (Job Analysis) เพ่ือนามาเขียนแผนการฝึกอาชีพตลอดหลักสูตร(Training plan) และจัดทาแผนการฝึกปฏิบัติงาน (Work Task Plan) จุดประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม เพื่อใหค้ รฝู ึก 1. อธิบายรูปแบบการจัดฝึกอาชีพ การจัดการฝึกอบรมในสถานประกอบการ การจัดฝึก อาชีพตามหลักสูตรในสถานประกอบการตามหลักสูตร ปวช. ปวส. และ ปริญญาตรี สายเทคโนโลยี ปฏิบตั ิการ 2. แสดงการวิเคราะหง์ าน (Job Analysis) ในสถานประกอบการ 3. เขียนแผนการฝกึ อาชีพ (Training Plan) 4. แสดงการวิเคราะหง์ าน (Task Analysis) 5. เขยี นแผนการฝึกปฏบิ ตั งิ าน (Work task, plan) สาระการเรยี นรู้ 1. การจัดฝกึ อาชีพ (Training Management) 1.1 รูปแบบการจัดฝึกอาชพี 1.2 การจัดฝึกอบรมในสถานประกอบการ 1.3 การจัดฝึกอาชีพตามหลักสูตรในสถานประกอบการ 2. การวเิ คราะห์งานในสถานประกอบการ (Analyzing Work Tasks) 2.1 วิเคราะห์งานในสถานประกอบการ (Job Analysis) 2.2 วิเคราะห์งานย่อย (Task Analysis) 3. การกาหนดความต้องการฝึกอาชพี (Defining Training Requirements) 4. การเขียนแผนการฝกึ อาชีพตลอดหลักสตู ร (Training Plan)

5. การจดั ทาแผนการฝกึ ปฏิบัตงิ าน (Work Task Plan) หรอื แผนการฝกึ อาชพี รายหนว่ ย ใบเน้อื หาท่ี 3.1 การจดั ฝกึ อาชพี (Training Management)  ความสาคัญของแผนการฝกึ อาชีพ แผนการฝึกอาชีพ หมายถึง แผนงานของครูฝึก เพ่ือเตรียมงานการฝึกอาชีพให้นักเรียน นักศึกษาระบบทวิภาคี มีความรู้ ความสามารถในอาชีพ ตรงตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่สถาน ประกอบการกาหนดไว้ โดยสอดคล้องกับสมรรถนะวิชาชีพ และรายวิชาในหลักสูตร การจัดฝกึ อาชีพหากไม่มีแผนการฝึกอาชีพ หรอื มแี ต่ไมไ่ ดจ้ ดั ทาอย่างมีประสิทธภิ าพ จะสง่ ผล ใหก้ ารฝึกอาชีพของนักศึกษาขาดประสิทธิภาพ และส่งผลให้คุณภาพของผสู้ าเร็จการศึกษาระบบทวิภาคี ลดลง ซ่ึงแผนการฝึกอาชีพจะระบถุ งึ  จะฝึกอะไรบ้าง ?  ใชเ้ วลาฝกึ เท่าไร ?  ฝกึ ที่ไหน ?  ฝกึ อย่างไร ?  ภารกิจของสถานประกอบการ สถานศึกษา และครูฝึก ในการจัดฝึกอาชีพของการศกึ ษาระบบ ทวภิ าคี การจัดฝึกอาชีพในสถานประกอบการของนักศึกษาทวิภาคี เป็นความร่วมมือระหว่าง สถานประกอบการกบั สถานศกึ ษา ซงึ่ มีกจิ กรรมทด่ี าเนนิ การร่วมกัน คือ 1. กาหนดหนว่ ยกติ ท่ีจะฝกึ อาชพี ในสถานประกอบการ 2. วเิ คราะห์งานในสถานประกอบการ 3. กาหนดงานในสถานประกอบการเป็นรายวชิ าปฏบิ ตั ิตามหลักสตู ร โดยมี • สมรรถนะทฝี่ ึกในสถานประกอบการ • เร่ืองทต่ี ้องเรียนเพมิ่ ในสถานศึกษา 3. กาหนดระยะเวลา รปู แบบ และวธิ ีการฝกึ 4. กาหนดกฎระเบียบการฝกึ

ในส่วนของครูฝึก ซึ่งเป็นบุคลากรของสถานประกอบการ รวมไปถึงพี่เลี้ยงที่ช่วยฝึกนักศึกษา มหี นา้ ที่ 1. ศึกษาสมรรถนะอาชพี ที่กาหนดในการฝกึ อาชพี 2. เขียนแผนการฝกึ อาชีพ 3. ดาเนินการฝกึ อาชพี 4. ประเมนิ ผลการฝึกอาชีพ 5. สับเปลย่ี นงานจนครบตามงานและระยะเวลาทก่ี าหนดในแผนการฝกึ  รปู แบบการจัดฝึกอาชีพตามระดับการศึกษา ระดับประกาศนยี บตั รวิชาชีพ (ปวช.) หลกั สูตรประกาศนียบัตรวชิ าชีพ (ปวช.) มุง่ เนน้ ผลิตผู้มีความรู้ความเข้าใจและทักษะในระดับ ฝีมือ (Skill) มีสมรรถนะท่ีสามารถปฏิบัติงานอาชีพได้จริง ซ่ึงหลักสูตรกาหนดให้ผู้เรียนได้เรียนและ ฝึกปฏบิ ัตงิ านอาชีพครอบคลมุ สาขาวิชา เชน่ สาขาวิชาการโรงแรม หลักสูตรกาหนดให้ศกึ ษา งานครัว โรงแรม งานแม่บ้านโรงแรม งานบริการอาหารและเครื่องดื่ม ภัตตาคารและการจัดเลี้ยง เครื่องดื่ม และการผสมเคร่ืองด่ืม งานส่วนหน้าโรงแรม ดังนั้นในการจัดฝึกอาชีพในสถานประกอบการจึงต้องมี การเปล่ียนงานฝึกไปตามแผนกงานต่างๆ ใหส้ อดคล้องกับหลกั สตู ร ระดับประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้นั สงู (ปวส.) หลกั สตู รประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ชัน้ สงู (ปวส.) มุ่งเน้นผลิตผมู้ ีความร้คู วามเข้าใจและทกั ษะใน ระดับเทคนิค (Technic) สามารถปฏิบตั งิ านทใี่ ช้เทคนิค ควบคมุ การทางาน การจัดฝึกอาชีพจะเน้นไป ท่ีงานเฉพาะตาแหน่ง และเน้นการควบคุมการทางาน ระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยหี รือสายปฏบิ ตั ิการ (ทล.บ.) ระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ (ทล.บ.) มุ่งเน้นผลิตผมู้ ีความรอบรู้และมี สมรรถนะในการปฏิบัติ และพัฒนางานระดับเทคโนโลยี การจัดฝึกอาชีพจึงเน้นการพัฒนางานให้มี ประสิทธิภาพสงู ขึ้น หรอื พัฒนานวัตกรรมในการผลิตเพื่อเพ่ิมมูลค่า  รูปแบบและวิธีการจดั ฝกึ อาชีพในสถานประกอบการ การจัดฝึกอาชพี ในสถานประกอบการนั้น สถานศึกษาสามารถกาหนดรูปแบบการฝกึ อาชีพ ไดด้ งั นี้ 1. การจดั ฝึกอาชพี แบบฝกึ เปน็ ช่วง (Block Release) เป็นการเรียนหรอื ฝึกใหจ้ บเปน็ เร่ืองๆ และ เป็นระบบท่ีกาหนดให้นักเรียน นักศึกษาไปเรียนทฤษฎีในสถานศึกษาในช่วงเวลาที่กาหนดระหว่าง การฝกึ อาชีพในสถานประกอบการ 2. การจัดฝึกอาชีพแบบฝึกเป็นวัน (Day Release) เป็นระบบที่กาหนดให้นักเรียน นักศึกษา กลับไปเรียนทฤษฎใี นสถานศกึ ษา สัปดาหล์ ะ 1 – 2 วัน

3. การจัดฝึกอาชีพแบบอ่ืน ๆ เช่น การฝึกอาชีพแบบผสม การฝึกอาชีพนอกเวลาเรียน (ในภาค ค่า และวนั เสาร์) การฝกึ อาชพี แบบโมดูล เป็นตน้ ส่วนวิธีการฝึกในสถานประกอบการ จะใช้วิธีการอบรมในงาน (On the Job Training) ซึ่ง เป็นวิธีการที่เหมาะสมกับสถานประกอบการ และข้อกาหนด ISO 9001 การฝึกอบรมในงานการ ฝึกอบรมในงาน (on the job training) คือการเรียนรู้งานโดยการสังเกตการทางานของพนักงานท่ีมี ความชานาญและลงมือปฏิบัติจริง องค์กรต้องกาหนดว่าต้องมีทักษะอะไรบ้างที่จา เป็นในงาน หลงั จากนนั้ องค์กรมีหนา้ ทีใ่ นการจดั ใหพ้ นักงานมที กั ษะตามที่กาหนด การฝึกอาชพี แบบ On the Job Training (OJT) คือ การฝกึ การปฏิบัติงานจริง โดยมีผชู้ านาญงานน้นั เปน็ ครูฝึก คอยดูแลการฝึกงานของผู้เข้า รับการฝึกอบรม ซึ่งการฝึกอบรมแบบ On the Job Training จะไม่เน้นการเรียนทฤษฎีมากนัก แตม่ ่งุ เนน้ ไปในทางฝึกปฏิบตั ิ ทาใหก้ ารฝึกอบรมแบบน้ี มีความสามารถในการสร้างความรู้ความเข้าใจ เหมาะกับการปฏิบัติงานโดยตรงเพราะเห็นผลในระยะสั้นค่อนข้างชัดเจน ต้นทุนต่า แต่ก็ไม่ควรที่จะ ให้มีจานวนผู้เข้ารับการฝึกอบรมมากเกินไป เพราะอาจจะทาให้เกิดการดูแลของผู้ฝึกสอนไม่ท่ัวถึง อาจทาให้เกิดการบกพร่องในการปฏิบัติงาน ในการฝึกสถานประกอบการจะมอบหมายให้พนักงาน ประจาในหน้าท่ีเป็นพ่ีเล้ียง (Mentor) และครูฝึกทาหน้าที่เป็นโค้ช (Coach) การฝึกอาชีพแบบ On the Job Training (OJT) จะมีกระบวนการคอื 1. พจิ ารณาว่ามีหน่วยงานใดท่ีต้องเกี่ยวข้องกับการฝึกอบรมในงาน 2. จัดทารายการทักษะทีต่ ้องเรยี นร้ใู นการปฏบิ ัตงิ านและวธิ ีการวัดผล 3. กาหนดโปรแกรมการฝึกอาชีพสาหรับนกั ศึกษาแต่ละคน 4. จดั ทาคมู่ ือหรือเอกสารการฝึกอบรมในงาน 5. จดั ทาระบบรายงานของนกั ศึกษาระหว่างฝกึ และสิ้นสดุ การฝึก การฝึกอบรมนอกงาน (Off the Job Training) เปน็ การฝกึ อบรมท่ีเน้นความรู้ ความเข้าใจ โดยการจัดฝึกอบรมอย่างเปน็ ทางการในห้อง หรอื ในสถานการณ์จาลอง ไม่ใช่การเรียนรู้แบบปฏิบัติงานจริง ซ่ึงการฝึกอบรมประเภทน้ีจะให้ความรู้ ผูเ้ ข้าอบรมได้มากกวา่ การอบรมแบบ On the Job Training เพราะผเู้ ข้าอบรมสามารถเรียนรูไ้ ด้อย่าง เต็มท่ี จึงเหมาะสมกับให้ความรู้นักศึกษาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการฝึกปฏิบัติ และเพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจในงาน ซ่ึงอาจทาได้ท้ังสถานประกอบการจัดฝึกอบรมเอง และครูจากสถานศึกษาไปให้ ความรู้เพม่ิ เตมิ ในสถานประกอบการ

ในการฝึกอาชีพนักศึกษาทวิภาคีสถานศึกษาควรร่วมกับสถานประกอบการจัดช่ัวโมงให้ ครูมาสอนให้ความรู้และเป็นการนิเทศอย่างน้อยสัปดาห์ละ 2 ช่ัวโมง เพื่อเป็นการจัดการเรียน เสรมิ ให้นักศึกษาทวภิ าคีมสี มรรถนะมากกว่าการฝึกประสบการณว์ ชิ าชีพหรอื ฝกึ งานปกติ ใบเนื้อหาท่ี 3.2 โครงหลกั สตู รและการจดั รายวชิ าทวิภาคี  โครงสร้างหลกั สตู ร  โครงสรา้ งของหลกั สตู รประกาศนียบัตรวิชาชพี พทุ ธศักราช 2556 แบ่งเปน็ 3 หมวดวิชา และกจิ กรรมเสริมหลักสูตร รวมไม่นอ้ ยกว่า 103 หนว่ ยกติ ดงั นี้ 1 หมวดวชิ าทกั ษะชีวิต 1.1 กลมุ่ วิชาภาษาไทย 1.2 กลุม่ วิชาภาษาตา่ งประเทศ 1.3 กลุ่มวชิ าวิทยาศาสตร์ 1.4 กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ 1.5 กล่มุ วชิ าสงั คมศึกษา 1.6 กลุ่มวิชาสุขศกึ ษาและพลศกึ ษา 2 หมวดวชิ าทักษะวชิ าชพี 2.1 กลมุ่ ทกั ษะวชิ าชีพพนื้ ฐาน 2.2 กล่มุ ทักษะวิชาชพี เฉพาะ 2.3 กลมุ่ ทักษะวชิ าชีพเลือก (ทวภิ าค)ี 2.4 ฝึกประสบการณท์ กั ษะวิชาชีพ 2.5 โครงการพัฒนาทักษะวชิ าชีพ

3 หมวดวิชาเลือกเสรี 4 กิจกรรมเสรมิ หลักสตู ร การฝึกประสบการณ์ทักษะวิชาชีพ เป็นการจัดกระบวนการเรียนรู้โดยความร่วมมือระหว่าง สถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบันกับภาคการผลิตและหรือภาคบริการ หลังจากที่ผู้เรียนได้เรียนรู้ ภาคทฤษฎีและการฝึกหดั หรือฝกึ ปฏบิ ตั ิเบอื้ งต้นใน สถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบนั แลว้ ระยะเวลาหนึ่ง ท้ังนี้ เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ได้สัมผัสกับการ ปฏิบัติงานอาชีพ เคร่ืองมือเครื่องจักร อุปกรณ์ที่ทันสมัยและบรรยากาศการทางานร่วมกัน ส่งเสริม การฝึกทกั ษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชญิ สถานการณ์ซ่ึงจะช่วยใหผ้ ูเ้ รยี นทาได้ คดิ เป็น ทา เป็นและเกิดการใฝ่รู้อย่างต่อเน่ือง ตลอดจนเกิดความม่ันใจและเจตคติท่ีดีในการทางานและการ ประกอบอาชีพอสิ ระ โดยการจัดฝกึ ประสบการณ์ทกั ษะวชิ าชพี ตอ้ งดาเนนิ การ ดงั น้ี 1 สถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบัน ต้องจัดให้มีการฝึกประสบการณ์ทักษะวิชาชีพ ในรูป ของการฝึกงานในสถานประ กอบการ แหล่งวิทยาการ รัฐวิสาหกิจหรือหน่วยงานของรัฐ โดยใช้เวลา รวมไม่น้อยกว่า 320 ชั่วโมง กาหนดให้มีค่าเท่ากับ 4 หน่วยกิต กรณีสถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือ สถาบัน ต้องการเพิ่มพูนประสบการณ์ทักษะวิชาชีพ สามารถนารายวิชาในหมวด วิชาทักษะ วิชาชีพ ที่ตรงหรือสัมพันธ์กับ ลักษณะงาน ไปเรียนหรือฝึกในสถานประกอบการ รัฐวิสาหกิจหรือหน่วยงาน ของรฐั ได้ โดยใชเ้ วลารวมกับการฝกึ ประสบการณท์ กั ษะวิชาชพี ไม่นอ้ ยกวา่ 1 ภาคเรยี น 2 การตัดสินผลการเรียนและให้ระดับผลการเรียน ใหป้ ฏิบตั ิเช่นเดยี วกับรายวิชาอื่น โครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ เป็นรายวิชาที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้า บูรณาการ ความรู้ ทักษะและประสบการณ์ จากส่ิงที่ได้เรียนรู้ลงมือปฏิบัติด้วยตนเองตามความถนัดและความ สนใจ ตั้งแต่การเลือกหัวข้อหรือเรื่องท่ีจะศึกษาค้นคว้า การวางแผน การกาหนดข้ันตอนการ ดาเนินการ การดาเนินงาน การประเมินผลและการจัดทารายงาน ซึ่งอาจทาเป็นรายบคุ คลหรือกลมุ่ ก็ ได้ ท้ังน้ี ขึ้นอยูก่ บั ลักษณะของโครงการน้ัน ๆ โดยการจดั ทาโครงการดงั กล่าว ต้องดาเนนิ การดังน้ี 1 สถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบนั ต้องจัดให้ผเู้ รียนจดั ทาโครงการพฒั นาทักษะวิชาชพี ท่สี ัมพันธห์ รือสอดคล้องกบั สาขาวชิ า ในภาคเรียนที่ 5 และหรอื ภาคเรยี นท่ี 6 รวมจานวน 4 หนว่ ยกติ ใช้เวลาไม่น้อยกว่า 216 ชั่วโมง ท้ังน้ี สถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบันต้องจัดให้มีชั่วโมงเรียน 4 ชั่วโมง ต่อสัปดาห์ กรณีท่ีใช้รายวิชาเดียวหากจัดให้มีโครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ 2 รายวิชา คือ โครงการ 1 และโครงการ 2 ให้สถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบันจัดให้มีชั่วโมงเรียนต่อสัปดาห์ ที่ เทยี บเคยี งกับเกณฑ์ดงั กลา่ วขา้ งตน้ 2 การตดั สินผลการเรียนและใหร้ ะดับผลการเรียน ใหป้ ฏิบัติเชน่ เดียวกับรายวิชาอนื่ การศึกษาระบบทวิภาคี เป็นรูปแบบการจัดการศึกษาท่ีเกิดจากข้อตกลงร่วมกันระหว่าง สถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบันกับสถานประกอบการ รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานของรัฐ

โดยผู้เรียนใช้เวลาส่วนหนึ่งใน สถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบัน และเรียนภาคปฏิบัติ ในสถาน ประกอบการ รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานของรัฐเพื่อให้การจัดการศึกษาระบบทวิภาคีสามารถเพ่ิม ขีดความสามารถด้านการผลติ และพัฒนา กาลังคนตามจุดหมายของหลักสตู รการจัดการศึกษาระบบ ทวิภาคี โดยนารายวิชาทวิภาคีในกลุ่มทักษะวิชาชีพเลือกไปกาหนดรายละเอียดของรายวิชาและ เวลาท่ีใช้ฝึก จัดทาแผนฝึกอาชีพ การวัดและการประเมินผลในแต่ละรายวิชาให้สอดคล้องกับ ลักษณะงานของสถานประกอบการ รัฐวสิ าหกจิ หรอื หนว่ ยงานของรฐั ทัง้ น้ี อาจนารายวิชาชีพอืน่ ในหมวดวิชาทกั ษะวิชาชพี ไปจดั ร่วมด้วยก็ได้  แนวทางการจดั รายวิชาทวภิ าคี ปวช. ตวั อยา่ งหลกั สตู รไดก้ าหนดรายวชิ าทวภิ าคี ไวใ้ นกลมุ่ ทักษะวชิ าชีพเลือก ดงั นี้ รหัสวชิ า ชอื่ วชิ า ท-ป-น 2701-5101 ปฏบิ ตั งิ านการโรงแรม 1 *-*-* 2701-5102 ปฏบิ ัตงิ านการโรงแรม 2 *-*-* 2701-5103 ปฏบิ ัติงานการโรงแรม 3 *-*-* 2701-5104 ปฏิบัตงิ านการโรงแรม 4 *-*-* 2701-5105 ปฏิบตั งิ านการโรงแรม 5 *-*-* 2701-5106 ปฏบิ ตั งิ านการโรงแรม 6 *-*-* และได้กาหนดจัดการศึกษาระบบทวิภาคี ไม่น้อยกว่า 21 หน่วยกิต โดยให้สถานศึกษา ร่วมกับสถานประกอบการวิเคราะห์ลักษณะงานของสถานประกอบการ เพ่ือกาหนดจานวนหน่วยกิต และรายละเอียดของแตล่ ะรายวิชารวมท้ังการจดั ทาแผนการฝึกอาชีพ การวัดและประเมินผลรายวิชา โดยให้ใชเ้ วลาฝกึ ในสถานประกอบการไมน่ ้อยกวา่ 54 ชัว่ โมง มคี า่ เทา่ กับ 1 หน่วยกติ  โครงสร้างของหลกั สูตรประกาศนยี บัตรวิชาชีพช้นั สงู พุทธศกั ราช 2557 แบง่ เปน็ 3 หมวดวิชา และกิจกรรมเสริมหลักสูตร รวมไม่นอ้ ยกวา่ 83 หน่วยกติ ดังนี้ 1. หมวดวิชาทกั ษะชวี ิต ไม่น้อยกว่า 21 หน่วยกิต 1.1 กลุม่ ทักษะภาษาและการสือ่ สาร (ไมน่ ้อยกว่า 9 หน่วยกติ ) 1.2 กลมุ่ ทักษะการคดิ และการแก้ปญั หา (ไมน่ ้อยกว่า 6 หน่วยกติ ) 1.3 กลมุ่ ทักษะทางสังคมและการดารงชีวติ (ไม่น้อยกวา่ 6 หน่วยกติ ) 2. หมวดวิชาทักษะวชิ าชพี ไม่น้อยกว่า 56 หน่วยกิต 2.1 กลมุ่ ทกั ษะวชิ าชีพพ้นื ฐาน (15 หนว่ ยกติ ) 2.2 กลุ่มทักษะวิชาชพี เฉพาะ (21 หนว่ ยกิต) 2.3 กลุ่มทักษะวชิ าชพี เลือก (ไมน่ ้อยกว่า 12 หน่วยกิต)

2.4 ฝึกประสบการณท์ ักษะวิชาชีพ (4 หนว่ ยกิต) 2.5 โครงการพัฒนาทักษะวิชาชพี (4 หน่วยกติ ) 3. หมวดวิชาเลอื กเสรี ไมน่ อ้ ยกว่า 6 หนว่ ยกติ 4. กิจกรรมเสริมหลักสตู ร (2 ชั่วโมงตอ่ สปั ดาห์)  แนวทางการจัดรายวิชาทวภิ าคี ปวส. ตวั อย่างรายวิชาทวภิ าคสี าขาวชิ าการโรงแรม รหัสวิชา ชอื่ วชิ า ท-ป-น 3701-5201 งานซักรดี และห้องผ้า *-*-3 3701-5202 งานการจัดเตรยี มหอ้ งพัก *-*-3 3701-5203 งานการจดั การวัสดอุ ปุ กรณ์ในงานแมบ่ า้ น *-*-3 3701-5204 งานศิลปะการจดั และตกแต่งสถานท่ี *-*-3 3701-5205 งานการใชภ้ าษาองั กฤษงานแมบ่ า้ น *-*-3 3701-5206 งานศิลปะการจดั ดอกไม้ *-*-3 สาหรับรายวิชาในการศึกษาระบบทวิภาคีไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต นั้น ให้สถานศึกษาร่วม วิเคราะห์ลักษณะงานของสถานประกอบการ รัฐวิสาหกิจหรือหน่วยงานของรัฐ เพื่อนามากาหนด จดุ ประสงค์รายวชิ าสมรรถนะรายวิชาและคาอธิบายรายวชิ า ทส่ี อดคลอ้ งกนั ระหว่างสมรรถนะวิชาชีพ สาขางานกบั ลักษณะการปฏิบัติงานจริงในสถานประกอบการ รวมทั้งจานวนหนว่ ยกิตและเวลาท่ีใช้ใน การฝึกอาชีพในแต่ละรายวิชาเพื่อนาไปจัดทาแผนการฝึกอาชีพ การวัดและการประเมินผลการ ปฏิบัติงานให้สอดคล้องกับสมรรถนะรายวชิ า ทั้งน้ี โดยให้ใช้เวลาฝึกในสถานประกอบการไม่น้อยกวา่ 54 ชั่วโมง มีค่าเทา่ กบั 1 หน่วยกติ  โครงสร้างของหลักสูตรระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ พ.ศ. ๒๕๕๕ แบง่ เป็น 3 หมวดวิชา รวมไม่นอ้ ยกวา่ 72 หน่วยกิต ดังนี้ 1. หมวดวิชาทกั ษะชีวิต ไม่นอ้ ยกวา่ 15 หน่วยกติ 2. หมวดวชิ าทกั ษะวชิ าชพี ไม่น้อยกว่า 51 หน่วยกิต 2.1 กลุ่มทกั ษะวชิ าชพี เฉพาะ (ไม่น้อยกว่า 30 หนว่ ยกติ ) 2.2 กล่มุ ทกั ษะวิชาชีพเลือก (ไม่น้อยกว่า …. หน่วยกติ ) 2.3 ฝกึ ประสบการณ์ทกั ษะวชิ าชีพ (ไม่นอ้ ยกว่า …. หนว่ ยกติ ) 2.4 โครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ (ไมน่ อ้ ยกวา่ 6 หน่วยกิต) 3. หมวดวชิ าเลอื กเสรี ไมน่ ้อยกวา่ 6 หนว่ ยกติ



ใบเนือ้ หาท่ี 3.3 การวิเคราะหง์ าน(Job Analysis)ในสถานประกอบการเพ่อื ฝึกอาชีพ  ความหมายของการวิเคราะหง์ าน (Job Analysis) การวิเคราะห์งาน เป็นกระบวนการ ในการจัดการรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับลกั ษณะงาน หน้าที่ ความรับผิดชอบเก่ียวกับงานอย่างมีระบบ รวมถึงลักษณะเฉพาะของบุคคลท่ีเหมาะสมกับงาน เช่น มีความรู้ความสามารถทักษะ ฯลฯ ท่ีองค์การต้องการ เพ่ือให้การปฏิบัติงานประสบผลสาเร็จตาม เป้าหมายขององคก์ าร ซ่ึงในขอบเขตของในสถานประกอบการจะทาใหไ้ ด้ผลจากการวเิ คราะห์งาน คอื 1. การบรรยายลักษณะงาน (Job Description) Job Description หมายถึง การระบุหน้าท่ีความรับผิดชอบของงานน้ัน ประกอบด้วย 3 ส่วน ดงั นี้ 1) การระบุช่ือตาแหน่งงาน (Job identification) แสดงถึงหน้าท่ีและระดับความ ชานาญของตาแหน่ง เช่น เจ้าหน้าท่ีฝ่ายบุคคล , หัวหน้าฝึกหัด, พนักงานทา ความสะอาดหอ้ งพัก, Bell Boy ฯลฯ 2) คาสรุปเก่ยี วกบั งาน (Job summery) การสรุปเก่ียวกับงาน กระชบั แบบย่อ ชว่ ย ให้เห็นความแตกตา่ งของหน้าท่แี ละลักษณะงานที่ต้องทา 3) หนา้ ท่งี าน (Job duties) ส่วนของหน้าที่งานทีส่ าคัญว่าทาอะไร ทาทาไม และทา อยา่ งไร รวมถึงหน้าที่งานหลกั (Duty) และภารกิจ (Task) หรือหนา้ ท่งี านรอง 2. การกาหนดคณุ สมบัติเฉพาะของผู้ปฏิบัติงาน (Job Specification) Job Specification คือ รายละเอียดของคุณสมบัติเฉพาะของพนักงานทางด้าน ความสามารถ ประสบการณ์ ความรู้ ทักษะ ซึ่งใช้ในการทางานเฉพาะอย่างเพื่อให้งานประสบ ผลสาเร็จ ซึ่งจะนาไปเป็นข้อกาหนดในการฝึกอบรมหรือการฝึกนักศึกษาทวิภาคีให้มีสมรรถนะตามท่ี ต้องการตอ่ ไป การรวบรวมข้อมลู การวเิ คราะห์งาน 1.การสมั ภาษณ์ 2.การตอบแบบสอบถาม 3.การสังเกตการปฏิบัตงิ าน 4.การทาบนั ทึกการปฏิบัติงาน 5.ใช้วธิ ผี สมผสาน

 การวเิ คราะห์งานในสถานประกอบการ (In Company Job Analysis) การวเิ คราะห์งานในสถานประกอบการ เป็นการวิเคราะห์งานเพ่ือฝึกอาชีพให้กับนักศึกษาทวิภาคี โดยมจี ดุ ประสงค์ คือ 1. เพ่อื ใหน้ ักศึกษาทวิภาคีไดฝ้ กึ อาชพี ในสถานประกอบการเหมาะสมกบั ระดับการศกึ ษา 2. เพื่อให้นักศึกษาทวิภาคีท่ีได้ฝึกอาชีพมีสมรรถนะและมีความพร้อมในการปฏิบัติงานเป็น พนักงานของสถานประกอบการ  ความหมายของสมรรถนะ สมรรถนะ (Competence) ในความหมายท่ัวไป คือความสามารถในการปฏิบัติงานโดยใช้ ความร้ทู ักษะและเจตคตทิ ่ีบูรณาการกันอยา่ งแนบแน่นเพอื่ ให้เกิดประสิทธิผลและประสทิ ธภิ าพ สมรรถนะ (Competence) ในความหมายของงานอาชีพหรือวิชาชีพ คือ ความสามารถใน การปฏิบัติงานอาชีพ โดยใช้ความรู้ ทักษะและเจตคติที่บูรณาการกันอย่างแนบแน่น เพ่ือให้เกิด ผลลัพธ์ไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ สานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.) ให้ความหมายของสมรรถนะ คือ คุณลักษณะเชิงพฤติกรรมท่ีเป็นผลมาจากความรู้ ทักษะ/ความสามารถและคุณลักษณะอื่น ๆ ที่ทาให้ บคุ คลสามารถสรา้ งผลงานได้โดดเดน่ กวา่ เพ่ือนร่วมงานอ่ืน ๆ ในองค์กร กล่าวคือ การท่ีบคุ คลจะแสดง สมรรถนะใดสมรรถนะหนึ่งได้มักจะต้องมีองค์ประกอบของท้ังความรู้ ทักษะ/ความสามารถและ คุณลักษณะอื่น ๆ สรปุ องค์ประกอบของสมรรถนะ  ทกั ษะ (Skill)  ความรู้ (Knowledge)  คุณลักษณะ(Attributes) Competency แตกต่างจากทกั ษะ ความรู้ ทัศนคติ และแรงจงู ใจ อยา่ งไร เน่ืองจาก สมรรถนะ (Competency) เป็นสิ่งที่ประกอบข้ึนมาจาก ความรู้ (Knowledge) ทกั ษะ (Skill) และคณุ ลกั ษณะ (Attributes) จึงสง่ ผลใหค้ นท่วั ไปสบั สนว่า สมรรถนะ (Competency) แตกต่างจากความรู้ (Knowledge) ทกั ษะ (Skill) และทัศนคต/ิ แรงจงู ใจ (Attitude/Motive) อยา่ งไร หรือความรู้หรือทักษะที่บุคคลมีอยู่นั่นถือเป็น Competency หรือไม่ เพ่ือ ไม่ให้เกิดความสับสน สถาบนั Schoonover Associates ไดม้ กี ารศกึ ษาและอธิบายในเชิงเปรยี บเทียบไวด้ ังนี้ สมรรถนะ VS ความรู้

ความรู้ อย่างเดียวไม่ถือเป็น สมรรถนะ เว้นแต่ความรู้ในเร่ืองน้ันจะนามาประยุกต์ใช้กับงาน ใหป้ ระสบผลสาเร็จ จงึ ถือเปน็ สว่ นหนึง่ ของ สมรรถนะ ตัวอย่าง ความรู้และความเข้าใจในส่วนประกอบเครื่องยนต์ ถือเป็นความรู้ แต่ความสามารถ ในการนาความรู้และความเข้าใจในส่วนประกอบเครื่องยนต์ มาซ่อมเคร่ืองยนต์ ได้น้ัน จึงจะถือเป็น “สมรรถนะ” สมรรถนะ VS ทักษะ ทักษะ (Skill) อย่างเดียวไม่ถือเป็น สมรรถนะ แต่ทักษะที่ก่อให้เกิดผลสาเร็จอย่างชัดเจนถือ เปน็ สมรรถนะ ตัวอย่าง ความสามารถในการถอดประกอบเคร่ืองยนต์ เป็นทักษะ แต่ความสามารถในการ ซ่อมเครอ่ื งยนต์ ถือเป็น “สมรรถนะ” สมรรถนะ VS แรงจูงใจ/คณุ ลักษณะ สมรรถนะ ไม่ใช่แรงจูงใจหรือทัศนคติ (Motive/Attitude) แต่เป็นแรงขับภายใน ท่ีทาให้ บุคคลแสดงพฤตกิ รรมท่ี ตนมุ่งหวงั ไปสู่สิ่งทเ่ี ป็นเปา้ หมายของเขา ตัวอย่าง การต้องการความสาเร็จ เป็นแรงจูงใจท่ีก่อให้เกิดแนวคิดหรือทัศนคติที่ต้องการ สร้างผลงานที่ดี แต่ความสามารถในการทางานให้สาเร็จได้ตรงตามเวลาท่ีกาหนด ถือเป็น “สมรรถนะ” รูปแบบการเขยี นสมรรถนะ “กรยิ า+ กรรม+ (คาขยาย)” เชน่ ลงทะเบยี นผูเ้ ข้าพัก ทาความสะอาดห้องพัก ซ่อมหม้อน้า ลา้ งรถด้วยแชมพู ปะยางรถยนต์  การวิเคราะห์งานโดยใช้ DACUM (Developing A Curriculum) งานหรืออาชีพ หนึ่ง ๆ จะประกอบไปด้วย หลายบทบาท (DUTY) ของหน้าที่ และหลาย ภารกจิ (TASK) ของหนา้ ที่ ดังนี้ บทบาทหน้าท่ี (DUTY) หมายถึง หน้าท่ีความรับผิดชอบในตาแหน่งงานอาชีพนั้น ๆ เช่น อาชีพพนักงานโรงแรม ตาแหน่ง แม่บ้านโรงแรม ตัวอย่างบทบาทหน้าที่ ท่ีพึงต้องมีเช่น ทาความ สะอาดหอ้ งพกั เตรียมรถทาความสะอาด ซักรีด เปน็ ตน้ ภารกิจ (TASK) หมายถึง วิธีการดาเนินการ เป็นการกระทาของแต่ละบทบาทหน้าที่ เช่น บทบาทหน้าท่ีทาความสะอาดห้องพัก พึงกระทา ตัวอย่างได้แก่ ทาความสะอาดห้องน้า ปูเตียง

ทาความสะอาดเฟอรน์ เิ จอร์ เป็นตน้ ซง่ึ แต่ละภารกจิ จะมขี ั้นตอนการทางาน (Step Operation) ของ แตล่ ะภารกิจอยู่ เช่นอาชพี พนกั งานโรงแรม ตาแหนง่ แม่บา้ น ทาหน้า ทาความสะอาดหอ้ งพัก ภารกิจ ทาความสะอาดห้องน้า ขั้นตอนพึงกระทา เช่น ล้างอ่างล้างหน้า ล้างโถส้วม ล้างอ่างอาบน้า ล้างผนัง ห้องน้า ล้างพนื้ เปน็ ต้น โดยท่ีขัน้ ตอนแตล่ ะขน้ั ตอนจะตอ้ งเปน็ ไปอยา่ งมลี าดบั ขน้ั ทกี่ ่อนหลงั กระบวนการดาคัม หรือ DACUM process. เป็นกระบวนการวิเคราะห์รายละเอียดของ อาชีพ หรอื ตาแหนง่ งาน มีข้ันตอนหรือกระบวนการ สาคญั 2 ขนั้ ตอนหลัก คือ 1. ขั้นตอนการวิเคราะห์งานหรืออาชีพ (Job Analysis) ผลลัพธ์ที่ได้คือ ผังแสดงหน้าที่ต่างๆ ของอาชีพหรืองานหลัก (Duty) และภารกิจหรืองานย่อย (Task) ซ่ึงเรียกว่า แผนผังดาคัม หรือ DACUM Chart หรือแผนผังสมรรถนะ (Competency Profile) 2. ขั้นตอนการวิเคราะห์งานย่อย (Task Analysis) ผลลัพธ์ที่ได้คือ รายละเอียดของภารกิจ เช่น. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน ความรู้ที่ใช้ทางาน คุณลักษณะของผู้ปฏิบัติงาน มาตรฐานของงาน เคร่อื งมือ เครื่องจกั ร วัสดุ อุปกรณ์ ความปลอดภัย และขอ้ ควรระวงั ตา่ งๆ เป็นตน้ คณะกรรมการ DACUM 1. คณะกรรมการดาคัม หรือ DACUM Commitee คือผู้เช่ียวชาญหน้างานจริง หรือผู้ท่ี ปฏบิ ตั ิงานจรงิ ไม่ใช่หัวหน้างานเดด็ ขาด 2. ผู้ดาเนินการประชุมดาคัม หรือ DACUM Facilitator. และผู้บันทึกข้อมูล และเขียนผัง ดาคมั . เรียก Recorder ซึง่ เปน็ บคุ ลากรจากสถานศกึ ษาหรือหนว่ ยงาน รูปแบบการประชุม ใชว้ ธิ กี ารระดมสมอง (Brain storming) โดยกลุ่มคนที่ให้ข้อมลู แยกตามงาน (Focus Group) มีกระบวนการ ดงั น้ี 1. ปฐมนเิ ทศ แนะนาตวั ให้รู้จักกนั ก่อน 2. ทบทวนชอ่ื ตาแหน่งงานหรืออาชีพทจ่ี ะวิเคราะห์ เพอื่ ใหท้ กุ คนได้เข้าใจตรงกัน 3. กาหนดขอบเขตงาน หรืออาชีพ เขียนรายละเอียดตาแหน่งงานหรือลักษณะอาชีพ เรียก job description 4. ขน้ั วเิ คราะหง์ านและอาชพี (Job Analysis) เพ่ือใหไ้ ด้ หน้าท่ีงานหลัก และภารกจิ งานย่อย เขยี นออกมาเปน็ ผงั ดาคมั (DACUM Chart) ส่วนมากนยิ มใชบ้ ตั รคาและการวเิ คราะห์กลุ่มคา 5. ทบทวน จัดลาดับ หน้าท่ี (Duty) และภารกิจ (Task) 6. พิจารณา หน้าท่ี ภารกิจ เพ่ือคัดกรองงานที่มีความสาคัญมากที่สุด.(Important) ทาบ่อย ที่สุด(Frequently) ทายากที่สุด(Difficulty) หรือการหา I F D สุดท้ายจะเหลือบางหน้าท่ี และบาง ภารกิจเทา่ น้ัน

7. ขั้นวิเคราะห์งานย่อย Task Analysis เพื่อให้ได้ขั้นตอนการทางาน (Step Operation) หรือทักษะ (Skill) ความรู้ท่ีจาเป็นในการทางาน (Knowledge) มาตรฐานการทางาน วัสดุ อุปกรณ์ เคร่อื งมอื สาหรับการทางาน ความปลอดภยั ขอ้ ควรระวงั เปน็ ต้น 8. กาหนดระดับของตาแหน่งงาน หรือ กาหนดความรู้ความสามารถพ้ืนฐานที่ผู้เรียนหรือ แรงงานใหม่ ตอ้ งมีกอ่ นถึงจะทางานในตาแหน่งงานน้ไี ด้ จากน้ันนารายละเอียดต่างๆ ที่ได้จากการวิเคราะห์ภารกิจ (Task Analysis) ซึ่งจัดทาเป็น เอกสารมีรายละเอียดตามที่กล่าวมา สามารถนาไปพัฒนาเป็นมาตรฐานสมรรถนะ (Competency Standard) และหลักสูตรการฝึกตามสมรรถนะ (Competency-based Curriculum : CBC) ต่อไป ท้ังน้ีควรมีการทบทวน เอกสารการวิเคราะห์งานบ่อยๆ หากจาเป็น เพื่อให้ถูกต้องตรงกับความ ต้องการของสถานประกอบการมากทีส่ ุด การวเิ คราะห์งานควรดาเนินการภาพรวมท้ังหมดก่อน แลว้ จึงแยกออกเป็นระดบั ปวช. ปวส. และ ป.ตรี

ตวั อยา่ งผงั DACUM งานแม่บ้านโรงแรมในระดับ ปวช. ใบเน้ือหาที่ 3.4 การเขยี นแผนการฝกึ อาชีพ (Training Plan)  การเขียนแผนการฝกึ อาชพี (Training Plan)

หลังจากได้วิเคราะห์งานแล้ว จะสามารถเลือกงานท่ีจะฝึกอาชีพนักศึกษาทวิภาคีตามระดับ ปวช. ปวส. หรือ ป.ตรี ได้ตลอดหลักสูตร จากน้ันจึงร่วมกันกาหนดระยะเวลาการฝึกโดยคานึงถึง ส่งิ ตอ่ ไปนี้ 1. ระยะเวลาการฝกึ อาชีพทีต่ อ้ งมกี ารปรบั เปลีย่ นหมนุ งานทีฝ่ ึก 2. ประสบการณร์ ะยะการฝกึ ทีท่ าให้นักศึกษามีสมรรถนะ 3. หน่วยกิต และจานวนช่ัวโมงต่อหน่วยกิตที่นักศึกษาจะได้รับ ซ่ึงอาจเฉลี่ยกันโดยอนุโลม เพื่อใหก้ ารฝึกมปี ระสิทธิภาพ โดยเนน้ สมรรถนะ ประสบการณ์การฝึกนักศึกษาท่ีผ่านมา ซ่ึงในทางปฏิบัติกาหนดหน่วยเป็นวัน ดังตัวอย่าง หลังจากนี้จึงไปกาหนดปฏิทินวันเริ่มเข้ารับการฝึกของแต่ละงานหรือแต่ละแผนกต่อไป จากตัวอย่าง จะใชร้ ะยะเวลาการฝกึ ประมาณ 10 เดือน ช่ือสถานประกอบการ..สบายดีโฮเตล็ .. ใช้ฝกึ นกั ศึกษาทวิภาคีของวทิ ยาลยั .......................... ปกี ารศึกษา ..25.....ระดับ .ปวช.. สาขาวชิ า/สาขางาน..การโรงแรม...... ที่ สมรรถนะ/ แผนก/ หนา้ ท่ี (Duty)/ ชื่อ-สกลุ ระยะการ รวม อาชพี ทต่ี อ้ งการ ตาแหน่งงาน งานหลกั ครฝู ึก/พ่ีเลยี้ ง ฝึก(วนั ) (วนั ) 1 แม่บา้ นโรงแรม Room Attendant 1.ทาความสะอาดหอ้ งพกั นางวิภาดา 25 75 H/K Cleaning 2.ทาความสะอาดพ้ืนท่ีสาธารณะ 10 Laundry Attendant 3.ซักรีด 20 Florist 4.จัดดอกไม้ 20 2 พนักงานส่วนหนา้ Reception 1.ต้อนรบั แขก นายสมชาย 20 66 F/O Reservations Clerk 2.สารองห้องพกั 20 Operator 3.รบั โทรศัพท์ 10 Cashier 4.เก็บเงิน 16 3 พนกั งานบรกิ ารอาหาร Waiter 1.เสริ ฟ์ อาหาร นายวิฑูรย์ 20 75 และเครอ่ื งดมื่ Catering 2.จัดเลยี้ ง 20 F/B Bartender 3.ผสมเครื่องด่ืม 20 Cashier 4.เกบ็ เงนิ 15 รวมระยะเวลา 216 ตัวอย่างแผนการฝึก (Training Plan) นกั ศึกษาทวิภาคสี าขาวชิ าการโรงแรม  การกาหนดรายวิชาทวิภาคี จากตัวอย่างแผนการฝึก สามารถกาหนดรายวิชาทวิภาคีระดับ ปวช. สาขาวิชาการโรงแรม และชว่ งระยะเวลาการฝึก ได้ดงั นี้

รหัสวิชา ชอ่ื วชิ า ท-ป–น ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. 2701-5101 ปฏบิ ตั ิงานการโรงแรม 1 *-*-4 *-*-4 - ทาความสะอาดหอ้ งพกั *-*-4 *-*-4 - ทาความสะอาดพื้นทีส่ าธารณะ *-*-4 *-*-4 2701-5102 ปฏบิ ัตงิ านการโรงแรม 2 - จัดดอกไม้ - ซักรดี 2701-5103 ปฏบิ ัตงิ านการโรงแรม 3 - รบั โทรศพั ท์ - ต้อนรับแขก 2701-5104 ปฏบิ ัติงานการโรงแรม 4 - สารองห้องพกั - เก็บเงิน 2701-5105 ปฏบิ ัตงิ านการโรงแรม 5 - เสิรฟ์ อาหาร - เกบ็ เงนิ 2701-5106 ปฏบิ ัติงานการโรงแรม 6 - ผสมเครอ่ื งดมื่ - จดั เลยี้ ง ตวั อย่างรายวชิ าทวภิ าคแี ละช่วงระยะเวลาการฝึก

ใบเนื้อหาที่ 3.5 การเขียนแผนการฝกึ ปฏบิ ัตงิ าน (Work Task Plan) การเขียนแผนการฝึกปฏิบัติงาน เป็นการนาภารกิจหรืองานย่อยท่ีได้จากการวิเคราะห์งาน แล้ว มาทาการวิเคราะห์ภารกิจ (Task Analysis) เพ่ือให้ได้ข้อมูลในการเขียนแผนการฝึกปฏิบัติงาน (Work Task Plan) และการจัดฝึกอบรมซ่ึงจะมีท้ังฝึกอบรมในงาน (On the Job Training) และ อบรมนอกงาน (Off the Job Training) ดังน้ันถ้าย่ิงวิเคราะห์ภารกิจได้ละเอียดเท่าใด ก็จะส่งผลให้ การฝึกมีประสิทธิภาพ บางคร้ังครูฝึกก็จะให้นักศึกษาทาการวิเคราะห์ภารกิจ ซ่ึงเป็นเรื่องท่ีนักศึกษา สามารถทาได้  การวเิ คราะห์ภารกิจ (Task Analysis) เป็นการวิเคราะหถ์ ึงขั้นตอนการทางาน (Step Operation) ซ่ึงจะสอดคล้องกับทักษะ (Skill) ที่จะทาการฝึกอาชีพ โดยกาหนดข้ันตอนการปฏิบัติงาน (Step Operation) ที่ต้องฝึกทักษะ (Skill) ระบุเคร่ืองมือวัสดุอุปกรณ์ท่ีจาเป็นต้องใช้ในการปฏิบัติงาน ระบุความรู้ (Knowledge) ที่จาเป็นต้อง ใช้ในการปฏิบัติงาน ท่ีต้องจัดการเรียนการสอน ระบุคุณลักษณะส่วนบุคคล (Attribute) ของ ผู้ปฏิบัติงาน ที่ต้องควบคุมหรือฝึกฝน ระบุมาตรฐานการปฏิบัติงาน และระบุเก่ียวกับความปลอดภัย หรือข้อควรระวงั ดงั ในตาราง ซึ่งมรี ายละเอยี ด คอื 1. ข้ันตอนการปฏิบัติงาน เป็นขั้นตอนการปฏิบัติงานยิ่งละเอียดมาย่ิงทาให้การฝึกมี ประสิทธิภาพ ซ่ึงแต่ไม่ควรเกิน 1 หน้ากระดาษ ให้เขียนขึ้นต้นด้วยกริยาซึ่งเป็น จุดประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม แตล่ ะข้ันตอนจะนาไปฝกึ ทกั ษะ (Skill) 2. เครือ่ งมือ วสั ดุ อุปกรณ์ ทใ่ี ชป้ ฏบิ ัตงิ าน เปน็ การระบเุ พอ่ื เตรียมการฝกึ 3. ความรู้ที่ต้องสอน (Knowledge) ระบุความรู้ท่ีต้องมีมาก่อนการปฏิบัติงาน จะมี ประโยชน์ในการนาไปจัดการฝกึ อบรมนอกงาน (Off the Job Training) 4. คุณลักษณะท่ีต้องฝึก (Attribute) หรืออาจเป็นเจตคติก็ได้ แต่ในมุมมองของสมรรถนะ จะเปน็ คณุ ลกั ษณะ เชน่ สุภาพ ออ่ นน้อม ยม้ิ ทกั ทาย เป็นตน้ 5. มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ าน ระบมุ าตรฐานของการปฏิบตั งิ านทตี่ ้องการให้มีสมรรถนะ 6. ข้อควรระวัง/ความปลอดภัย ระบุสิ่งท่ีจะทาให้เกิดความผิดพลาด หรือการป้องกันความ เสียหาย การป้องกนั ความเสี่ยง

ตวั อยา่ งการวเิ คราะห์ภารกิจ (Task Analysis)

 การเขียนแผนการฝึกปฏบิ ัตงิ าน (Work Task Plan) แผนการฝึกปฏิบัติงานเป็นแผนการสอนของครูฝึก สามารถใช้แผนการฝึกปฏิบัติจากรุ่นสู่รุ่น หากได้มีการพัฒนาต่อเน่ืองจะทาให้การฝึกปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะมีส่วนคล้ายกับแผนการ สอนของครใู นสถานศึกษาแตม่ ลี ักษณะเป็นตาราง เพื่อความสะดวกรวดเร็วไม่เป็นภาระกับครฝู กึ ทงั้ น้ี ครฝู ึกอาจเลือกเขียนเฉพาะเร่ืองท่ีมีความสาคัญโดยเฉพาะเร่ืองท่ตี ้องฝึกทักษะ แผนการฝึกปฏิบัติงาน ของครูฝึกจัดทาข้ึนเพื่อเตรียมงานการฝึกอาชีพให้นักเรียน นักศึกษาระบบทวิภาคี มีความรู้ ความสามารถในอาชีพตรงตามวตั ถุประสงค์และเป้าหมายท่ีสถานประกอบการกับสถานศึกษากาหนด ไว้ ซ่ึงจะไดข้ ้อมูลข้ันตอนการปฏบิ ัติงานจากการวิเคราะห์ภารกิจ (Task Analysis) แต่จะมีการกาหนด จุดประสงค์(Objectives) ของการฝกึ ปฏบิ ัตซิ ึ่งประกอบด้วย 1. จุดประสงค์ท่ัวไป จุดประสงค์ท่ัวไปหรือจุดประสงค์ปลายทาง คือ จุดประสงค์ท่ีเป็นเป้าหมายสาคัญท่ี มงุ่ หวังใหเ้ กดิ พฤติกรรมขน้ึ กับผู้เรยี นในการฝึก/การเรยี นรู้แตล่ ะเรื่อง หรอื แต่ละหน่วยการเรียนรู้ โดย มีรูปแบบการเขยี น คือ เพื่อให้ +ประธาน+กริยารวมๆ+เร่ืองทจ่ี ัดการฝกึ /เรยี นรู้ (หวั ขอ้ ใหญท่ ี่ 1..2..3)+เกณฑ์กวา้ งๆ (ตัวอยา่ ง)  เพอ่ื ให้นักศึกษาทวิภาคีปเู ตียงและจดั องค์ประกอบของเตียงได้สวยงาม  เพ่ือให้นักศึกษาทวิภาคีทาความสะอาดห้องน้าได้สะอาดตามมาตรฐาน และจัดวางอุปกรณ์ ในห้องนา้ ไดอ้ ย่างถูกต้อง 2. จดุ ประสงค์เชงิ พฤติกรรม เป็นจุดมุ่งหมายของการสอนการฝึกท่ีกาหนด หรือพฤติกรรมการฝึก/การเรียนรู้ท่ี คาดหวัง ของผู้เรียนในรูปของการแสดงออก หรือการกระทาท่ีสามารถสังเกตเห็นได้ จุดมุ่งหมายเชิง พฤติกรรมท่ีเขียนอย่างถูกต้องครบถ้วน จะประกอบด้วยข้อความ 3 ส่วน คือ พฤติกรรมที่คาดหวัง สถานการณห์ รอื เง่อื นไข และเกณฑ์ โดยมรี ูปแบบการเขยี น คือ พฤติกรรม (กริยา)+ เรื่องย่อยทจี่ ะจดั การฝึก/เรียนรู้ +เกณฑ์

(ตวั อย่าง)  ปูเตยี งจนตึงได้มาตรฐาน  จดั ผ้าเชด็ ตัวเปน็ รปู หา่ นค่ไู ด้สวยงาม  จัดองคป์ ระกอบเตยี งได้สวยงาม และมีองคป์ ระกอบทตี่ ้องกาหนด เพ่อื ให้สามารถเปน็ แนวทางการฝกึ ปฏิบตั ิได้ คือ  วธิ สี อน/วธิ ฝี ึก ระบุวิธีการสอน เชน่ สาธิต ฝกึ ปฏบิ ตั ิ และหากมีการไปปฏิบัติงานจริงก็จะ ระบุใหม้ ีการฝึกอบรมในงาน OJT เปน็ ต้น  กิจกรรมการสอน/การฝึก ระบุกิจกรรมการสอนของครูฝึก และกิจกรรมการเรียนของ นักศึกษา เช่น ครูฝึกบรรยายเรื่อง.... ครูจากสถานศึกษาบรรยายเร่ือง..... ครูฝึกสาธิต นักศึกษาฝึก ปฏบิ ัติ เป็นต้น แตค่ าว่านกั ศึกษาฟังบรรยายไม่ต้องเขยี น  ส่อื อุปกรณ์ ระบสุ อ่ื อปุ กรณท์ ตี่ อ้ งใช้ เช่น ใบเนือ้ หา ใบงาน อุปกรณ.์ ..... เป็นต้น  การวัดและประเมินผล ระบุวิธีการวัดและประเมินผลการฝึก เช่น สังเกต..... ประเมินผล การปฏิบตั ิ เปน็ ต้น

ตวั อย่างการเขยี นแผนการฝึกปฏบิ ตั ิงาน (Work Task Plans)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook