ใบความรู้ วชิ าวดั ละเอยี ด รหสั 20102-2004 หน่วยท่ี 2 บรรทดั เหล็ก ขั้นตอนการศกึ ษา ศึกษาใบความรู้ หนว่ ยที่ 2 เรื่องบรรทดั เหลก็ ฝกึ ทกั ษะการวดั ดว้ ยบรรทดั เหลก็ ใบงาน 2-1 ทาแบบฝกึ หดั ทา้ ยบทเรยี น จัดทาโดย ครสู ปุ าณี วงค์พระจนั ทร์ @ Chonburi Technical College
ใบความรู้ วชิ า วดั ละเอยี ด รหัส 20102 – 2004 หนว่ ยท่ี 2 ช่อื หนว่ ย บรรทัดเหลก็ สอนครั้งที่ 2 จานวน 3 ชั่วโมง 1. หัวข้อการเรียนรู้ 1. ลักษณะของบรรทดั เหลก็ 2. ชนิดของบรรทัดเหลก็ 3. หลักการแบง่ สเกลและการอ่านค่าของบรรทัดเหลก็ 4. การใช้บรรทดั เหล็กวดั ขนาดชิน้ งาน 5. ขอ้ ควรระวงั และการดแู ลรกั ษาบรรทดั เหล็ก 2. สาระสาคญั เคร่ืองมือวัดเป็นอุปกรณ์พื้นฐานสาหรับงานช่างอุตสาหกรรม ซ่ึงเคร่ืองมือวัดท่ีใช้งานกันโดยท่ัวไป คอื บรรทัดเหลก็ ดังนั้น การเรียนรแู้ ละการใชง้ านอย่างถกู ตอ้ งตามหลักการวัดและการอ่านค่าที่วัดได้ ผู้เรียน จึงจาเป็นต้องทาความเข้าใจในหลักการอ่านค่าขีดสเกลให้ถูกต้อง ทั้งระบบอังกฤษและระบบเมตริก เพ่อื สาหรบั เปน็ พนื้ ฐานของการศกึ ษาเครอ่ื งมือวัดละเอียดข้นั สงู ขน้ั ไป 3. สมรรถนะประจาหน่วย 1. แสดงความรเู้ ก่ียวกับคุณลักษณะของบรรทดั เหลก็ 2. แสดงความรเู้ ก่ียวกบั ชนิดของบรรทดั เหลก็ 3. แสดงความรู้เกีย่ วกับหลกั การแบ่งสเกลและการอ่านค่าของบรรทดั เหลก็ 4. แสดงความร้เู ก่ยี วกับการใชบ้ รรทดั เหลก็ วัดขนาดช้ินงาน 5. แสดงความรเู้ ก่ียวกบั ข้อควรระวงั และการดแู ลรกั ษาบรรทัดเหลก็
4. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 4.1 จุดประสงค์ทวั่ ไป 1. ผูเ้ รียนมีความรแู้ ละความเขา้ ใจ ลกั ษณะของบรรทดั เหลก็ , ชนิดของบรรทดั เหลก็ 2. มีทักษะเกี่ยวกับการ หลกั การแบง่ สเกลและการอา่ นคา่ ของบรรทัดเหลก็ , การใชบ้ รรทัดเหล็กวดั ขนาดชิ้นงาน, ข้อควรระวังและการดูแลรกั ษาบรรทัดเหล็ก 3. มเี จตคติและกิจนิสยั ท่ีดีในการทางาน ดว้ ยความละเอียดรอบคอบ ปลอดภัย เปน็ ระเบียบ สะอาด ตรงต่อเวลา มีความซื่อสัตย์ รับผิดชอบ รักษาสภาพแวดล้อม และ มีคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะ อันพึงประสงคท์ ต่ี ้องการ 4.2 จดุ ประสงค์เชงิ พฤติกรรม เมอ่ื ผูเ้ รียนเรยี น เร่ือง บรรทัดเหลก็ แลว้ แล้วสามารถ 2.1 บอกลกั ษณะของบรรทัดเหลก็ ได้ 2.2 บอกชนิดของบรรทดั เหลก็ ได้ 2.3 มที กั ษะในการแบง่ สเกลและการอ่านคา่ ของบรรทดั เหล็กได้ 2.4 มที ักษะปฏิบตั ิใชบ้ รรทัดเหล็กวัดขนาดช้ินงานได้ 2.5 อธบิ ายขอ้ ควรระวงั และการดูแลรักษาบรรทัดเหลก็ ได้ 2.6 มีการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ท่ีผู้สอนสามารถ สังเกตเห็นได้ ในด้านความมีมนุษยสัมพันธ์ ความมีวินัย ความรับผิดชอบ ความเช่ือม่ันในตนเอง ความสนใจใฝ่รู้ ความรกั สามคั คี ความกตัญญูกตเวที
2.1 ลกั ษณะของบรรทดั เหลก็ ปกติบรรทัดเหล็กสร้างจากแผ่นเหล็กแหนบที่อาบผิว หรือเหล็กไร้สนิม มีความหนาไม่เกิน 1 มม. และไม่บางกว่า 0.3 มม. ความกว้างและความยาวของบรรทัดเหล็กนั้นมีหลายขนาด เพ่ือให้เหมาะสมกับ การใช้งาน และบรรทัดเหลก็ ที่ดจี ะต้องอ่านสเกลได้งา่ ย การแบ่งขีดสเกลหรือขีดมาตราสาหรับวัด อาจแบ่งขีด สเกลวัดเป็น นิ้ว หรือ มิลลิเมตร เพียงด้านเดียวหรือทั้งสองด้านของบรรทัดเหล็กก็ได้ ขีดสเกลที่แบ่ง ถ้าเป็นระบบองั กฤษ นยิ มแบ่งสเกลมีความละเอยี ด 1/8 น้วิ , 1/16 นิ้ว, 1/32 นิ้ว, 1/64 น้วิ และระบบเมตริก นิยมแบง่ สเกลมีความละเอียด 0.5 มลิ ลิเมตร และ 1 มลิ ลิเมตร รูปที่ 2-1 ลักษณะของบรรทัดเหลก็ 2.2 ชนิดของบรรทัดเหลก็ 2.2.1 บรรทดั เหลก็ ทว่ั ไป (Steel Ruler) บรรทัดเหล็กปกติจะทาจากเหลก็ ไรส้ นิม ความยาวของบรรทดั เหล็กท่ีนยิ มใช้กนั ในงานเครื่องมอื กล มี 3 ขนาด คือ 30 เซนตเิ มตร, 60 เซนตเิ มตร และ 100 เซนติเมตร หรอื ขนาด 1 ฟตุ , 2 ฟตุ และ 3 ฟุต ความกวา้ งประมาณ 1 น้ิว รปู ท่ี 2-2 บรรทดั เหลก็
2.2.2 บรรทดั ขนาดส้นั (Short Rule Set) บรรทดั ชนิดน้ีจะเปน็ ชุด มีลกั ษณะเปน็ แผ่นส้ันๆ และมดี ้ามยึดสาหรับถอื วดั ใชส้ าหรับวดั ใน และ ท่ีไม่สะดวกจะใชบ้ รรทดั เหลก็ ท่วั ไปวัดได้ วดั ขนาดในท่แี คบๆ เช่น วัดขนาดของร่อง บ่า รู หรอื รอ่ งทเี่ ป็นข้ันๆ ระบบองั กฤษ 1 ชดุ จะประกอบดว้ ยบรรทัดขนาดส้นั 5 ขนาด คือ 1/4 น้ิว, 3/8 นิ้ว, 1/2 น้ิว, 3/4 นิ้ว และ 1 นว้ิ รูปท่ี 2-3 บรรทัดขนาดสั้น 2.2.3 บรรทัดขอเก่ียว (Hook Rule) บรรทดั ชนิดนี้ ทป่ี ลายมีตะขอสาหรับเกย่ี วขอบช้นิ งาน สามารถวัดชน้ิ งานได้สะดวก รวดเร็ว ขนาดทว่ี ัดได้จะถูกตอ้ งกวา่ บรรทดั เหลก็ ชนิดอ่นื รปู ที่ 2-4 บรรทัดขอเกีย่ ว
2.3 หลักการแบ่งสเกลและการอ่านค่าของบรรทดั เหล็ก 2.3.1 หลกั การแบ่งสเกลและการอ่านคา่ ของบรรทัดเหล็กระบบอังกฤษ โดยทัว่ ไปบรรทัดเหล็กระบบอังกฤษจะแบ่งสเกลความยาว 1 นวิ้ แบง่ ออกเปน็ 4 แบบ คอื แบบที่ 1 ความยาว 1 น้ิว แบ่งเป็น 8 ชอ่ ง 1 ชอ่ ง เท่ากบั 1 นว้ิ ระยะ ก. อา่ นได้ 8 ระยะ ข. อ่านได้ ระยะ ค. อ่านได้ 3 น้วิ ระยะ ง. อา่ นได้ 8 รูปท่ี 2-5 บรรทดั สเกล 1 นิว้ แบง่ เปน็ 8 ชอ่ ง 4 1 นว้ิ 82 6 3 น้วิ 84 2 5 นิว้ 8 แบบท่ี 2 ความยาว 1 นว้ิ แบง่ เป็น 16 ชอ่ ง 1 ช่อง เท่ากับ 1 น้ิว ระยะ ก. อ่านได้ 16 นิ้ว ระยะ ข. อ่านได้ 13 นวิ้ 16 11 16 ระยะ ค. อา่ นได้ 17 น้วิ 16 ระยะ ง. อ่านได้ 2 3 นวิ้ 16 รูปท่ี 2-6 บรรทัดสเกล 1 นวิ้ แบง่ เป็น 16 ช่อง แบบท่ี 3 ความยาว 1 นวิ้ แบง่ เป็น 32 ช่อง 1 ช่อง เท่ากับ 1 นว้ิ 32 ระยะ ก. อา่ นได้ 3 นวิ้ 32 ระยะ ข. อา่ นได้ 9 นิ้ว 32 ระยะ ค. อา่ นได้ 11 น้ิว ระยะ ง. อา่ นได้ 1 32 รปู ท่ี 2-7 บรรทัดสเกล นิ้ว แบ่งเป็น 32 ชอ่ ง 2 4 2 1 นว้ิ 32 8
แบบท่ี 4 ความยาว 1 น้ิว แบ่งเป็น 64 ช่อง 1 ช่อง เท่ากับ 1 นิ้ว ระยะ ก. อ่านได้ ระยะ ข. อา่ นได้ 64 ระยะ ค. อา่ นได้ ระยะ ง. อ่านได้ 9 น้ิว 64 57 น้ิว 64 1 33 นิ้ว 64 2 1 นว้ิ 64 รปู ที่ 2-8 บรรทดั สเกล 1 น้ิว แบง่ เปน็ 64 ช่อง 2.3.2 หลักการแบ่งสเกลและการอ่านค่าของบรรทดั เหล็กระบบเมตริก และระบบ SI มี 2 แบบ คือ แบบท่ี 1 ความยาว 1 ม.ม. แบง่ เปน็ 2 ชอ่ ง 1 ช่องสเกลมคี า่ ความละเอยี ด เท่ากบั 0.5 มม. ระยะ ก. อ่านได้ 8.5 มม. ระยะ ข. อ่านได้ 31.5 มม. รปู ท่ี 2-9 บรรทัดสเกลคา่ ความละเอียดช่องสเกล 0.5 มิลลเิ มตร แบบท่ี 2 ความยาว 1 มม. แบ่งเป็น 1 ชอ่ ง 1 ช่องสเกลมีคา่ ความละเอยี ด เท่ากับ 1 มม. ระยะ ก. อ่านได้ 14 มม. ระยะ ข. อ่านได้ 28 มม. รปู ที่ 2-10 บรรทดั สเกลคา่ ความละเอยี ดชอ่ งสเกล 1 มิลลเิ มตร
2.4 การใชบ้ รรทดั เหลก็ วัดขนาดชิ้นงาน ก. การวดั เส้นผ่าศูนย์กลาง ข. การใช้บรรทดั วดั งานบ่าฉาก ค. การใชบ้ รรทัดพเิ ศษวดั งานเพราะบ่างานไม่ตง้ั ฉาก ง. การใชบ้ รรทัดขอเกย่ี ววดั งาน รปู ท่ี 2-11 การวดั งานโดยเริ่มต้นจากขอบของบรรทดั เหล็ก 2.4.1 เริ่มตน้ จากจุดอา้ งอิงศนู ย์ จากรูปที่ 2-11 เปน็ การวดั ช้ินงานโดยเริ่มต้นจากขอบ หรือขดี ศูนย์ (0) ของบรรทัดเหล็ก ในการ วัดลกั ษณะของช้ินงานท่ีเปน็ บ่า หรือเป็นแบบข้ันบันได รปู ที่ 2-12 การวัดงานโดยใชจ้ ุดเริ่มที่ไม่ใชข่ อบบรรทัดเปน็ จดุ เรม่ิ ต้น
2.4.2 เริ่มตน้ จดุ อา้ งองิ ที่ไม่ใชข่ อบของบรรทัดเหล็ก รปู ที่ 2-12 การวัดในกรณีน้ีควรระวังการวางบรรทดั เหล็กในระหวา่ งการวัดวา่ จะตอ้ งขนานกับช้ินงานด้วย 2.4.3 แนวเลง็ ในการอ่านคา่ เมอ่ื วางบรรทัดเหล็กทาบกับผิวงาน ความหนาของบรรทดั จะทาให้เกิดระยะห่าง ระหว่างผิวงาน กับขีดสเกล ซึ่งระยะห่างนี้เป็นเหตุให้วัดขนาดของช้ินงานผิดพลาดได้ อันเน่ืองมาจากแนวเล็งผิดไป ในรปู ที่ 2-13 ถ้าตอ้ งการวดั ระยะ x แนวเลง็ ณ ตาแหนง่ B อันเป็นตาแหน่งที่ถกู ต้องจะพบว่าขีด 29 ตรงกับ จดุ สดุ ทา้ ยพอดี แต่ถา้ แนวเล็งทต่ี าแหน่ง A จะเห็นขดี ที่ 28 ตรง และแนวเลง็ ทต่ี าแหนง่ C จะเหน็ ขดี ที่ 30 ตรง รปู ที่ 2-13 ตาแหน่งแนวเล็งในการอ่านสเกล รูปที่ 2-14 การอา่ นค่าตาแหนง่ ท่ีตอ้ งการวัด สายตาตอ้ งมอง ตง้ั ฉากกบั ตาแหนง่ ทีอ่ ่าน
2.4.4 แนวการวางบรรทดั เหล็ก การทาบหรอื วางบรรทัดเหลก็ ลงบนผิวช้ินงานถอื ได้วา่ สาคัญมาก เพราะหากวางแนวแกนของ บรรทดั เหลก็ ไม่อยู่ในแนววัดช้นิ งานดังรปู ท่ี 2-15 ขนาดของช้นิ งานจะผิดไป รปู ที่ 2-15 ขนาดระยะ X ใหค้ ่าวัดน้อยท่ีสดุ ถือว่าเปน็ ค่าท่ถี กู ต้อง รปู ที่ 2-16 สาหรับขนาด D ใหค้ ่าวัดโตสุด ถือวา่ เป็นขนาดเสน้ ผ่าศูนย์กลางทถี่ กู ตอ้ ง รปู ที่ 2-17 ขนาด d ภายในของชนิ้ งานใชค้ ่า วัดโตสุด เปน็ คา่ วัดที่ถูกต้องเช่นเดียวกนั
2.4.5 ขอ้ ผิดพลาดและการแก้ไข การวดั และ ลักษณะการวัดไม่ถูกตอ้ ง ผลทเี่ กิดข้ึน ลกั ษณะการแก้ไขให้ ข้อควรระวัง อา่ นคา่ ถูกต้อง 1. แนวเลง็ ค่าวดั ไมถ่ กู ตอ้ ง แนวสายตาตอ้ ง 2. แนวแกน ตงั้ ฉากกบั สเกล คา่ วดั ได้มากกว่าปกติ แนวแกน บรรทัดเหล็ก ต้องวางใน แนวแกนช้นิ งาน 3. การวาง ค่าวดั ไมถ่ ูกต้อง อย่าใช้แรงกด บรรทดั มากอาจโกง่ งอ เหลก็ ขนาดเหล็กรอง ตอ้ งมขี นาด พอดี 2.5 ขอ้ ควรระวงั และการดแู ลรักษาบรรทดั เหลก็ 1. เลอื กใชบ้ รรทดั เหล็กใหเ้ หมาะสมกบั งาน 2. ตรวจสอบสเกลและความสมบรู ณ์ของบรรทดั เหลก็ ก่อนใชท้ กุ ครง้ั 3. ทาความสะอาดและลบคมชน้ิ งานก่อนทาการวัด 4. ในการอ่านสเกลสายตาต้องเลง็ ต้งั ฉากและอยู่ในแนวเดียวกนั กับขอบชิ้นงาน 5. ขณะวัดอย่ามีจิตใจเอนเอยี งในการวัด 6. วางและเก็บรักษาบรรทัดเหล็กแยกจากเคร่อื งมอื อ่ืนๆ 7. หลังจากใช้บรรทัดเหลก็ ต้องทาความสะอาดกอ่ นเก็บทุกครัง้
ใบงาน 2-1 วชิ า วดั ละเอียด รหัส 20102-2004 ช่อื หนว่ ย บรรทดั เหลก็ ชอ่ื เร่อื ง การวัดขนาดดว้ ยบรรทดั เหลก็ คาส่ัง ใหว้ ดั ขนาดชิ้นงานท่ีกาหนดให้ จานวน 5 ชนิ้ และบันทกึ ค่าวดั เป็นหน่วยระบบอังกฤษ และระบบเมตรกิ ลงในตารางใบงาน 2-1 1. วัตถปุ ระสงค์ 1. เพ่อื ให้นักเรียนใช้บรรทัดเหลก็ วัดขนาดต่างๆของชนิ้ งานได้อย่างถกู ตอ้ ง 2. เครอื่ งมืออุปกรณ์ 2.1 บรรทดั เหลก็ ระบบองั กฤษ คา่ ความละเอยี ด 1/16 น้ิว จานวน 10 อนั 2.2 บรรทัดเหล็ก ระบบเมตรกิ ค่าความละเอยี ด 0.50 มม. จานวน 10 อนั 2.3 ชิน้ งานฝกึ ทักษะการวัด จานวน 5 ชิน้ 3. วธิ กี ารปฏบิ ัติงาน 3.1 แบง่ กลุม่ ปฏิบตั อิ อกเป็นกลมุ่ ๆ ละ 3-4 คน 3.2 ทาความสะอาดบรรทัดเหล็กและชิ้นงานทดลองวัด 3.3 ตรวจดคู วามเรยี บร้อยของช้ินงาน เช่นท่ีขอบของชิ้นงานมรี อยเยินหรือไม่ถ้ามีใหล้ บคม เสยี ใหเ้ รียบร้อย 3.4 ตรวจดคู วามสมบูรณข์ องบรรทัดเหล็ก เช่นขดี สเกลชัดเจนหรือไม่ และบรรทัดเหลก็ บดิ งอตวั หรือไม่ 3.5 วัดขนาด A ถงึ G โดยวิธีใช้แผ่นหน้าเทยี บ วิธีอ่านค่าวัดตอ้ งประมาณค่าวัดระหวา่ งขีด สเกลดกู ่อนแลว้ จึงปัดเศษข้ึนลงให้ได้ค่าวัดเตม็ มม.หรือคร่ึง มม.กบั ขีดท่ีอยู่ใกลท้ ี่สุดควรอ่านค่าวดั ใหล้ ะเอียดถงึ 0.5มม. 3.6 บันทึกค่าขนาดที่วัดได้ขนาด A ถงึ G ไวใ้ นตารางและใหต้ รงหมายเลขชนิ้ งานดว้ ย
2.1 ตารางบันทึกค่าขนาดของช้ินงานทว่ี ดั ได้ ช้ินงานทดลอง A ขนาดท่วี ดั ได้ ระบบอังกฤษ (น้วิ ) G BCDE F หมายเลข S02 - 01 S02 - 02 S02 - 03 S02 - 04 S02 - 05 2.2 ตารางบันทึกคา่ ขนาดของชิน้ งานท่ีวดั ได้ ชิ้นงานทดลอง A ขนาดทีว่ ดั ได้ ระบบเมตริก (มม.) G BCDE F หมายเลข S02 - 01 S02 - 02 S02 - 03 S02 - 04 S02 - 05 ชื่อ-สกลุ …………..........................……รหัสประจาตวั ……………ชัน้ /กลมุ่ .......... วัน/เดือน/ป.ี ..................
แบบฝกึ หัด หน่วยที่ 2 วิชา วัดละเอียด รหสั 20102-2004 ชื่อหน่วย บรรทดั เหล็ก ชือ่ เรือ่ ง การวดั ขนาดดว้ ยบรรทัดเหลก็ คาสั่ง จงเติมคาลงในช่องว่างให้สมบรู ณ์ทสี่ ุด 1. ปกตบิ รรทัดเหลก็ ทีน่ ิยมใชก้ นั ในงานเครอ่ื งมอื กลจะมี กี่ ขนาด อะไรบา้ ง (1 คะแนน)................................ ........................................................................................................................................................................... 2. บรรทดั เหลก็ โดยทวั่ ไปจะมีความกว้างของบรรทัดประมาณ...........................นิ้ว (1 คะแนน) 3. บรรทัดเหล็กชนิดใดทสี่ ามารถ วัดไดส้ ะดวก รวดเรว็ ขนาดทว่ี ัดได้จะถูกต้องกว่าบรรทัดเหลก็ ชนิดอ่ืนคือ(1 คะแนน)....................................................................................................................................................... 4. บรรทดั เหลก็ ระบบเมตริกและระบบ SI นิยมแบง่ สเกลมีความละเอียดอยา่ งไรบ้าง (1 คะแนน).................... 5. บรรทัดเหลก็ ระบบอังกฤษ นิยมแบ่งสเกลมีความละเอียดอย่างไรบ้าง (1 คะแนน)........................................ 6. ขอ้ ควรระวงั ในการใชแ้ ละการดูแลรกั ษาบรรทัดเหล็ก มีอะไรบ้างบอกมา 4 ข้อ (2 คะแนน) 6.1.................................................................................................................... 6.2.................................................................................................................... 6.3.................................................................................................................... 6.4.................................................................................................................... 7. จากรูป จงเติมค่าขนาดความยาวตามระยะทก่ี าหนด และหน่วยวัดใหถ้ กู ต้อง (4 คะแนน) 7.1 ระยะ ก เท่ากับ ………………………….. 7.2 ระยะ ข เทา่ กับ…………………………… 7.3 ระยะ ค เทา่ กับ…………………………… 7.4 ระยะ ง เทา่ กบั …………………………… 7.5 ระยะ จ เท่ากบั …………………………… 7.6 ระยะ ฉ เทา่ กับ…………………………... 7.7 ระยะ ช เท่ากับ…………………………… 7.8 ระยะ ซ เทา่ กับ…………………………...
8. จากรปู จงเตมิ คา่ ขนาดความยาวตามระยะทีก่ าหนด และหนว่ ยวดั ให้ถูกตอ้ ง (6 คะแนน) 8.1 ระยะ ก เท่ากบั ………………………….. 8.2 ระยะ ข เท่ากับ…………………………… 8.3 ระยะ ค เทา่ กบั …………………………… 8.4 ระยะ ง เท่ากับ…………………………… 8.5 ระยะ จ เท่ากับ…………………………… 8.6 ระยะ ฉ เทา่ กบั …………………………… 8.7 ระยะ ช เท่ากบั …………………………… 8.8 ระยะ ซ เท่ากบั …………………………… 8.9 ระยะ ฌ เทา่ กบั …………………………… 8.10 ระยะ ญ เท่ากบั ………………………….. 8.11 ระยะ ฎ เท่ากบั …………………………… 8.12 ระยะ ฐ เทา่ กบั ……………………………
9. จากรูป จงเตมิ ค่าขนาดความยาวตามระยะทกี่ าหนด และหนว่ ยวดั ใหถ้ กู ตอ้ ง (3 คะแนน) 9.1 ระยะ ก เท่ากับ ………………… 9.2 ระยะ ข เทา่ กบั ………………….. 9.3 ระยะ ค เท่ากับ………………….. 9.4 ระยะ ง เท่ากบั ………………….. 9.5 ระยะ จ เทา่ กบั ………………….. 9.6 ระยะ ฉ เท่ากับ…………………..
Search
Read the Text Version
- 1 - 17
Pages: