143
144 5.1 หลกั การทางานของเคร่ืองไส 5.2 ชนิดของเครื่องไส 5.3 เครื่องไสนอน 5.4 อปุ กรณ์ประกอบเครื่องไสนอน 5.5 การคานวณในงานไส 5.6 หลกั การทางานด้วยเครื่องไสนอน 5.7 การไสราบและการไสบา่ ฉากด้วยเคร่ืองไสนอน 5.8 ความปลอดภยั ในการใช้เคร่ืองไสนอน 5.9 การบารุงรักษาเครื่องไสนอน เครื่องไสเป็นเคร่ืองมือกลอีกชนิดหนึ่งท่ีสว่ นใหญ่มีการเคล่ือนท่ีในแนวเส้นตรงและการเคล่ือนที่ ไป–กลบั เรียกวา่ คจู่ งั หวะไส ลกั ษณะการขนึ ้ รูปด้วยการไส เชน่ การไสบา่ ฉาก การไสมมุ เอียง ร่องบาก ร่อง หางเหยยี่ ว และการไสร่องลมิ่ เป็นต้น ในหนว่ ยนจี ้ ะศกึ ษาเฉพาะเคร่ืองไสนอนและงานไสด้วยเครื่องไสนอน เทา่ นนั้ แสดงความรู้เกี่ยวกบั เครื่องไสพนื ้ ฐานและงานไสตามคมู่ ือ
145 1. อธิบายหลกั การทางานของเครื่องไสนอน 2. อธิบายลกั ษณะของชิน้ งานไส 3. อธิบายลกั ษณะทศิ ทางการเคลอ่ื นท่ีไส 4. บอกทิศทางการเคลอื่ นที่ไส 5. อธิบายความหมายของคจู่ งั หวะไส 6. บอกช่ือและอธิบายหน้าทีส่ ว่ นประกอบของเครื่องไสนอน 7. อธิบายหลกั ทางานของเคร่ืองไสนอนที่ขบั เคลอื่ นด้วยระบบข้อเหวี่ยง 8. บอกชื่อและอธิบายหน้าท่ขี องอุปกรณ์ประกอบเคร่ืองไส 9. อธิบายวธิ ีการกาหนดความยาวของช่วงไส 10. คานวณความเร็วในการไสตามโจทย์กาหนด 11. ระบุระยะเผ่อื หน้าและเผือ่ หลงั มีดไส 12. อธิบายวิธีการปรับความยาวงานไส 13. บอกขนั้ ตอนการไสราบและไสบา่ ฉาก 14. บอกความปลอดภยั ในการใช้เครื่องไสนอน 15. อธิบายวิธีการบารุงรักษาเครื่องไสนอน
146 เครื่องไสเป็นเคร่ืองมือกลชนดิ หนง่ึ ที่ใช้สาหรับขนึ ้ รูปชิน้ งาน โดยการเคลอื่ นท่ขี องมีดไสในแนวเส้นตรง สองจังหวะ คือ จังหวะเดินไส (เดินหน้า) หรือเป็นจงั หวะท่ีมีดไสตดั เฉือนชิน้ งานและจงั หวะชกั มีดกลบั หรือ เป็ นจังหวะท่ีมีดไสไม่ได้ ตัดเฉือนชิน้ งาน จังหวะที่เดินมีดไสและจังหวะชักมีดไสกลับนี ้ เรียกว่า คู่จังหวะไส ลักษณะการขึน้ รูปด้วยการไส เช่น การไสบ่าฉาก มุมเอียง ร่องบาก ร่องหางเหยี่ยว การไสร่องลม่ิ เป็นต้น (ก) การไสบา่ ฉาก (ข) การไสมมุ เอียง (ค) การไสร่องเหย่ียว (ง) การไสร่องประกบ รูปท่ี 5.1 ตวั อยา่ งการขนึ ้ รูปชนิ ้ งานด้วยเคร่ืองไส เครื่องไสแบง่ ตามลกั ษณะของการทางานได้หลายชนิด เชน่ เคร่ืองไสนอน (Shaper Machine) เครื่อง ไสช่วงยาว (Planer Machine) และเคร่ื องไสตัง้ (Vertical Shaper Machine) โดยในหน่วยเรี ยน นี ้ จะอธิบายเฉพาะรายละเอียดของเครื่องไสแนวนอนเทา่ นนั้ รูปท่ี 5.2 ชนดิ ของเคร่ืองไส
147 5.3.1 การทางานของเคร่ืองไสนอน เคร่ืองไสนอนเป็นเคร่ืองไสขนาดเล็กท่ีนิยมใช้ในโรงงานท่วั ๆ ไปซึ่งมีหลกั การทางาน คือ มีดไสจะเคลอื่ นที่ในแนวเส้นตรงสองจงั หวะ คอื จงั หวะเดนิ ไสและจงั หวะชกั มีดกลบั โดยชิน้ งานถกู จบั ยดึ ไว้ คงทดี่ ้วยปากกาหรือโต๊ะงาน เคลื่อนท่ีไป–กลบั มีดไส มีดไส ชิน้ งาน การปอ้ นลกึ จงั หวะชกั กลบั ชิน้ งาน การป้อนไส (ก) การเคล่อื นที่ไสชิน้ งาน (ข) ทศิ ทางเดนิ ไสและชกั กลบั ของเคร่ืองไสนอน รูปท่ี 5.3 การทางานของเครื่องไสนอน จากรูปท่ี 5.3 ทิศทางการเคล่ือนท่ีไสชิน้ งานมีอยู่ 3 ลกั ษณะ คือ ทิศทางเดินไส ป้อนไส และ ทิศทางกดมีดไส โดยมีรายละเอียดดงั นี ้ 1. การเดินไส คือ การเคลอื่ นทีข่ องมีดไสในแนวเส้นตรงเพื่อตดั เฉือนชิน้ งานซง่ึ มีอยู่ 2 จงั หวะ คือ จงั หวะไส (มีดไสเดินไปข้างหน้าและตดั เฉือนชิน้ งาน) และจงั หวะชักมีดกลบั ซ่งึ ไม่ได้ตดั เฉือนชิน้ งาน ดงั นนั้ จังหวะเดินมีดไสและจงั หวดั ชกั มีดกลบั นีจ้ ะเรียกวา่ คจู่ งั หวะไส (Stroke) มีหนว่ ยวดั เป็นค่จู งั หวะไส ตอ่ นาที มดี ไส ชนิ ้ งาน ความยาวช่วงหลงั มีดไส ความยาวช่วงหน้ามีดไส รูปท่ี 5.4 การเดนิ ไสของมีดไส
148 2. การปอ้ นไส คือ การเคลอ่ื นที่ของชิน้ งานไปตามแนวนอนหรือการเคลอื่ นที่ของชิน้ งาน เข้า หามีดไส 3. การป้อนลึกมีดไส คือ การเคล่ือนที่ของโต๊ะไสเข้าหามีดไส ซึ่งเป็นแนวปอ้ นมีดไสลงใน แนวลกึ เพ่ือตดั เฉือนชิน้ งาน โดยถ้าปอ้ นลกึ มาก ผวิ ชิน้ งานจะหยาบ เรียกวา่ การไสหยาบ และถ้าปอ้ นไม่ลกึ ผวิ ชิน้ งานจะละเอียด เรียกวา่ การไสละเอียด รูปท่ี 5.5 การปอ้ นลกึ ของมีดไส 5.3.2 ส่วนประกอบและหน้าท่ขี องเคร่ืองไสนอน เคร่ืองไสนอนมีสว่ นประกอบท่สี าคญั ดงั นี ้ รูปท่ี 5.6 ชื่อและสว่ นประกอบของเคร่ืองไสนอน
149 1. ฐานเคร่ืองไส (Base) ทาจากเหลก็ หลอ่ ใช้ยดึ สว่ นประกอบตา่ ง ๆ ของเคร่ืองไส รองรับ นา้ หนกั ของสว่ นตา่ ง ๆ ทงั้ หมดของเคร่ืองไส และยดึ แนน่ กบั พนื ้ โรงงาน 2. โต๊ะงาน (Table) เป็นชิน้ ส่วนที่ทาหน้าท่ีจับยึดชิน้ งานท่ีมีขนาดใหญ่หรือใช้สาหรับ เป็นฐานรองในการจบั ยดึ ชิน้ งานด้วยปากกา เน่อื งจากโต๊ะงานมีร่องตวั ที (T–Slot) ช่วยสาหรับการจบั ยดึ รูปท่ี 5.7 โต๊ะงานของเครื่องไสนอน 3. รางเลอื่ นขวาง (Cross Rail) ทาหน้าที่เป็นตวั รองรับชิน้ งานในการเคลอ่ื นท่ีของโต๊ะงาน ไปทางซ้ายหรือขวาด้วยเพลาเกลยี วปอ้ น รูปท่ี 5.8 รางเลอื่ นขวาง 4. ปากกาจับชิน้ งาน (Vise) ใช้สาหรับจับยดึ ชิน้ งานท่ีมีขนาดเลก็ โดยปากกาจับชิน้ งานนี ้ จะถกู ยดึ อยบู่ นโต๊ะงาน 5. โครงเคร่ืองไส (Body) ผลติ จากเหลก็ หลอ่ เป็นชิน้ หลกั ที่ใช้สาหรับให้สว่ นประกอบชิน้ สว่ น อื่น ๆ ยดึ แนน่ เข้าด้วยกนั 6. แคร่เล่ือน (Ram) เป็นชิน้ ส่วนที่อยู่ด้านบนของเครื่องไส ทาหน้าที่เลื่อนมีดไสไป–กลบั ด้วยระบบกลไกภายในเคร่ืองไส
150 รูปท่ี 5.9 แคร่เลอื่ นของเคร่ืองไส 7. หวั ไส (Tool Head) ประกอบอยดู่ ้านหน้าของแคร่เลอ่ื น ทาหน้าท่ีจบั ยดึ มีดไสโดยสามารถ ปรับองศาสาหรับไสได้ข้างละ 90 องศา และนอกจากนีย้ งั ใช้สาหรับปอ้ นตดั ลกึ ชิน้ งานด้วย รูปท่ี 5.10 หวั ไสและสว่ นประกอบ จากรูปที่ 5.10 หวั ไสประกอบด้วยสว่ นตา่ ง ๆ ดงั นี ้ - มือหมนุ ปอ้ น (Vertical Feed Handle) ใช้สาหรับหมนุ ระยะการปอ้ นลกึ มีดไส - ขีดสเกลปอ้ นลกึ (Graduated Screw Dial) ทาหน้าท่ีบอกระยะของการปอ้ นลกึ มีดไส - กลอ่ งมีดไส (Hinged Clapper Box) เป็นสว่ นทจี่ ะยกมีดไสขนึ ้ ในจงั หวะถอยกลบั และกดมีดลง ไสในจงั หวดั เดินไส เพื่อป้องกันหลงั มีดไสลากผ่านผิวชิน้ งานท่ีไสแล้วในจงั หวะถอยมีดกลบั ทงั้ นีจ้ ะต้อง เอียงกลอ่ งมีดไสให้ถกู ทิศทางตามมมุ มีดไสด้วย
151 - ปอ้ มมีดไส (Tool Post) เป็นสว่ นทย่ี ดึ ติดกบั กลอ่ งมีดไส ใช้สาหรับจบั ยดึ มีดไสโดยการประกอบ มีดไสเข้าไปในปอ้ มมีดแล้วจบั ยดึ ด้วยสกรูเกลยี ว - กลอ่ งนอก (Clapper Box) เป็นสว่ นท่ีใช้สาหรับยดึ กลอ่ งมีดไส 5.3.3 กลไกการทางานของเคร่ืองไสนอน 1. ระบบของกลไกการทางานของเครื่องไสแนวนอน เครื่องไสนอนแบง่ กลไกการทางานออกเป็น 2 ระบบ คอื ระบบขบั ด้วยไฮดรอลกิ (Hydraulic Drive) และระบบขบั ด้วยกลไกข้อเหวีย่ ง (Mechanical Drive) ป๊ัมไฮดรอลกิ รูปท่ี 5.11 กลไกการทางานของเครื่องไสนอนทข่ี บั เคลอ่ื นด้วยระบบไฮดรอลกิ รูปท่ี 5.12 การทางานของเคร่ืองไสนอนทข่ี บั เคลอื่ นด้วยระบบกลไกข้อเหวี่ยง
152 สาหรับในหนว่ ยเรียนนี ้ จะศกึ ษาเฉพาะระบบการขบั เคลอ่ื นด้วยกลไกข้อเหวย่ี ง ซง่ึ มีหลกั การทางาน คือ อาศยั การขบั เคลอื่ นด้วยแขนตอ่ (Link) ร่วมกับชุดเฟืองที่รับกาลงั ขบั จากมอเตอร์แล้วสง่ ผ่านมาท่ีเฟือง ขบั (Bull Gear Pinion) และผา่ นไปล้อเฟืองตวั ใหญ่ (Bull Gear) ซงึ่ จะประกอบร่วมกบั แขนเหวยี่ ง (Rocker Arm or Lever) แล้วสง่ ผา่ นไปยงั ข้อตอ่ เพอื่ ดนั ให้แคร่เลอ่ื นเคลอื่ นทไี่ ป–กลบั ทาให้มีดไสท่ียดึ อยกู่ บั ปอ้ มมีด ตดั เฉือนชิน้ งานดงั รูปที่ 5.13 รูปท่ี 5.13 หลกั การทางานของเคร่ืองไสแนวนอนที่ขบั เคลอื่ นด้วยระบบกลไกข้อเหวีย่ ง 2. การเคลื่อนที่ของแคร่เล่ือน จังหวะเดินหน้าและจังหวะถอยกลบั ของแคร่เล่ือน (Ram) จะเคลื่อนที่ไป–กลบั ในขณะที่ล้อเฟื องใหญ่มีทิศทางการหมุนเป็นวงกลม ซงึ่ สง่ ถ่ายกาลงั การหมุนมายัง สลกั แขนเหวี่ยง และแขนเหวี่ยง (Rocker Arm) โดยจังหวะการเคลื่อนท่ีของแคร่เล่ือน มี 2 จังหวะ คือ จงั หวะเดนิ หน้าและจงั หวะถอยกลบั ในช่วงจงั หวะถอยกลบั นีจ้ ะมีระบบถอยกลบั อยา่ งเร็วเพอ่ื ชว่ ยลดเวลา ในการถอยกลบั ของแคร่เลอ่ื น และตาแหนง่ นจี ้ ะอยใู่ นมมุ ของแขนเหวย่ี งในจุดทชี่ กั กลบั ดงั นนั้ ในจงั หวะช่วง เดินหน้าจะใช้เวลามากกวา่ จงั หวะช่วงถอยกลบั
153 รูปท่ี 5.14 การเคลอ่ื นทข่ี องแคร่เลอ่ื นในเครื่องไสนอนท่ีขบั เคลอ่ื นด้วยระบบกลไกข้อเหวย่ี ง 3. วิธีการตงั้ และปรับความยาวช่วงชัก การเปล่ียนความยาวของระยะชักจะกระทาได้โดย การเล่อื นตาแหนง่ คลายแขนล็อกยึดแคร่เลอ่ื นที่อยู่ด้านบน จากนนั้ หมุนสกรูปรับระยะไสโดยถ้าหมุนตาม เข็มนาฬกิ าจะทาให้ความยาวของระยะชกั เพิม่ มากขนึ ้ และถ้าหมนุ ในทศิ ทางทวนเขม็ นาฬกิ าจะทาให้ความ ยาวของระยะชักสนั้ ลง การปรับแตง่ ความยาวของช่วงชกั นีอ้ าศยั หลกั การของระยะการหนีศูนย์ปรับด้วย เกลยี ว โดยการหมนุ ปรับด้วยมือผา่ นเฟืองเฉียง (Bevel Gear) ที่ปลายเพลาเพือ่ เปลย่ี นความยาว ของระยะ ชกั ตามตาแหนง่ ที่ต้องการ สกรูปรับระยะไส แขนลอ็ กยึดแคร่เลอื่ น รูปท่ี 5.15 วธิ ีตงั ้ และปรับความยาวชว่ งชกั
154 4. ระบบการปอ้ น ระบบการป้อนของเครื่องไสจะทาให้โต๊ะงานเคล่ือนท่ีโดยอตั โนมัติเม่ือ เฟื องขบั เพลาป้อนไสหมนุ แล้วสง่ กาลงั ผ่านก้านสง่ ไปยงั ล่ิมขบั ทาให้ล่มิ ขบั ดนั เฟืองปอ้ นที่ประกอบเข้ากบั ปลายเพลาโต๊ะงานไส รูปท่ี 5.16 ระบบการปอ้ นของเครื่องไส เครื่องไสบางรุ่นจะมีระบบการป้อนแตกต่างจากที่กล่าวมาแล้วข้างต้น โดยอาจจะมีป่ ุม ควบคมุ การเดนิ ปอ้ นอตั โนมตั ิ ดงั ตวั อยา่ งในรูปที่ 5.17 และรูปที่ 5.18 รูปท่ี 5.17 ระบบการปอ้ นอตั โนมตั ิของโต๊ะงาน รูปท่ี 5.18 การปอ้ นโต๊ะงานของเครื่องไส
155 5.4.1 ปากกาจบั ชิน้ งาน ปากกาจับชิน้ งานสาหรับงานไสโดยส่วนใหญ่ มักจะมีขนาดใหญ่ที่สามารถหมุนฐาน (Swiveled) เป็นมมุ ตา่ ง ๆ เพื่อสะดวกในการจบั ชิน้ งานไส โดยที่ปากกาจบั ชิน้ งานนีจ้ ะยึดแน่นบนโต๊ะงาน (Table) ด้วย ที–โบลต์ (T–Bolt) อีกครัง้ หนึง่ ในกรณีที่เป็นชิน้ งานขนาดใหญ่ซึง่ ไม่สามารถจบั ด้วยปากกาได้ ก็จะใช้อปุ กรณ์จบั ชิน้ งานแบบตา่ ง ๆ จบั ยดึ แนน่ บนโต๊ะงานแทน ทีโบลต์ (ก) การจบั ยึดชนิ ้ งานไสด้วยปากกา (ข) การจบั ยึดชนิ ้ งานไสด้วยโต๊ะงาน รูปท่ี 5.19 การจบั ยดึ ชนิ ้ งานไส 5.4.2 แท่งขนาน แท่งขนาน (Parallels) เป็นเหล็กแท่งส่ีเหลย่ี มจตั รุ ัสหรือสเี่ หลือ่ มผืนผ้าที่ผ่านการเจียระไนผวิ และได้ขนาดมาแล้ว ใช้สาหรับรองรับชิน้ งานให้สว่ นท่ีต้องการไสสูงพ้นจากปากของปากกา หรือเพื่อให้ ชิน้ งานได้ระดบั เดยี วกนั ชนิ ้ งาน แท่งวสั ดอุ อ่ น แท่งขนาน รูปท่ี 5.20 การจบั ยดึ ชนิ ้ งานไสด้วยแท่งขนาน
156 5.4.3 ชุดหวั แบ่ง ชุดหวั แบง่ (Indexing Head) ใช้สาหรับจบั งานชิน้ ไสทตี่ ้องการแบง่ สว่ นให้เทา่ กนั เช่น หวั นอต สเี่ หลย่ี ม และการไสร่องสไปน์ (Spines) เป็นต้น รูปท่ี 5.21 ชดุ หวั แบง่ สาหรับงานไส 5.4.4 อุปกรณ์ช่วยจับยึด อุปกรณ์ช่วยจับยึดท่ีต้องนามาใช้ร่วมกันเพ่ือให้ สามารถจับชิน้ งานไสได้มั่นคงแข็งแรง ประกอบด้วย แผ่นกดรูปร่างต่าง ๆ (Clamp) โบลต์แบบที–สลอต (T–Slot Bolt) วี–บล็อก (V–Block) ซ–ี แคลม็ ป์ (C–Clamp) แทง่ ฉาก (Angle Plate) สกรูปรับระดบั (Screw Jack) และแทง่ ระดบั (Step Block) เป็นต้น (ก) แคลม็ ป์ จบั ยึดแบบแผน่ เรียบ รูปท่ี 5.22 อปุ กรณ์ชว่ ยจบั ยดึ ในงานไส
157 โต๊ะงาน รูปท่ี 5.23 อปุ กรณ์ชว่ ยจบั ยดึ ในงานไส 5.4.5 ด้ามจบั มดี ไส ด้ามจบั มีดไส (Tool Holder) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สาหรับจบั ยดึ มีดไสในลกั ษณะตา่ ง ๆ รูปท่ี 5.24 การใช้ด้ามจบั มดี ไสเพอ่ื ไสชนิ ้ งานในลกั ษณะตา่ ง ๆ
158 5.5.1 ความเร็วตดั งานไส ความเร็วตดั งานไส หมายถึง ความเร็วท่ีมีดไสเดินปาดผิวชิน้ งานในจงั หวะเดินไสและจงั หวะ ถอยกลับ มีหน่วยวัดเป็นเมตรต่อนาทีหรือฟุตต่อนาที การกาหนดความเร็วตัดของงานไสขึน้ อยู่กับ องค์ประกอบ 3 ประการ คือ วสั ดชุ ิน้ งานไส วสั ดมุ ีดไส และความลกึ ของการป้อนตดั ตวั อยา่ งความเร็วตดั สาหรับงานไสแสดงไว้ในตารางที่ 5.1 ตารางท่ี 5.1 คา่ ความเร็วตดั เฉลย่ี และอตั ราปอ้ นสาหรับงานไส เหลก็ เหนียว เหลก็ หลอ่ ทองเหลือง เหลก็ คาร์บอน วสั ดมุ ีดไส ความเร็ว อตั รา ความเร็ว อตั รา ความเร็ว อตั รา ความเร็ว อตั รา ตดั การปอ้ น ตดั การปอ้ น ตดั การปอ้ น ตดั การปอ้ น เหลก็ กล้ารอบสงู 24 0.15 20 0.2 50 0.12 15 0.12 (H.S.S.) เหลก็ กล้าเคร่ืองมือ 12 0.12 10 0.15 33 0.2 7.5 0.1 (Carbon Steel) ความลกึ ของการปอ้ นตดั เลอื กใช้คา่ ระหวา่ ง 0.70 - 10 มม. ตอ่ การไส 1 ครัง้ 5.5.2 ความยาวช่วงไส การกาหนดความยาวช่วงไสแสดงรายละเอียดไว้ในรูปที่ 5.25 รูปท่ี 5.25 การกาหนดความยาวช่วงไส
159 จากรูปที่ 5.25 ถ้ากาหนดให้ a = ความยาวชิน้ งานไส มีหนว่ ยเป็นนวิ ้ หรือมิลลเิ มตร b = ความยาวช่วงหน้ามีดไส มีหนว่ ยเป็นนวิ ้ หรือมิลลเิ มตร c = ความยาวชว่ งหลงั มีดไส มีหนว่ ยเป็นนวิ ้ หรือมิลลเิ มตร L = ความยาวของชว่ งไสงาน มีหนว่ ยเป็นนวิ ้ หรือมิลลเิ มตร 2L = ระยะทางการเคลอ่ื นท่ไี ป–กลบั ของมีดไส (ความยาว 1 ช่วงชกั ) หมายเหตุ : อตั ราสว่ นของความยาวช่วงหลงั มีดไสและความยาวชว่ งหน้ามีดไส (b : c) โดยทวั่ ไป นยิ มใช้ในการทางานคืออตั ราสว่ น 1 : 2 หรือ 2 : 3 เชน่ ถ้าความยาว b เทา่ กบั 10 มม. และความยาว c จะเทา่ กบั 20 มม. หรือ 30 มม. เป็นต้น 5.5.3 ความเร็วไส ความเร็วไส คือ ความเร็วท่มี ีดไสเดนิ ไสและถอยกลบั ซงึ่ เรียกวา่ หนงึ่ คจู่ งั หวะไสหรือคจู่ งั หวะ ชกั (Stroke) มีหนว่ ยวดั เป็นคจู่ งั หวะชกั ตอ่ นาที ความเร็วงานไสสามารถคานวณได้จากสตู รดงั ตอ่ ไปนี ้ n = Vm 1,000 คจู่ งั หวะชกั /นาที 2L เมื่อ n = ความเร็วไส (คจู่ งั หวะชกั /นาที) Vm = ความเร็วตดั เฉลย่ี (เมตร/นาที) L = ความยาวชว่ งไส (b + a + c) ความเร็วไสของเคร่ืองไสนอนจะเกิดขนึ ้ เฉพาะจงั หวะเดินหน้าไสเท่านนั้ ในการคานวณความเร็ว โดยทว่ั ไปจะใช้เวลาในการทางานเพียง 3/5 ของเวลาใน 1 คู่จังหวะชัก ดังนนั้ การคิดค่าความเร็วงานไส จะคิดทคี่ า่ สงู สดุ ของการเคลอื่ นท่ีตดั ในช่วงเดินไสชิน้ งาน คือ 3/5 Vm ดงั นนั้ การคานวณคจู่ งั หวะชักของงานไส จะได้ดงั นี ้ n = 3 Vm 1,000 หรือ 5 2L n = 6020LVm
160 5.5.4 อตั ราป้อนงานไส อตั ราปอ้ นงานไส หมายถงึ ความเร็วทีช่ ิน้ งานเคลอื่ นท่เี ข้าหามีดไสในจงั หวะเดนิ ไส มีหนว่ ยวดั เป็นมิลลเิ มตรตอ่ คจู่ งั หวะไสหรือนวิ ้ ตอ่ คจู่ งั หวะไส โดยทอ่ี ตั ราปอ้ นไสนจี ้ ะมีความสมั พนั ธ์กบั ความลกึ ในการ ป้อนตดั ชิน้ งาน กลา่ วคือ ถ้าเป็นการไสหยาบ ความลึกในการป้อนตัดชิน้ งานควรมากกวา่ อัตราป้อนไส ประมาณ 3–5 เท่า แตถ่ ้าเป็นการไสละเอียด ความลกึ ในการปอ้ นตดั ชิน้ งานและอตั ราปอ้ นควรมีคา่ เทา่ กนั หรือน้อยกวา่ ทงั้ นอี ้ าจดไู ด้จากตารางท่ี 5.1 ตัวอย่างท่ี 5.1 ทาการไสงานหยาบชิน้ งานซ่ึงเป็นเหล็กเหนียวและมีความยาว 200 มม. โดยใช้ มีดไสเหลก็ กล้ารอบสงู (H.S.S.) จงคานวณความเร็วไสทต่ี ้องใช้ วธิ ีทา ข้อมลู จากโจทย์ L = 200 + 20 + 10 = 230 มม. Vm = คา่ ความเร็วตดั เฉลย่ี จากตารางท่ี 5.1 เทา่ กบั 24 เมตรตอ่ นาที 6600200LV2m4 n = 2 230 = = 31 คจู่ งั หวะชกั ตอ่ นาที ตอบ หมายเหตุ : ในกรณีที่เครื่องไสไม่มีจานวนคจู่ ังหวะไสตามท่ีคานวณได้ อนโุ ลมให้ใช้จานวนคจู่ ังหวะ ไสตา่ กวา่ ได้ รูปท่ี 5.26 ความเร็วไสทส่ี ามารถปรับได้บนเครื่องไส ELLIOTT (Model 450)
161 เคร่ืองไสนอนเป็นเครื่องมือกลพืน้ ฐานที่ใช้ไสชิน้ งานให้ผิวเรียบ ความฉาก หรือไสขนึ ้ รูปตา่ ง ๆ ได้ ดงั นนั้ การปฏบิ ตั ิงานบนเครื่องไสนอนให้มีประสทิ ธิภาพนนั้ ผ้ปู ฏิบตั ิงานจึงต้องมีความรู้ ความสามารถ และ ทกั ษะในการปฏบิ ตั งิ านดงั นี ้ 5.6.1 การจบั ยดึ ชิน้ งานไส การจบั ยดึ ชิน้ งานไส จะต้องพิจารณาถงึ องค์ประกอบที่สาคญั 2 ประการ คือ รูปร่างลกั ษณะ และขนาดของชิน้ งานวา่ เหมาะสมกบั การจบั ยดึ แบบใด โดยมีหลกั เกณฑ์ในการพจิ ารณาดงั นี ้ 1. ชิน้ งานทม่ี ีขนาดเลก็ การจบั ชิน้ งานขนาดเลก็ ควรจบั ยดึ ด้วยปากกาโดยจบั ไสให้ผิวชิน้ งาน อยู่เหนือจากผิวของปากกาพอสมควร แล้วใช้แท่นรองรับหรือแท่งขนานวางด้านในของปากกาและต้อง ปรับตงั้ ปากของปากกาให้ขนานกบั แนวเดนิ ของมีดไสด้วย รูปท่ี 5.27 การจบั ชนิ ้ งานไสขนาดเลก็ ด้วยปากกา 2. ชิน้ งานที่มีขนาดใหญ่ ควรจบั ชิน้ งานให้มนั่ คงแข็งแรงเข้ากบั โต๊ะไส โดยใช้อุปกรณ์ชว่ ยจบั เชน่ แคลม็ ป์ จบั ยดึ หรือซี–แคลม็ ป์ โบลต์แบบที–สลอต รูปท่ี 5.28 การจบั ยดึ ชนิ ้ งานไสบนโต๊ะงานด้วยอปุ กรณ์ชว่ ยจบั ยดึ
162 รูปท่ี 5.28 (ต่อ) การจบั ยดึ ชนิ ้ งานไสบนโต๊ะงานด้วยอปุ กรณ์ชว่ ยจบั ยดึ 5.6.2 การจับยดึ มีดไส การจับมีดไสจะขึน้ อยู่กับรูปร่างแบบของชิน้ งานและลกั ษณะของงานไส โดยทัว่ ไปจะมีอยู่ 2 ลกั ษณะ คือ การจบั ยดึ มีดไสด้วยด้ามจบั และการจบั มีดไสด้วยปอ้ มมีดไส รูปท่ี 5.29 การจบั ยดึ มีดไส หมายเหตุ : การจบั ยดึ มีดไสจะต้องไม่ให้โผลด่ ้ามมีดหรือปอ้ มมีดมากเกินไป เพราะอาจทาให้มีดไส หกั ในขณะไสชิน้ งานได้ ระยะห่างมดี ไสทีเ่ หมาะสม (ก) ถกู ต้อง (ข) ไมถ่ กู ต้อง รูปท่ี 5.30 ความยาวในการจบั ยดึ มดี ไส
163 5.6.3 การปรับระยะการเคล่ือนท่ขี องแคร่เล่ือน การปรับระยะไสชิน้ งานควรปรับให้มีระยะเผ่ือหน้ามีดประมาณ 20 มม. และเผ่ือหลงั มีด ประมาณ 10 มม. ซง่ึ การปรับระยะการเคลอ่ื นทขี่ องมีดไสนจี ้ ะปรับทชี่ ุดแคร่เลอื่ นของเคร่ืองไสดงั นี ้ 1. การปรับความยาวไส กระทาได้โดยการหมุนท่ีเพลาปรับความยาวไสท่ีอยู่ข้างเคร่ืองไส ด้วยประแจ โดยให้สงั เกตวา่ ถ้าหมนุ ไปในทิศทางทวนเข็มนาฬิกา ระยะการเคล่อื นท่ีจะเพิ่มขนึ ้ แต่ถ้าหมุน ในทศิ ทางตามเข็มนาฬิกา ระยะการเคล่อื นที่จะสนั้ ลง เคร่ืองไสบางรุ่นก่อนที่จะหมนุ เพลานจี ้ ะต้องคลายสกรู ทยี่ ดึ อยบู่ นแคร่เลอ่ื นกอ่ น ซงึ่ เป็นสกรูคนละชดุ กบั สกรูปรับตาแหนง่ แคร่เลอื่ น และเมื่อหมนุ ได้ระยะแล้วต้อง ขนั สกรูนีใ้ ห้แน่นก่อนที่จะทดลองเดินเครื่องเพ่ือตรวจสอบความยาวไส ในการปรับความยาวไสควรปรับ ให้อยใู่ นระยะใกล้ทส่ี ดุ กอ่ น จากนนั้ จึงปรับตาแหนง่ แคร่เลอ่ื นหรือตาแหนง่ ไสอีกครัง้ 2. การปรับตาแหนง่ แคร่เลือ่ น เมื่อปรับความยาวไสได้ตามที่ต้องการแล้ว มีดไสอาจจะเดนิ ยาวหรือสนั้ กว่าชิน้ งานท่ีต้องการไส ดงั นนั้ อาจต้องปรับตาแหน่งแคร่เลอ่ื นอีกครัง้ โดยปรับท่ีเพลาหรือสกรู ปรับตาแหนง่ แคร่เลอ่ื นจึงจะทาให้มีดไสมีตาแหนง่ การเคลอื่ นท่ีไสทถี่ กู ต้อง รูปท่ี 5.31 การปรับตาแหนง่ การเคลอ่ื นทีข่ องแคร่เลอ่ื น 5.6.4 การปรับหัวเคร่ืองไส หวั เครื่องไสเป็นสว่ นทอ่ี ยปู่ ลายสดุ ของแคร่เลอ่ื นเพอ่ื ใช้จบั มีดไสและปอ้ นลกึ มีดไสให้ตัดเฉือน ชิน้ งาน ในการปรับหวั ไสนีจ้ ะหมนุ ปอ้ นท่ีหวั เคร่ืองไสในจงั หวะท่ีแคร่เล่ือนเดินหน้า โดยกลอ่ งมีดจะกดมีด ให้ตัดเฉือนชิน้ งาน และในจังหวะถอยหลงั กล่องมีดจะยกมีดขึน้ เพ่ือลดการขูดผิวงาน จะสลบั กันเช่นนี ้ ตลอดเวลาของการไสชิน้ งาน การปอ้ นลกึ มีดไสจะใช้มือหมุนท่ีอยู่ด้านบนสดุ ของหวั เคร่ืองไส ซึง่ จะมีสเกล ชว่ ยในการปอ้ นลกึ
164 การปรับเอียงหวั เคร่ืองไสในสว่ นท่ีเป็นกลอ่ งมีดให้ถูกต้อง จะทาให้การกดมีดไสและยกมีดไส มีประสทิ ธิภาพมากยิ่งขนึ ้ และนอกจากนีก้ ารเอียงกลอ่ งมีดในทิศทางตรงข้ามกบั การปอ้ นตดั ชิน้ งาน จะทา ให้มีดไสเหว่ยี งตวั ออกจากชิน้ งานได้ดีในจงั หวะชกั กลบั รูปท่ี 5.32 การปรับหวั เคร่ืองไสในลกั ษณะตา่ ง ๆ หมายเหตุ : การจบั มีดไสบนหวั เคร่ืองไสจะต้องจบั ให้มีระยะใกล้ชิน้ งานท่ีสดุ เทา่ ทจ่ี ะไสชิน้ งานได้ อยา่ งปลอดภยั เพ่ือปอ้ งกนั ไมใ่ ห้มีดไสหกั หรือเกิดการสะท้านขณะไส ซงึ่ จะสง่ ผลให้ผิวชิน้ งานไมเ่ รียบได้ รูปท่ี 5.33 การจบั มดี ไสบนหวั เคร่ืองไส
165 5.7.1 การไสราบ การไสราบเป็นการไสเพื่อลดขนาดความหนาของชิน้ งานและ/หรือเป็ นการไสเพื่อปรับ ผิวชิน้ งานจากผวิ หยาบให้เป็นผวิ ละเอียด ซงึ่ วิธีการไสผิวราบมีขนั้ ตอน ดงั นี ้ 1. ปรับตงั้ ปากกาให้ขนานกบั แนวเคลอื่ นที่ของมีดไสโดยใช้นาฬกิ า รูปท่ี 5.34 การปรับตงั้ ปากกาจบั ชิน้ งานไส หมายเหตุ : ก่อนการทดสอบความขนานและความฉากของปากกาควรทาความสะอาด แทง่ ขนานและปากกาจบั ชิน้ งานท่กี าลงั ทดสอบให้สะอาดเสยี ก่อน
166 2. จับชิน้ งานด้วยปากกา การจบั ชิน้ งานด้วยปากกาให้ใช้แท่งขนานรองชิน้ งาน โดยให้ผิว ด้านบนของชิน้ งานโผลส่ งู ขนึ ้ มาจากขอบของปากกา เพ่อื ให้สามารถไสงานได้อยา่ งสะดวก รูปท่ี 5.35 การจบั ชนิ ้ งานด้วยปากกาจบั งาน 3. จับมีดไส การจับมีดไสให้ใช้ด้ามมีดหรือจบั ยึดด้วยป้อมมีด โดยให้ปลายมีดไสโผล่ยื่น ออกมาจากปอ้ มมีดประมาณ 8–10 มม. _ รูปท่ี 5.36 การจบั มดี ไสบนปอ้ มมีด 4. ปรับตงั้ ระยะชกั การปรับตงั้ ระยะชกั ที่ถกู ต้อง คอื ให้เผ่อื ระยะหน้ามีดไสประมาณ 20 มม. และเผื่อระยะหลงั มีดไสประมาณ 10 มม. ดงั รูปที่ 5.37
167 รูปท่ี 5.37 การปรับความยาวชกั โดยการเผือ่ ระยะหน้าและหลงั มีดทถ่ี กู ต้อง 5. ขนั้ ตอนการไสแตล่ ะด้าน 5.1 ไสด้านท่ี 1 การไสชิน้ งานด้านนี ้ ผิวชิน้ งานจะยงั เป็นผิวดิบซ่ึงอาจยงั ไม่เรียบ หรือ ไม่ได้ความฉาก ดงั นนั้ จงึ ควรไสให้หมดผวิ ดิบกอ่ น 5.2 ไสด้านท่ี 2 โดยนาด้านท่ี 1 ท่ไี สราบแล้วจบั เข้ากบั ปากของปากกาด้านตรงข้าม โดย ใช้เหล็กกลมรองรับชิน้ งาน แล้วใช้ค้อนหวั อ่อนเคาะงานเพ่ือให้ด้านท่ี 1 แนบสนิทกับปากกา โดยเคาะ ชิน้ งานไปพร้อม ๆ กบั ขนั ปากกาจนแนน่ จากนนั้ จึงเร่ิมไสชิน้ งานจนหมดผวิ ดบิ ซง่ึ เมื่อไสด้านที่ 2 เสร็จแล้ว ก็จะได้ฉากกบั ด้านท่ี 1 (ด้านที่ 1 และ 2 เรียบและได้ฉากกนั ) แตย่ งั ไมต่ ้องการให้ได้ขนาดตามแบบ รูปท่ี 5.38 การไสราบด้านท่ี 1 และด้านท่ี 2 5.3 นาชิน้ งานท่ีผา่ นด้านท่ี 1 และด้านที่ 2 ไปลบครีบและคมออกให้เรียบ 5.4 ร่างแบบงานเพ่ือทาการไสด้านที่ 3 และด้านที่ 4 ให้ได้ขนาดตามแบบ
168 5.5 ไสด้านที่ 3 โดยให้นาด้านที่ 1 ติดกับปากของปากกาและด้านที่ 2 แนบกับพืน้ ปากกาหรือแทง่ ขนาน และใช้เหลก็ กลมรองรับชิน้ งานกับปากของปากกาด้านตรงข้าม โดยใช้ค้ อนหวั อ่อน เคาะชิน้ งานให้แนบสนิท พร้อมกบั ขนั ปากกาจบั ยึดชิน้ งานให้มนั่ คงแข็งแรง จากนนั้ จงึ เริ่มไสงานให้ถึงเส้น แบบร่างท่กี าหนด ซง่ึ จะทาให้ด้านที่ 1 ได้ฉากกบั ด้านท่ี 2 และได้ฉากกบั ด้านที่ 3 5.6 ไสด้านที่ 4 จนได้ขนาดตามแบบ รูปท่ี 5.39 การไสราบด้านท่ี 3 และด้านที่ 4 5.7 ไสด้านที่ 5 โดยการจบั ชิน้ งานด้วยปากกา แล้วใช้ฉากเทียบกับผิวชิน้ งานให้แนบสนิท และขนั ปากกาจบั ยดึ ชิน้ งานให้แนน่ จากนนั้ เร่ิมไสชิน้ งานจนได้ผวิ ราบ (แตย่ งั ไม่ต้องการขนาดตามแบบ) รูปท่ี 5.40 การไสราบด้านท่ี 5 5.8 นาชิน้ งานไปร่างแบบเพ่ือไสด้านท่ี 6 เพอื่ ให้ได้ขนาดตามแบบ 5.9 ไสด้านท่ี 6 โดยวางชิน้ งานด้านท่ี 5 บนแท่งขนานหรือฐานของปากกา แล้วเคาะ ชิน้ งานให้แนบสนิทกับแท่งขนานหรือฐานของปากกา และให้ใช้ฉากเทียบพร้ อมกับขันปากกาให้แน่น จากนนั้ ไสหยาบและละเอียดตามลาดบั จนได้ขนาดตามแบบ 5.7.2 การไสบ่าฉาก การไสบา่ ฉากมีขนั้ ตอนการเตรียมเครื่องไสและการเตรียมชิน้ งานก่อนไสเหมือนกับขัน้ ตอน การไสราบ แตแ่ ตกตา่ งกนั ตรงที่ลกั ษณะการปอ้ นไสท่แี ตกตา่ งกนั คือ การไสบา่ ฉากจะปอ้ นไสในแนวด่งิ
169 รูปท่ี 5.41 การไสบา่ ฉาก 5.8.1 ตรวจสอบสภาพความพร้อมของเครื่องไสทกุ สว่ นก่อนลงมือปฏิบตั งิ าน 5.8.2 ปรับตงั้ ความยาวการเคลอ่ื นที่ของมีดไสให้เหมาะสมกับชิน้ งาน โดยมีระยะเผื่อหน้ามีดและ หลงั มีดตามคาแนะนา 5.8.3 ปรับความเร็วไสให้เหมาะสมกบั วสั ดชุ ิน้ งาน 5.8.4 ห้ามใช้มือเข่ียเศษโลหะเพราะคมของเศษชิน้ งานอาจบาดมือได้ ควรใช้แปรงปัดเศษโลหะ จะปลอดภยั กวา่ 5.8.5 สวมแวน่ ตานิรภยั ทกุ ครัง้ ที่ปฏิบตั ิงาน 5.8.6 ห้ามก้มมองมีดไสด้านหน้าเครื่องไส ถึงแม้ว่าจะสวมแว่นนิรภยั แล้วก็ตาม รวมทงั้ ห้ามยืน ด้านหน้าเครื่องไส เพราะมีดไสอาจหกั และกระเดน็ ใสใ่ บหน้าได้ 5.8.7 ถ้าต้องการปรับสว่ นใด ๆ ทงั้ มีดไส การจับชิน้ งาน การวดั งาน หรือการปรับเคร่ืองไสจะต้อง หยดุ เคร่ืองทกุ ครัง้ ก่อนเสมอ 5.8.8 ระมดั ระวงั เศษโลหะทกี่ ระเด็นจากการไส เพราะมีความร้อนและมีคมมากซง่ึ อาจเป็นอนั ตราย ตอ่ ผ้ปู ฏิบตั ิงานหรือเพือ่ นร่วมงานได้ 5.8.9 การปอ้ นลกึ ในการไสชิน้ งานจะต้องพิจารณากาลงั ของเครื่องไส ขนาดของมีดไส และความ แข็งแรงในการจบั ชิน้ งาน เพราะอาจเกิดอนั ตรายได้ทงั้ จากมีดไสหกั และการหลดุ กระเดน็ ของชิน้ งาน 5.8.10 ห้ามหยดุ มีดไสในขณะเดินไส เพราะอาจทาให้มีดไสหกั หรือชิน้ งานหลดุ กระเดน็ ได้
170 5.8.11 การจบั ชิน้ งานต้องมน่ั ใจวา่ มนั่ คงแข็งแรง เพราะชิน้ งานอาจหลุดกระเด็นออกจากปากกา หรืออปุ กรณ์จบั ยดึ ในขณะเดินไส 5.8.12 ปรับขารองรับโต๊ะงานให้ยนั กบั ฐานเครื่องทกุ ครัง้ ทไี่ ส เพราะในจงั หวะไส มีดไสจะกดชิน้ งาน ทาให้ชิน้ งานไสไม่ขนานได้ 5.8.13 ห้ามวางเครื่องมือและอุปกรณ์บนโต๊ะงาน เพราะในขณะที่โต๊ะงานเคลอื่ นที่อตั โนมตั ิ อุปกรณ์ เหลา่ นนั้ อาจจะไปขดั กบั โครงเครื่องทาให้เกิดอนั ตรายตอ่ เครื่องไสได้ เพ่อื ให้อายกุ ารใช้งานของเครื่องไสนอนยาวนานขนึ ้ ควรมีการบารุงรักษาดงั นี ้ 5.9.1 หลอ่ ลน่ื สว่ นตา่ ง ๆ ท่ีเคลอ่ื นที่ก่อนใช้งานทกุ ครัง้ เนอ่ื งจากเคร่ืองไสมีชิน้ สว่ นท่ีต้องอาศยั กลไก ในการขบั เคล่อื นที่อยภู่ ายในโครงเคร่ือง อีกทงั้ ระบบป๊ัมนา้ มนั เคร่ืองจะต้องป๊ัมนา้ มนั ไปหลอ่ ลนื่ สว่ นต่าง ๆ ที่เคลื่อนไหวอยู่ตลอดเวลาเพื่อลดการเสียดสีและการสึกหรอของชิน้ ส่วนต่าง ๆ ดังนนั้ ให้ตรวจสอบว่า ปั๊มนา้ มันทางานหรือไม่ มีนา้ มันเคร่ืองในโครงเครื่องไสอยู่ในระดับที่กาหนดหรือไม่ ถ้ามีปัญหาต้อง ดาเนนิ การแก้ไขทนั ที ตวั อยา่ งจุดตา่ ง ๆ ของเครื่องไสที่ควรตรวจสอบและหลอ่ ลน่ื แสดงไว้ในรูปที่ 5.42 รูปท่ี 5.42 ตาแหน่งท่ตี ้องหลอ่ ลื่นในเคร่ืองไส 5.9.2 ทาความสะอาดทกุ ๆ สว่ นของเคร่ืองไสเมื่อเสร็จสนิ ้ การปฏิบตั ิงาน 5.9.3 ตรวจสอบระดบั นา้ มนั ในห้องเฟืองอยเู่ สมอ
171 คาส่ัง จงตอบคาถามตอ่ ไปนี ้ 1. จงบอกลกั ษณะของชิน้ งานทข่ี นึ ้ รูปด้วยเคร่ืองไสมาอยา่ งน้อย 3 ชื่อ (3 คะแนน) 2. เครื่องไสแบง่ ตามลกั ษณะการทางานได้กี่ประเภทและมีอะไรบ้าง (3 คะแนน) 3. มีดไสมีทศิ ทางการเดนิ ก่ีจงั หวะ อะไรบ้าง (3 คะแนน) 4. ทศิ ทางการเคลอื่ นทไ่ี สชิน้ งานแบง่ เป็นก่ีลกั ษณะและมีอะไรบ้าง (3 คะแนน) 5. ระบบกลไกการทางานของเคร่ืองไสนอนแบง่ ออกเป็นกี่ระบบและมีอะไรบ้าง (3 คะแนน) 6. จงอธิบายลกั ษณะการทางานของเครื่องไสดงั ตอ่ ไปนี ้(3 คะแนน) 6.1 การเดินไส คือ 6.2 การปอ้ นไส คือ 6.3 การปอ้ นลกึ คอื
172 7. จงบอกช่ือและหน้าท่ขี องเครื่องไสตามหมายเลขทกี่ าหนดให้ดงั ตอ่ ไปนี ้(24 คะแนน) หมายเลข 1 ชื่อ หน้าที่ หมายเลข 2 ชื่อ หน้าท่ี หมายเลข 3 ช่ือ หน้าท่ี หมายเลข 4 ช่ือ หน้าท่ี หมายเลข 5 ชื่อ หน้าท่ี หมายเลข 6 ชื่อ หน้าที่ หมายเลข 7 ชื่อ หน้าที่
173 หมายเลข 8 ช่ือ หน้าท่ี หมายเลข 9 ช่ือ หน้าที่ หมายเลข 10 ช่ือ หน้าท่ี หมายเลข 11 ชื่อ หน้าที่ หมายเลข 12 ชื่อ หน้าท่ี 8. ไสชิน้ งานท่ีเป็นเหล็กหลอ่ ความยาว 200 มม. โดยใช้มีดไสท่ีทาจากเหล็กกล้ารอบสงู จงคานวณหา ความเร็วที่ต้องใช้ในการไส (4 คะแนน) 9. จงบอกความปลอดภยั ในการใช้เคร่ืองไสมาอยา่ งน้อย 5 ข้อ (5 คะแนน) 10. จงบอกวิธีการบารุงรักษาเครื่องไสมาอยา่ งน้อย 3 ข้อ (3 คะแนน)
174 คาส่ัง จงเลอื กคาตอบทถี่ กู ต้องทส่ี ดุ 1. เครื่องไสนอนมีหลกั การทางานอยา่ งไร ก. ชิน้ งานเคลอื่ นท่เี ข้าหามีดไส ข. มีดไสเดนิ กลบั ไป–กลบั มาและชิน้ งานเดินปอ้ นเข้าหามีดไส ค. มีดไสเคลอ่ื นทีเ่ ข้าหาชิน้ งานโดยชิน้ งานอยกู่ บั ที่ ง. ชิน้ งานเดินกลบั ไป–กลบั มาและมีดไสเดินปอ้ นตดั เฉือนชิน้ งาน 2. สว่ นประกอบใดของหวั ไสทีใ่ ช้สาหรับหมนุ ปอ้ นระยะลกึ ของการไส ก. มือหมนุ ปอ้ น ข. ขีดสเกลปอ้ นลกึ ค. กลอ่ งมีดไส ง. ปอ้ มมีดไส 3. สว่ นประกอบใดของหวั ไสท่ีใช้สาหรับยดึ กลอ่ งมีดไส ก. กลอ่ งมีดไส ข. ปอ้ มมีดไส ค. กลอ่ งนอก ง. มือหมนุ ปอ้ น 4. สว่ นใดของหวั ไสท่ีทาหน้าทย่ี กและกดมีดไสขณะทมี่ ีดไสเดนิ ไสชิน้ งาน ก. แคร่คร่อม ข. กลอ่ งมีดไส ค. ปอ้ มมีด ง. มือหมนุ ปอ้ น 5. ล้อเฟืองตวั ใหญ่ของเคร่ืองไส (Bull Gear) ทาหน้าที่อะไร ก. รับกาลงั ขบั จากมอเตอร์ ข. ประกอบร่วมกบั แขนเหวี่ยง (Rocker Arm) ค. ดนั ให้แคร่เลอ่ื นเคลอ่ื นทไี่ ป–กลบั ง. ตดั และตอ่ กาลงั 6. การจบั ชิน้ งานไสทมี่ ีขนาดเลก็ ควรเลอื กใช้เครื่องมืออะไรจบั ยดึ ชิน้ งาน ก. ปากกา ข. วี–บลอ็ ก ค. ซ–ี แคลม็ ป์ ง. โต๊ะงาน 7. การจบั ชิน้ งานไสทม่ี ีขนาดใหญ่ควรเลอื กใช้เคร่ืองมืออะไรจบั ยดึ ชิน้ งาน ก. ซ–ี แคลม็ ป์ ข. โต๊ะงานร่วมกบั อุปกรณ์จบั ยดึ ค. ปากกา ง. วี–บลอ็ ก
175 8. ในการไสชิน้ งานให้ได้รูปหกเหลยี่ มด้านเทา่ จะต้องใช้อุปกรณ์ในข้อใดจบั ยดึ ชิน้ งาน ก. แคลม็ ป์ จบั ยดึ ข. โต๊ะงาน ค. แทง่ ขนาน ง. หวั แบง่ 9. วตั ถปุ ระสงค์ของการใช้แทง่ ขนาน (Parallel) ในการจบั ยดึ ชิน้ งานไสคอื ข้อใด ก. รองรับชิน้ งานให้ได้ระดบั เดียวกนั ข. ปรับผวิ ของชิน้ งาน ค. ปรับฉากชิน้ งาน ง. ตงั้ ศนู ย์ชิน้ งาน 10. การจบั ยดึ ชิน้ งานไสรูปทรงกระบอกจะต้องใช้อุปกรณ์ในข้อใดจบั ยดึ ชิน้ งาน ก. หวั แบง่ ข. ปากกา ค. แทง่ ขนาน ง. วี–บลอ็ ก 11. สว่ นใดของเครื่องไสทที่ าหน้าทรี่ องรับและจบั ยดึ ชิน้ งานขนาดใหญ่ ก. ปากกาจบั งาน ข. โต๊ะงาน ค. แคร่เลอ่ื น ง. หวั ไส 12. ข้อใด ไม่ใช่ หน้าท่ีของหวั ไส ก. ปรับความเร็วไส ข. ปอ้ นไสแนวดง่ิ ค. ปอ้ นไสแนวราบ ง. ปรับเอียงมมุ ไส 13. การปอ้ นไสชิน้ งานตามแนวลกึ ควรปอ้ นด้วยสว่ นใดของเครื่องไส ก. รางเลอ่ื นขวาง ข. โต๊ะงานไส ค. ปากกา ง. หวั ไส 14. การจบั ยดึ ชิน้ งานด้วยปากกาควรจบั แบบใดจึงจะถกู ต้อง ก. ปรับตงั้ ปากของปากกาให้ขนานกบั แนวเคลอ่ื นทขี่ องมีดไส ข. ปรับตงั้ ปากของปากกาให้ทามมุ กบั แนวเคลอื่ นท่ีของมีดไส ค. จบั ให้ชิน้ งานไสโผลอ่ อกมามากทีส่ ดุ เทา่ ท่จี ะทาได้ ง. จบั ให้ชิน้ งานไสโผลอ่ อกมาน้อยที่สดุ เทา่ ทีจ่ ะทาได้ 15. ความยาวช่วงหน้ามีดและช่วงหลงั มีดทเี่ หมาะสมคือข้อใด ก. ช่วงหน้ามีด 20 มม. และช่วงหลงั มีด 10 มม. ข. ชว่ งหน้ามีด 10 มม. และชว่ งหลงั มีด 5 มม. ค. ช่วงหน้ามีด 10 มม. และชว่ งหลงั มีด 15 มม. ง. ชว่ งหน้ามีด 10 มม. และชว่ งหลงั มีด 20 มม.
176 16. ชิน้ งานมีความยาว 300 มม. จะต้องตงั้ ความยาวในการไสเทา่ ไรจงึ จะเหมาะสม ก. 310 มม. ข. 330 มม. ค. 300 มม. ง. 360 มม. 17. หนว่ ยวดั ความเร็วตดั ของงานไสคอื ข้อใด ก. เมตร/นาที ข. คจู่ งั หวะไส/นาที ค. มิลลเิ มตร/คจู่ งั หวะไส ง. เมตร/วินาที 18. การกาหนดความเร็วตดั ในงานไสไมข่ นึ ้ อยกู่ บั องค์ประกอบในข้อใด ก. ชนิดวสั ดงุ านไส ข. ชนิดวสั ดมุ ีดไส ค. ความลกึ การปอ้ นไส ง. ขนาดของชิน้ งานไส 19. ข้อใดท่ีอาจกอ่ ให้เกิดอุบตั ิเหตรุ ้ายแรงทส่ี ดุ ในการปฏบิ ตั ิงานบนเครื่องไส ก. จบั ชิน้ งานไสไม่มน่ั คงแข็งแรง ข. จบั มีดไสสนั้ เกินไป ค. ตงั้ ระยะไสยาวกวา่ ชิน้ งาน ง. ใช้ความเร็วไสเร็วกวา่ ทคี่ านวณได้ 20. ข้อใด ไม่ใช่ การบารุงรักษาเครื่องไสเบอื ้ งต้น ก. ตรวจสภาพเคร่ืองไสกอ่ นใช้งานทกุ ครัง้ ข. ทาความสะอาดเคร่ืองไสหลงั เลกิ ปฏบิ ตั งิ าน ค. ตรวจระดบั นา้ มนั หลอ่ ลน่ื อยา่ งสม่าเสมอ ง. หยดุ เคร่ืองทกุ ครัง้ ก่อนปรับความเร็วไส
Search
Read the Text Version
- 1 - 35
Pages: