Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore EBook1

EBook1

Published by supaneeprachan, 2021-09-08 13:54:33

Description: EBook1

Search

Read the Text Version

ศูนยอ์ าชีวศึกษาทวิภาคี สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา

หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 1 การจดั การอาชีวศกึ ษาระบบทวภิ าคี กรอบแนวคิด การศึกษาระบบทวิภาคี เป็นการจัดการศึกษาเพื่อผลิตกาลังคนท่ีมีคุณภาพตรงตามความ ต้องการของผู้ประกอบการ สามารถพัฒนากาลังคนให้มีสมรรถนะเท่าทันเทคโนโลยีปัจจุบันและ เชื่อมโยงความรู้ ทักษะ ในการพัฒนาการทางานให้สอดคล้องกับเทคโนโลยีท่ีจะเปลี่ยนแปลงใน อนาคต พัฒนาคุณภาพผู้เรียนท้ังด้านทักษะ ความรู้ ความสามารถและสมรรถนะตามมาตรฐาน การเรียนรู้แต่ละระดับการศึกษา ส่งผลให้ผู้สาเร็จการศึกษาแต่ละระดับมีคุณภาพตามกรอบ คุ ณ วุ ฒิ อ า ชี ว ศึ ก ษ า แ ห่ ง ช า ติ ก า ร จั ด ก า ร อ า ชี ว ศึ ก ษ า ร ะ บ บ ท วิ ภ า คี จึ ง เ ป็ น ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า ที่ สอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สร้าง แรงจูงใจให้สถานประกอบการท่ีมีศักยภาพเข้าร่วมจัดการอาชีวศึกษาระบบ ทวิภาคี ส่งเสริมการ ทางานร่วมกันอย่างใกล้ชิดระหว่างสถานศึกษาและผู้ประกอบการ เกิดความร่วมมือในการผลิต และพัฒนากาลังคนอย่างเป็นระบบ ต้ังแต่การพัฒนาหลักสูตร กระบวนการจัดการเรียนการสอน การพัฒนาผู้สอนทั้งในสถานศึกษาและสถานประกอบการ รวมถึงการสร้างแรงจูงใจใฝ่เรียนรู้ของ ผู้เรียน พัฒนากาลังคนให้มีทักษะที่จาเป็นในศตวรรษที่ 21 ตอบโจทย์ความตอ้ งการกาลงั คนของ ผู้ประกอบการทุกภาคส่วน รองรับการพัฒนาประเทศสู่โมเดลประเทศไทย 4.0 เป็นการกาหนด สมรรถนะของผู้สาเร็จการศึกษาจากความต้องการของสถานประกอบการอย่างแทจ้ ริง จดุ ประสงค์ท่ัวไป เพ่ือให้ครูฝึกในสถานประกอบการมคี วามรู้และเขา้ ใจการจดั การศกึ ษาระบบทวิภาคี จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม 1. อธิบายหลักการจดั การอาชีวศึกษาระบบทวภิ าคไี ด้ 2. บอกบทบาทหน้าทข่ี องครฝู ึกในสถานประกอบการได้ 3. บอกวธิ กี ารนาจรรยาบรรณวิชาชีพครูไปประยุกต์ใช้ในการจัดการอาชวี ศึกษาระบบทวิภาคีได้ สาระการเรยี นรู้ 1. การจดั การอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี 2. บทบาทหนา้ ที่ของครฝู ึกในสถานประกอบการ 3. จรรยาบรรณวชิ าชีพครไู ปประยุกต์ใช้ในการจดั การอาชวี ศึกษาระบบทวิภาคี 4. เทคนิคการประสานงานและติดต่อสอ่ื สารในการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวภิ าคี

ใบเนื้อหาที่ 1.1 การจัดการอาชวี ศกึ ษาระบบทวภิ าคี 1. ความสาคญั 1.1) พระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ มาตรา 20 กาหนดให้การอาชีวศึกษา การฝึกอบรมวิชาชีพ ให้จัดในสถานศึกษาของรัฐ สถานศึกษาของเอกชน สถานประกอบการ หรือโดยความร่วมมือระหว่างสถานศึกษากับสถาน ประกอบการ ทั้งนี้ใหเ้ ปน็ ไปตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการอาชวี ศึกษาและกฎหมายท่ีเก่ยี วข้อง 1.2) พระราชบญั ญัติการอาชีวศกึ ษา สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ดาเนินการจัดการศึกษาด้านอาชีวศึกษาตาม พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และพระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2551 ซง่ึ มรี ายละเอยี ด ดังนี้ มาตรา 6 การจัดการการอาชีวศึกษาและการฝึกอบรมวิชาชีพต้องเป็นการจัดการศึกษา ในด้านวิชาชีพที่สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และแผนการศึกษา แห่งชาติ เพื่อผลิตและพัฒนากาลังคนในด้านวิชาชีพ ระดับฝีมือ ระดับเทคนิค และระดับ เทคโนโลยี รวมทง้ั เป็นการยกระดบั การศึกษาวชิ าชีพให้สงู ขน้ึ เพื่อใหส้ อดคลอ้ งกับความต้องการ ของตลาดแรงงาน โดยนาความรู้ในทางทฤษฎี อันเป็นสากลและภูมิปัญญาไทย มาพัฒนาผู้รับ การศึกษาให้มีความรู้ความสามารถในทางปฏิบัติและมีสมรรถนะจนสามารถนาไปใช้ประกอบ อาชีพในลกั ษณะ ผูป้ ฏิบัตกิ ารหรอื ผู้ประกอบอาชพี โดยอสิ ระได้ มาตรา 8 การจดั การอาชวี ศกึ ษาและการฝกึ อบรมวชิ าชีพใหจ้ ดั ได้โดยรปู แบบดงั ต่อไปน้ี  การศึกษาในระบบ เป็นการจัดการศึกษาวิชาชีพท่ีเน้นการศึกษาในสถานศึกษา อาชีวศกึ ษาหรือสถาบันเป็นหลัก โดยมกี ารกาหนดจุดมุ่งหมาย วธิ กี ารศกึ ษา หลกั สตู ร ระยะเวลา การวดั และการประเมินผล ทเี่ ปน็ เงือ่ นไขของการสาเร็จการศกึ ษาท่แี นน่ อน  การศึกษานอกระบบ เป็นการจัดการศึกษาวิชาชีพท่ีมีความยืดหยุ่นในการกาหนด จุดมุ่งหมายรูปแบบ วิธีการศึกษา ระยะเวลา การวัดและการประเมินผลท่ีเป็นเง่ือนไขของการ สาเร็จการศึกษา โดยเนื้อหาและหลักสูตรจะต้องมีความเหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพปัญหา และความต้องการของบุคคลแตล่ ะกลุ่ม  การศึกษาระบบทวิภาคี เป็นการจัดการศึกษาวิชาชีพที่เกิดจากข้อตกลงระหว่าง สถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบัน กับสถานประกอบการ รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานของรัฐใน เรอื่ งการจัดหลกั สูตรการเรียนการสอน การวดั และการประเมินผล โดยผเู้ รียนใช้เวลาส่วนหน่ึงใน สถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบันและเรียนภาคปฏิบัติในสถานประกอบการ รัฐวิสาหกิจ หรือ

หน่วยงานของรัฐเพ่ือประโยชน์ในการผลิตและพัฒนากาลังคน สถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือ สถาบันสามารถจัดการศึกษาตามวรรคหนึ่งในหลายรูปแบบรวมกันก็ได้ ท้ังน้ี สถานศึกษา อาชีวศกึ ษาหรือสถาบันน้ัน ต้องมุ่งเน้นการจัดการศึกษาระบบทวภิ าคเี ป็นสาคัญ มาตรา 9 การจัดการอาชีวศึกษาและการฝึกอบรมวิชาชีพตามมาตรา 6 มาตรา 7 และ มาตรา 8 ใหจ้ ดั ตามหลกั สตู รที่คณะกรรมการการอาชีวศกึ ษากาหนด ดังตอ่ ไปนี้  ประกาศนยี บตั รวิชาชพี  ประกาศนยี บัตรวชิ าชีพช้นั สงู  ปริญญาตรสี ายเทคโนโลยหี รือสายปฏบิ ตั กิ าร คณะกรรมการการอาชีวศึกษาอาจกาหนดหลักสูตรท่ีจัดข้ึนเพื่อความรู้หรือทักษะในการ ประกอบอาชีพหรอื การศกึ ษาต่อ ซ่ึงจัดขน้ึ เป็นโครงการหรือสาหรบั กลุม่ เป้าหมายเฉพาะได้ มาตรา 51 ในการจัดการศึกษาระบบทวิภาคีที่เป็นความร่วมมือระหว่างสถานศึกษา อาชีวศึกษาหรือ ส ถ า บัน แ ล ะ ส ถ า น ป ร ะ ก อ บ ก า ร ใ ห้ เ ป็น ไ ป ต า ม ข้ อ ต ก ล ง ร ะ ห ว่า ง ส ถ า น ศึ ก ษ า อาชีวศึกษาหรือสถาบันและสถานประกอบการ มาตรา 54 สถานประกอบการสมาคมวิชาชีพ หรือองค์กรอื่นที่ให้ความร่วมมือ ในการ จดั การอาชวี ศกึ ษาและการฝกึ อบรมวิชาชพี อาจได้รับสิทธิและประโยชนด์ ังตอ่ ไปน้ี  การสนับสนุนด้านวชิ าการและทรัพยากรตามสมควรแก่กรณี  การเชิดชูเกียรติแก่สถานประกอบการ สมาคมวิชาชีพ หรือองค์กรอ่ืนที่ให้ความ ร่วมมือในการจดั การอาชวี ศึกษาและการฝกึ อบรมวชิ าชพี มาตรา 55 กาหนดคณุ สมบัติของครูฝึกในสถานประกอบไวด้ ังน้ี 1) เป็นผู้สาเร็จการศึกษาระดับอุดมศึกษา และผ่านการศึกษาหรือฝึกอบรมวิชา การศกึ ษาดา้ นอาชพี 2) เป็นผู้ชานาญการด้านอาชีพ โดยสาเร็จการศึกษาวิชาชีพไม่ต่ากว่าระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือผ่านการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน หรือมาตรฐานอื่น ต ามที่ คณะกรรมการการอาชวี ศึกษากาหนด 3) เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านอาชีพเฉพาะสาขา ซ่ึงสาเร็จการศึกษาวิชาชีพไม่ต่ากว่าระดับ ประกาบัตรวิชาชพี ที่มีประสบการณ์ในสาขาอาชีพนัน้ ไม่น้อยกว่า 5 ปี หรือสาเร็จการศึกษาวิชาชีพ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง ที่มีประสบการณ์ในสาขาอาชีพน้ัน ไม่น้อยกว่า 3 ปี หรือผู้ผ่าน การทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ และมีประสบการณ์ในการทางานในสาขาอาชีพน้ัน ไม่ นอ้ ยกว่า 5 ปี 4) เป็นผู้มีประสบการณ์ และประสบความสาเร็จในอาชีพเฉพาะสาขามีผลงานที่เป็น ทีย่ อมรบั ในสงั คม และท้องถิ่น และสามารถถ่ายทอดความรไู้ ด้

หลักเกณฑ์ในการแต่งต้ังการทดสอบการฝกึ อบรม และการออกใบรับรองการเป็น ครู ฝึกในสถานประกอบการ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑท์ ีค่ ณะกรรมการการอาชีวศกึ ษากาหนด 1.3) หลักสตู รฐานสมรรถนะ (Competency Base) การจัดการอาชวี ศกึ ษา โดยสานกั งานคณะกรรมการอาชวี ศึกษา จดั การศกึ ษาตาม กรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ิอาชวี ศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2556 (ตามประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร ลงวนั ท่ี 14 มกราคม 2556) เปน็ แนวทางในการพฒั นาหรือปรบั ปรุงหลักสูตรการจดั การเรียนการสอนและพัฒนา คุณภาพการศึกษาใหส้ ามารถผลิตผู้สาเร็จการศึกษาท่มี ีคุณภาพและเพ่อื ประโยชนต์ ่อ การรับรอง มาตรฐานคุณวุฒผิ ูส้ าเร็จการศกึ ษา ซ่ึงแบง่ ระดับคุณวุฒิการศกึ ษาเป็น ดังนี้ 1) ระดับประกาศนยี บัตรวชิ าชีพ (ปวช.) 2) ระดับประกาศนียบัตรวิชาชพี ชน้ั สงู (ปวส.) 3) ระดบั ปริญญาตรีสายเทคโนโลยหี รอื สายปฏิบัตกิ าร สภาพผสู้ าเรจ็ การศึกษาทุกระดบั คุณวุฒิ ประเภทวิชาและสาขาวิชาต้องครอบคลุมอยา่ งนอ้ ย 3 ดา้ น คอื 1. ด้านคณุ ลักษณะทพี่ ึงประสงค์ ไดแ้ ก่ คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวชิ าชีพ พฤตกิ รรม ลกั ษณะนิสยั และทักษะทางปัญญา 2. ด้านสมรรถนะหลักและสมรรถนะท่ัวไป ได้แก่ ความรู้และทักษะการสื่อสารการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ การพัฒนาการเรียนรู้และการปฏิบัติงาน การทางานร่วมกับผู้อ่ืน การใช้ กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ การประยุกต์ใชต้ ัวเลข การจดั การและการพัฒนางาน 3. ด้านสมรรถนะวชิ าชีพ ไดแ้ ก่ ความสามารถในการประยกุ ต์ใชค้ วามรูแ้ ละทักษะในสาขา วิชาชพี สกู่ ารปฏบิ ัติจริง รวมท้ังประยุกต์สอู่ าชีพโดยมชี ่ือคุณวฒุ ิอาชีวศกึ ษา โครงสรา้ งหลกั สตู ร จานวนหนว่ ยกติ ระยะเวลาในการศึกษา ต้องเป็นไปตามมาตรฐานคุณวฒุ ิอาชีวศกึ ษาแต่ละระดบั ดังนั้น ในการเรียน วชิ าชพี สาขาวชิ าตา่ งๆ จงึ เน้นการใชห้ ลักสูตรฐานสมรรถนะ ในการเรยี นการสอน และการฝึกอาชีพ ในสถานประกอบการ เนน้ การฝกึ ปฏบิ ตั ใิ นสถานการณ์จรงิ สมรรถนะ (Competence) หมายถึง ความสามารถในการปฏิบัติ (Performance) ภายใต้เง่ือนไข (Condition) ใช้เครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ที่ระบุไว้ ให้ได้มาตรฐาน (Standard) ตามเกณฑ์ การปฏิบัติ (Performance Criteria) และมหี ลกั ฐานการปฏบิ ตั ิ (Evidence) ให้ประเมนิ ผลและตรวจสอบได้ หลกั สตู รฐานสมรรถนะ จงึ ยดึ ความสามารถของผู้เรยี นเป็นหลักการออกแบบหลักสูตร ตามแนวคิด นจ้ี ะมกี ารกาหนดเกณฑ์ความสามารถท่ีผู้เรียนพึงปฏิบัติได้ หลักสตู รที่เรียกว่า หลักสูตรเกณฑ์ความสามารถ จัดทาขึ้นเพ่ือความแน่ใจว่าผู้ท่ีจบการศึกษาระดับหนึ่งๆ จะมีทักษะและความสามารถในด้านต่างๆ ตามที่ ต้องการ เป็นหลักสูตรท่ีไม่ได้มุ่งเรื่องความรู้หรือเน้ือหาวิชาที่อาจมีความเปลี่ยนแปลงได้ตามกาลเวลา แต่จะ ม่งุ พฒั นาในดา้ นทักษะ ความสามารถ เจตคติและค่านยิ ม อนั จะมีประโยชน์ต่อชวี ติ ประจาวันและอนาคตของ

ผูเ้ รยี นในอนาคต หลักสตู รนี้มโี ครงสร้างแสดงให้เหน็ ถึงเกณฑ์ความสามารถในด้านต่างๆ ทีต่ อ้ งการให้ผู้เรียน ปฏิบัติในแต่ละระดับการศึกษา และในแต่ละระดับช้ัน ทักษะและความสามารถจะถูกกาหนดให้มีความ ตอ่ เนอ่ื งกัน โดยใชท้ กั ษะและความสามารถท่ีมใี นแตล่ ะระดับเป็นฐานสาหรับเพิ่มพูนทักษะและความสามารถ ในระดบั ต่อไป (ศ.ดร.ดารง บวั ศรี: 2535) คานยิ ามศพั ท์ การจัดการอาชวี ศกึ ษาระบบทวิภาคี หมายถงึ การจดั การศึกษาวิชาชพี ท่ีเกดิ จากข้อตกลง ระหว่างสถานศึกษา กบั สถานประกอบการในเร่อื งการจัดหลกั สตู ร การจัดการเรยี นการสอน การ จดั การฝึกอาชพี การวัดและการประเมนิ ผล สถานศึกษา หมายถึง วทิ ยาลัยและสว่ นราชการของสถาบนั การอาชีวศึกษาสังกัดสานักงานคณะกรรมการ การอาชีวศกึ ษา สถานศกึ ษาของรัฐและเอกชนท่จี ดั การอาชีวศกึ ษา สถานประกอบการ หมายถงึ บรษิ ัท ห้างหุน้ ส่วน รา้ นค้า ทั้งในประเทศและตา่ งประเทศ ที่รว่ มมือ กบั สถานศึกษา หรอื สถาบันในการจดั อาชีวศกึ ษาระบบทวภิ าคี บันทึกข้อตกลงความร่วมมือ หรือ MOU มาจากคาว่า Memorandum of Understanding หมายถึง หนังสือซึ่งฝ่ายหนึ่งแสดงความสมัครใจจะปฏิบัติอย่างหนึ่งอย่างใดและตามเง่ือนไขท่ีปรากฏใน หนังสือนั้นกับอีกฝ่ายหน่ึงโดยท่ีหนังสือนี้ไม่ถือว่าเป็นสัญญาผูกมัด แต่แสดงความต้องการอันแน่วแน่ของผู้ ลงชอ่ื ว่า จะปฏบิ ัติดงั ที่ไดร้ ะบุไว้ การฝึกอาชีพ หมายถงึ การฝึกภาคปฏบิ ตั ิตามแผนการฝกึ อาชพี ทอี่ ยใู่ นสถานประกอบการ แผนการฝึกอาชีพ หมายถึง เอกสาร ใบงานทีค่ รฝู กึ ในสถานประกอบการร่วมกบั ครู คณาจารยใ์ น สถานศึกษาหรือสถาบัน กาหนดข้ันตอนการพัฒนาผู้ฝึกอาชีพ (ผู้เรียนในระบบทวิภาคี) ไว้ล่วงหน้าตาม หลกั การเรยี นรูแ้ ละการฝึกอาชีพ ผู้ควบคุมการฝึก หมายถึง ผู้ที่สถานประกอบการมอบหมายให้ทาหน้าที่ประสานงานกับ สถานศึกษาในการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี และรับผิดชอบดูแลการฝึกอาชีพของ ผู้เรียนในสถานประกอบการ ครูฝึก หมายถึง บุคลากรท่ีอยู่ในสถานประกอบการที่มีความเชี่ยวชาญในวิชาชีพน้ันๆทาหน้าที่ สอนและฝึกอาชีพใหก้ บั ผเู้ รยี นในสถานประกอบการ ครูนิเทศก์ หมายถึง ครูที่สถานศึกษามอบหมายให้ทาหน้าท่ีนิเทศ ให้คาปรึกษาแนะนาแก่ผู้เรยี น ท่ฝี กึ อาชีพและฝกึ ประสบการณท์ ักษะวิชาชีพในสถานประกอบการ ผู้เรยี น หมายถึง นักเรียน นักศึกษาที่ฝึกอาชีพในระบบทวิภาคี 2. การจัดการอาชีวศกึ ษาระบบทวภิ าคี จากพระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2551 มาตรา 8 ในการจัดการศึกษาระบบทวิภาคี เป็นการจัดการศึกษาวิชาชีพท่ีเกิดจากข้อตกลงระหว่างสถานศึกษาอาชีวศึกษา หรือสถาบันกับสถาน

ประกอบการ ในเรื่องการจัดหลักสูตรการเรียนการสอน การวัดและการประเมินผล โดยผู้เรียนใช้เวลา สว่ นหนง่ึ ในสถานศึกษาอาชวี ศึกษาหรือสถาบนั และเรียนภาคปฏิบัติ ในสถานประกอบการ โดยมีการ จัดแผนการเรียน แผนการฝึกอาชีพ การวัดผลและการประเมินผลเพ่ือมุ่งเน้นผลิตผู้สาเร็จการศึกษาใน ระดับฝีมือ ระดับเทคนิคและระดับเทคโนโลยีสายปฏิบัติการให้เป็นผู้มีความรู้ความเข้าใจทักษะ คุณธรรมจรยิ ธรรม จรรยาบรรณวิชาชพี และกจิ นสิ ัยที่เหมาะสม ปฏิบตั ิงานไดจ้ รงิ ปฏิบัตงิ านท่ีใช้เทคนิค ในการทางาน สร้างและพัฒนางาน วางแผน จัดการพัฒนาตนเองและทางานร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่างมี ความสุข ให้มีความก้าวหน้าทางวิชาการและวิชาชีพ มีสมรรถนะนาไปปฏิบัติงานหรือประกอบอาชีพ อิสระได้ตามมาตรฐานการศึกษาวิชาชีพและมาตรฐานสมรรถนะของสาขาวิชาน้ันๆ โดยสอดคล้องกับ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และแผนการศึกษาแห่งชาติ โดยมีวัตถุประสงค์ในการ ดาเนินการ ดงั นี้ 1. เพื่อจดั เตรยี มกาลังคนดา้ นอาชวี ศกึ ษาในระดับฝีมอื ระดบั เทคนิคและระดับเทคโนโลยเี ขา้ สู่ตลาดแรงงาน 2. เพ่ือผลิตกาลังคนอาชีวศึกษาในด้านคุณธรรมจริยธรรม ด้านความรู้ ด้านทักษะ ด้าน ความสามารถในการประยกุ ตใ์ ช้และความรับผิดชอบ 3. เพ่ือผลิตกาลังคนอาชีวศึกษาที่ตรงตามความต้องการของสถานประกอบการและ ตลาดแรงงานสอดคลอ้ งกบั แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ 4. เพอ่ื สร้างระบบการศึกษาวิชาชีพท่ีให้โอกาสในการศึกษาวชิ าชีพแก่เยาวชนท่สี าเร็จการศึกษา ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ 5. เพอ่ื ใหผ้ ู้เรียนอาชวี ะได้เรียนรจู้ ากการปฏิบตั ิจริง ไดร้ ับความรู้ ทักษะ และประสบการณ์การ ใชเ้ ทคโนโลยีทท่ี นั สมัย จากสถานประกอบการ 6. เพื่อลดปัญหาในเรื่องงบประมาณในการจดั การศึกษาดา้ นอาชวี ศึกษา 7. เพ่ือส่งเสริมให้บุคคลในวัยเรียนและวัยทางานพัฒนาตนเองในการประกอบอาชีพ การจ้าง งานและอาชพี อสิ ระ 8. เพอื่ ใชท้ รพั ยากรและสรา้ งพลังเครือขา่ ยทางสงั คมทม่ี สี ่วนรว่ มในการจัดการอาชีวศึกษา 9. เพอื่ ปฏิรูปการศึกษาการจัดการอาชวี ศึกษาตามพระราชบญั ญัติการศึกษาแหง่ ชาตพิ ุทธศักราช 2542 เพ่ือให้การจัดการศึกษาระบบทวิภาคีมีมาตรฐานเดียวกัน กระทรวงศึกษาธิการได้กาหนด มาตรฐานการจดั การอาชีวศึกษาระบบทวภิ าคใี ห้สอดคล้องกับกรอบคุณวฒุ ิอาชีวศกึ ษาแห่งชาติและ มาตรฐานคณุ วฒุ ิอาชีวศึกษาแตล่ ะระดับเพื่อเปน็ หลกั และแนวทางในการจดั การอาชีวศกึ ษาระบบทวิภาคี แต่ละระดับ ให้มีคุณภาพและประสิทธิภาพยิ่งขึ้นตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง มาตรฐาน การจัดอาชวี ศึกษาระบบทวิภาคี ลงวนั ที่ 17 ตลุ าคม พ.ศ. 2557 (แนบทา้ ยในภาคผนวก)

3. องค์ประกอบสาคัญในการจดั การอาชีวศึกษาระบบทวภิ าคี การจดั การศกึ ษาระบบทวภิ าคี มีองคป์ ระกอบที่สาคญั 6 ประการ ดงั นี้ 1. มีบันทึกความร่วมมือ MOU (Memorandum of Understanding) ระหว่างสานักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษา/สถาบัน/สถานศึกษากับสถานประกอบการ 2. มีสญั ญาฝึกอาชพี ระหวา่ งสถานประกอบการกับผูเ้ รียน 3. มีแผนการฝึกอาชีพในสถานประกอบการ ตลอดระยะเวลาการฝึกอาชีพท่ีกาหนดใน แผนการเรียนตลอดหลกั สูตร 4. มีการประเมินมาตรฐานการฝึกอาชีพตามข้อตกลง และตามแผนการฝึกอาชีพที่จัดทา รว่ มกนั ระหว่างสถานประกอบการและสถานศึกษาหรือสถาบนั 5. มีใบรับรองการผ่านงานของสถานประกอบการ เมื่อสิ้นสุดการฝึกอาชีพลงนามโดย สถานประกอบการ 6. มีวุฒิบัตรการศึกษาระบบทวิภาคีลงนามร่วมกัน 2 ฝ่าย คือ สถานประกอบการและ สถานศึกษา/สถาบนั

พฒั นาการของการศึกษาระบบทวภิ าคี การพัฒนาการจัดการอาชีวศึกษาโดยความร่วมมือระหว่างสถานศึกษาและสถานประกอบการได้เร่ิมต้น ดาเนนิ การต้ังแต่ พ.ศ. 2527 จนถงึ ปัจจบุ นั มีการพัฒนาการและเปล่ยี นแปลงตามบริบท 4 ระยะ ดงั นี้ ๑. โครงการโรงเรยี น-โรงงาน (Dual System) พ.ศ. 2527 – 2537 ๒. โครงการอาชวี ศกึ ษาระบบทวภิ าคี (Dual Vocational System) พ.ศ. 2538 – 2541 ๓. การฝึกงานคร่งึ หลกั สูตร พ.ศ. 2542 – 2550 ๔. การศกึ ษาระบบทวิภาคี พ.ศ. 2551 – ปัจจุบัน (Dual Vocational Education) ระยะท่ี 1 โครงการโรงเรยี น-โรงงาน (Dual System) พ.ศ. 2527 – 2537 การจัดการอาชวี ศึกษาตามโครงการโรงเรยี น-โรงงาน ในระยะที่ 1 นัน้ มีวตั ถปุ ระสงค์เพื่อฝึกช่างฝีมือท่ีมี คณุ ภาพตรงตามความตอ้ งการของสถานประกอบการ และประหยัดงบประมาณของรฐั บาล พ.ศ.2527 โดยกรมอาชีวศึกษา (ช่ือหน่วยงานในขณะน้ัน) ได้รับความช่วยเหลือทางวชิ าการจากรัฐบาล สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ได้เริ่มดาเนินการอย่างเป็นระบบ โดย บริษัท ปูนซีเมนต์ไทย จากัด ได้มอบโรงเรียน ซีเมนต์ไทยอุปถัมภ์ ให้กรมอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ จัดตั้งวิทยาลัยเทคนิคท่าหลวงซีเมนต์ไทยอนุสรณ์ เพื่อเป็นวิทยาลัยต้นแบบ ทดลองจัดอาชีวศึกษาระบบโรงเรียน – โรงงาน โดยได้รับความเห็นชอบและความ ชว่ ยเหลือทางวิชาการ จากรฐั บาลสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี พ.ศ.2532 กระทรวงศึกษาธิการได้อนุมัติให้ทดลองใช้หลักสูตรช่างชานาญงาน สาขาช่างซ่อมบารุง โรงงานอตุ สาหกรรม ภายใต้ความชว่ ยเหลอื ดา้ นการจดั ระบบและรูปแบบการฝึกหัด องค์การ จากสหพนั ธส์ าธารณรัฐ เยอรมนี GTZ (German Technical Cooperation ; Gesellschaft fur Technische Zusammenarbeit) พ.ศ. 2534 สถานศึกษาที่จัดการอาชีวศึกษาระบบโรงเรียน – โรงงานนั้นมีจานวนเพิ่มขึ้นอีก 3 แห่งคือ วิทยาลัยเทคนคิ มนี บรุ ี วิทยาลยั เทคนคิ สมุทรสงคราม และวทิ ยาลัยเทคนคิ ระยอง พ.ศ. 2535 ได้เปลี่ยนช่ือการจัดการศึกษาระบบโรงเรียน – โรงงานเป็น การจัดการศึกษาระบบทวิ ภาคี (Dual Vocational Training : DVT) เมื่อสาเร็จการศึกษาได้รับประกาศนียบัตรช่างชานาญงาน สามารถทางานให้กับสถานประกอบการได้ และส่วนมากจะได้เงินเดือนสูงกว่าผู้สาเร็จระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) แต่ถ้าจะศึกษาต่อระดับ ประกาศนยี บตั รวิชาชพี ชัน้ สงู (ปวส.) จะต้องเรยี นเพมิ่ ให้ไดค้ รบตามโครงสรา้ งหลกั สตู ร ปวช. ขณะน้ัน ระยะที่ 2 โครงการอาชวี ศกึ ษาระบบทวิภาคี (Dual Vocational System) พ.ศ. 2538 – 2541 รัฐบาลสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีให้ความช่วยเหลือ เน้นด้านการประชาสัมพันธ์สร้างความเข้าใจการ พัฒนาครู อาจารย์ ครฝู กึ ของสถานประกอบการและผู้เชี่ยวชาญ พ.ศ. 2538 กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) พุทธศักราช 2538 โดยสาระสาคัญ ในหลักสูตรได้กาหนดวิธีการจัดการเรียนการสอนแบบหลากหลายนอกเหนือจากระบบปกติ สืบเน่ืองจากการประกาศใช้พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 20 การจัดการอาชีวศึกษาและ

การฝึกอบรมวิชาชีพ ให้จัดในสถานศึกษาของรัฐ สถานศึกษาของเอกชน สถานประกอบการ หรือโดยความร่วมมือ ระหว่างสถานศึกษากับสถานประกอบการ ท้ังนี้ให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการอาชีวศึกษาและกฎหมายท่ี เกยี่ วขอ้ ง สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาดาเนินการพัฒนาหลักสูตรประกาศนียบัตร วิชาชีพ (ปวช.) พุทธศักราช 2545 (ปรับปรุง พ.ศ. 2546) และหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) พุทธศักราช 2546 เพอ่ื ให้เป็นไปตามพระราชบญั ญตั กิ ารศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2546 การจัดการศึกษาในหลักสูตร ปวช. 2545 (ปรับปรุง พ.ศ. 2546) และ ปวส. 2546 เป็นการจัด อาชีวศึกษาโดยความร่วมมือกับสถานประกอบการกาหนดให้จัดการเรียนการสอนเน้นการปฏิบัติจริงสามารถนาราย วิชาชีพไปจัดฝึกในสถานประกอบการไม่น้อยกว่า 1 ภาคเรียนเพื่อให้เกิดความรู้จริงจากการปฏิบัติงาน (On the job training) สถานศึกษาจัดแผนการเรียน โดยนารายวิชาชีพหรือบูรณาการรายวิชาชีพร่วมกับสถานประกอบการนาไป ฝึกงานในสถานประกอบการ ระยะที่ 3 การปฏิรูปการศึกษา : การปฏิรูปการอาชีวศึกษาระบบทวภิ าคีพ.ศ. 2545-2550 สืบเน่ืองจาก พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ได้มีการปฏิรูปการศึกษาครั้งสาคัญของ ประเทศ ท้ังทางด้านโครงสรา้ ง การบริหารจัดการ ครูและบุคลากรทางการศึกษา หลักสูตร และการปฏิรูปการเรียนรู้ ในส่วนของกรมอาชวี ศึกษาน้ัน ได้มีการเปล่ียนแปลงทางดา้ นการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวภิ าคี ดงั นี้ 1. การปฏิรูปหลักสูตร ในปีการศึกษา 2545 กระทรวงศึกษาธิการประกาศใช้หลักสูตรประกาศนียบัตร วิชาชีพ พ.ศ.2545 และในปีการศึกษา 2546 ได้ประกาศใช้หลักสูตร พ.ศ.2545 (ปรับปรุง 2546) และประกาศใช้ หลักสตู รประกาศนียบัตรวชิ าชีพชั้นสงู พ.ศ.2546 ซึ่งหลักสูตรดังกล่าวได้มีการเปลี่ยนแปลงระยะเวลาการฝึกงาน โดย มสี าระสาคญั ทีเ่ กยี่ วข้องกับการจัดการศึกษาระบบทวิภาคี ดังนี้ 1.1 ด้านหลักการของหลักสูตร หลักสูตรใหม่น้ีเป็นหลักสูตรที่เน้นความชานาญเฉพาะด้านด้วยการ ปฏิบัติจริง เปิดโอกาสให้เลือกเรียนได้หลากหลายวิธีอย่างกว้างขวาง สามารถเลือกวิธีการเรียนตามศักยภาพและ โอกาสของผู้เรียน ถ่ายโอนผลการเรียน สะสมผลการเรียน เทียบความรู้และประสบการณ์จากแหล่งวิทยากร สถาน ประกอบการและสถานประกอบอาชีพอิสระได้ ที่สาคัญคือเป็นหลักสูตรท่ีสนับสนุนการประสานความร่วมมือในการ จดั การศึกษาร่วมกันระหว่างหน่วยงานและองค์กรที่เก่ยี วข้องทงั้ ภาครัฐและเอกชน 1.2 ด้านวิธีการจัดการเรียนการสอน จากแนวทางของการปฏิรูปการอาชีวศึกษา โดยมีปรัชญาว่า ผู้สาเรจ็ การศกึ ษาจะตอ้ งเป็นผ้ทู ่ี รจู้ รงิ ทาได้ เขา้ ใจชวี ติ แนวทางการปฏริ ูปหลักสูตรและการ จดั การเรียนการสอนจึงเน้น 4 จรงิ คือ เรียนรจู้ ากสถานทจี่ ริง เรยี นรจู้ ากผปู้ ฏิบตั จิ ริง เรยี นร้ใู นสถานที่จรงิ และเรยี นรู้ ในวัฒนธรรมจริง การจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรใหม่จึงให้ความสาคัญกับการเรียนร่วมกับสถานประกอบการ เน้นความร่วมมือกับสถานประกอบการ เน้นการปฏิบัติจริง ให้สามารถนารายวิชาชีพและรายวิชาในหมวดไปจัดการ เรยี นและการฝึกงานในสถานประกอบการ เพอื่ ให้เกดิ การเรยี นรู้จากการปฏบิ ัติงาน (On the job training)โดยจัดได้ 2 รปู แบบ คอื

1.การฝึกงาน ให้สถานศึกษานารายวิชาในหมวดวิชาชีพไปจัดฝึกในสถานประกอบการ ไม่น้อยกว่า 1 ภาคเรยี น 2.ทวิภาคี หรือฝึกงานคร่ึงหลักสูตร หลักสูตรใหม่นี้ให้สถานศึกษานารายวิชาในหมวดวิชาชพี ไปจัดฝึกใน สถานประกอบการ ไม่น้อยกว่า 3 ภาคเรียน ในระดับ ปวช. และ 2 ภาคเรียนในระดบั ปวส. ระยะท่ี 4 การศกึ ษาระบบทวิภาคี พ.ศ. 2551 – ปัจจุบนั (Dual Vocational Education : DVE) จากพระราชบัญญัตกิ ารอาชวี ศึกษา พ.ศ. 2551 มาตรา 8 การจัดการอาชีวศึกษาและการฝกึ อบรม วชิ าชีพใหจ้ ัดได้ 3 รปู แบบคือ 1.การศึกษาในระบบ 2.การศกึ ษานอกระบบ 3.การศึกษาระบบทวิภาคี เป็นการจัดการศึกษาวิชาชีพท่ีเกิดจากข้อตกลงระหว่างสถานศึกษา หรือ สถาบันกับสถานประกอบการ รัฐวิสาหกิจหรือหน่วยงานของรัฐในเรื่องการจัดหลกั สูตร การเรียนการสอนการวดั และ ประเมินผล โดยผู้เรียนใช้เวลาส่วนหน่ึงในสถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบันและเรียนภาคปฏิบัติในสถาน ประกอบการ รฐั วิสาหกจิ หรือหนว่ ยงานของรฐั เพื่อประโยชน์ในการผลิตและพัฒนากาลังคนสามารถจัดการศึกษาได้หลายรูปแบบรวมกันทั้งน้ีต้อง ม่งุ เน้นการจดั การศึกษาระบบทวภิ าคเี ปน็ สาคัญโดยได้ดาเนินการพัฒนาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) พุทธศักราช 2562 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) พุทธศักราช 2563 และหลักสูตรปริญญาตรี สายเทคโนโลยีหรอื สายปฏบิ ตั กิ าร เมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563 สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ได้จัดตั้งศูนย์ อาชีวศึกษาทวิภาคีขนึ้ เป็นหน่วยงานภายใน ทาหนา้ ทส่ี ง่ เสรมิ สนับสนนุ การจดั อาชีวศึกษาระบบทวิภาคีเชื่อมโยงเพ่ือ ผลักดันนโยบายรัฐบาลสู่สถานศึกษาในสังกัด ประสานความร่วมมือภาคีเครือข่ายในการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิ ภาคี โดยจัดต้ังคณะอนุกรรมการการอาชีวศึกษาด้านความร่วมมือและการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีข้ึน จาก การดาเนินการที่ผ่านมา ถือว่าประสบความสาเร็จในระดับหนึ่ง จากตัวช้ีวัดจานวนผู้เรียนระบบทวิภาคีและสถาน ประกอบการมจี านวนเพ่ิมมากข้ึนอย่างตอ่ เนื่อง จากความสาคัญดังกล่าวใน ปี พ.ศ.2563 กระทรวงศึกษาธิการได้มีประกาศเรื่อง มาตรฐานการจัด อาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ลงวันท่ี 22 มิถุนายน พ.ศ. 2563 โดยได้ลงประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มท่ี 137 ตอน พิเศษ 191 ง ราชกิจจานุเบกษา 20 สิงหาคม 2563 ให้สถานศึกษาและสถานประกอบการท่ีร่วมจัดการอาชีวศึกษา ระบบทวภิ าคี ใช้เป็นหลกั และแนวทางในการจดั การอาชวี ศึกษาระบบทวิภาคใี ห้มคี ุณภาพและประสทิ ธิภาพยิ่งข้ึน

ปัจจยั แห่งความสาเร็จ ในการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวภิ าคี มีองคป์ ระกอบตา่ งๆ ดังตอ่ ไปนี้ 1. นโยบาย ยุทธศาสตร์ของแผนการศึกษาแห่งชาติทีส่ อดคล้องกับยุทธศาสตรช์ าติระยะ 20 ปี ภายใต้วิสัยทศั นท์ ีต่ อ้ งการ ให้คนไทยทกุ คนได้รับการศึกษาและเรยี นรตู้ ลอดชวี ิตอย่างมีคณุ ภาพ ดารงชีวิตอย่างเป็นสขุ สอดคลอ้ งกับหลกั ปรชั ญา ของเศรษฐกิจพอเพียงและการเปล่ียนแปลงของโลกศตวรรษที่ 21 โดยมีวัตถุประสงค์ในการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนา ระบบและกระบวนการจัดการศึกษาท่ีมีคุณภาพและประสิทธิภาพ เพื่อให้สามารถพัฒนาคนไทยให้เป็นพลเมืองดี มี คุณลักษณะ ทักษะ และสมรรถนะที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานและการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ของประเทศ สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาเปน็ หน่วยงานทม่ี หี นา้ ท่ผี ลิตและพฒั นากาลงั คนด้านอาชวี ศึกษา ให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ดังกล่าวท้ังด้านปริมาณและด้านคุณภาพ จึงได้ดาเนินการขยายยกระดับการจัดการ อาชวี ศกึ ษาระบบทวภิ าคี สร้างแรงจูงใจใหส้ ถานประกอบการร่วมมอื ด้วยมาตรการตา่ ง ๆ เช่น สิทธปิ ระโยชนท์ างภาษี ยกย่องเชิดชูเกียรติ จัดทาประกาศ ระเบียบ กฎหมาย ข้อกาหนดต่าง ๆ เพื่อเชื่อมโยงกระทรวงและหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องกับการจัดการอาชวี ศึกษาระบบทวภิ าคี เพื่อให้การจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีของสถานศึกษาในสงั กัด สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษาบรรลุตามวัตถุประสงคอ์ ย่างมีคุณภาพ 2. สถานศึกษา/ครูผู้สอนและบุคลากรทเ่ี ก่ยี วข้อง สถานศกึ ษาต้องจัดทาหลักสูตรท่ีสอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน การพัฒนาหลกั สตู รตอ้ งอยู่ บนฐานความต้องการของสถานประกอบการ และความต้องการของประเทศ เนอ้ื หาหลักสูตร และกระบวนการเรียนรู้ ต้องเน้นฐานสมรรถนะ (Competency Based Curriculum) เน้นภาคปฏิบัติเพ่ือให้ผเู้ รียนมีความรู้ทางทฤษฎี และมี ทักษะในทางปฏิบัติ สามารถปฏิบัติงานได้ มีความยืดหยุ่นเปิดโอกาสให้ผู้สนใจสามารถเรียนรู้ได้อย่างต่อเน่ืองตลอด ชวี ิต สถานศึกษามีการสนับสนุนทรัพยากรมีการส่งเสริม สนับสนุน ให้ครูผู้สอนและบุคลากรที่เก่ียวข้องใน สาขาวิชาชีพ ได้รับการพัฒนาให้มีคุณภาพ เพิ่มสมรรถนะครูและสมรรถนะด้านวิชาชีพ แลกเปล่ียนเรียนรู้วิทยาการ เทคโนโลยีท่ีทันสมัยจากสถานประกอบการนามาประยุกต์ใช้พัฒนารูปแบบการเรียนการสอนให้ทันต่อสภาพการณ์ท่ี เปล่ียนแปลงในปัจจุบันและต้องมีปริมาณเพียงพอสาหรับผู้เรียน และพัฒนาระบบการบริหารจัดการแบบเครือข่าย การประสานงานร่วมกับสถานประกอบการให้เป็นแหล่งเรียนรู้ที่ทันสมัยสร้างนวัตกรรมและงานวิจัยที่เป็นประโยชน์ ตอ่ การพฒั นาประเทศอยา่ งจรงิ จงั และต่อเน่ือง สถานศึกษาสนับสนุนด้านสื่อการศึกษาให้มีความหลากหลายและพอเพียงสาหรับการให้ผู้เรียนสาม ารถ เรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เปิดโอกาสให้ผู้สนใจสามารถเรียนรู้ได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต ใช้เทคโนโลยีสาระสนเทศ และการสื่อสารสร้างโอกาสทางการศึกษา ลดข้อจากัดด้านเวลา สถานท่ี และค่าใช้จ่ายในการศึกษา โดยใช้ e-book, e-learning, การศึกษาทางไกล (distance learning) ฯลฯ สง่ เสรมิ ให้สถานประกอบการทุกภาคส่วนเปน็ แหลง่ เรียนรู้ ดา้ นอาชพี

3.สถานประกอบการ สถานประกอบการต้องมีความรู้ ความเข้าใจในการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี มีส่วนร่วมในการ คัดเลือกผู้เรียนระบบทวิภาคี ตามสมรรถนะที่สถานประกอบการต้องการ ส่งเสริม สนับสนุน ครูฝึ กในสถาน ประกอบการ สนับสนุนทรัพยากรการจัดการศึกษา โดยร่วมมือให้สถานศึกษาพัฒนาองค์ความรู้เพื่อถ่ายทอด เทคโนโลยีใหม่ๆ ให้แก่ผู้เรียน จัดสวัสดิการท่ีจาเป็น รวมท้ังจัดสิ่งแวดล้อมท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน การจัดการ ศึกษาระบบทวิภาคีเป็นความร่วมมือระหว่างสถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบันกับสถานประกอบการ ต้องเป็นไป ตามข้อตกลงท่ีท้ังสองฝ่ายลงนามในบันทึกความร่วมมือ ท้ังสองฝ่ายแสดงความสมัครใจต้องปฏิบัติตามเง่ือนไขที่ ปรากฏในหนังสือฉบับนั้น โดยที่หนังสือนี้ไม่ถือว่าเป็นสัญญาผูกมัด โดยสถานประกอบการมีการเตรียมความพร้อม ดา้ นตา่ งๆ ดงั ตอ่ ไปน้ี 1. เป็นผปู้ ระกอบการและประกอบกจิ การทด่ี าเนินการฝึกอาชีพได้ 2. มีความพร้อมในการฝึกอาชพี ตามสาขาวชิ าน้ัน 3. สามารถจัดให้มีครูฝึกที่มีคุณสมบัติตามกฎหมายว่าด้วยการอาชีวศึกษาทาหน้าท่ีสอนฝึกอบรมผู้เรียนใน สถานประกอบการการฝึกอาชีพระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ และประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ต้องมีครูฝึกหนึ่งคน ต่อผเู้ รียนไมเ่ กนิ สิบคน การฝึกอาชีพระดบั ปริญญาตรีตอ้ งมีครูฝึกหน่งึ คนต่อผู้เรียนไมเ่ กนิ แปดคน 4. สามารถจัดให้มีครูควบคุมการฝึกทาหน้าท่ีประสานงานกับสถานศึกษาในการจัดฝึกอาชีพและรับผิดชอบ ดแู ลการฝึกอาชพี ของผู้เรยี นในสถานประกอบการ 5. สามารถจดั สิง่ แวดล้อมที่เอ้อื อานวยต่อการฝกึ อาชีพได้ 6. สามารถจัดฝกึ อาชีพไดต้ ลอดระยะเวลาสามปี หรอื จนจบหลักสตู รประกาศนยี บัตรวชิ าชพี 7. สามารถจัดส่งบคุ ลากรเขา้ ร่วมประชมุ สัมมนากับสถานศกึ ษาได้ 8. สามารถจัดสวสั ดกิ าร ตลอดจนมาตรการเกยี่ วกบั สวสั ดิภาพให้แก่ผเู้ รยี นทเี่ ข้ารับการฝกึ อาชีพได้ ในการเลือกสถานประกอบการเข้าร่วมจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี สถานศึกษาจะต้องวิเคราะห์การ ประกอบกิจการความพร้อมของสถานประกอบการ และความพร้อมของสถานศึกษาก่อนกาหนดสาขาวิชาชีพท่ีจะ รว่ มกันฝกึ จะต้องทาความเข้าใจรว่ มกนั ในหลกั การอาชวี ศกึ ษาระบบทวภิ าคีและหน้าท่คี วามรบั ผดิ ชอบของแตล่ ะฝ่าย 4. ผู้เรียน สถานศึกษาและสถานประกอบการ ร่วมกันประชาสัมพันธ์ แนะแนวให้ความรู้ความเข้าใจกับผู้เรียนที่ ศึกษาระบบทวิภาคี และคัดเลือกผู้เรียนตามความต้องการของสถานประกอบการ พัฒนาผู้เรียนทง้ั ความรู้ ทักษะและ เจตคติท่ีดี ต่อวิชาชีพ ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ มีสมรรถนะวิชาชีพพอเพียงสาหรับการ ปฏิบัติงานและให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สอดคล้องตามกรอบคุณวุฒิอาชีวศึกษาและกรอบคุณวุฒวิ ิชาชีพแตล่ ะ ระดับ จัดการเรียนการสอน อาชีวศึกษาระบบทวิภาคี โดยยึดตามประกาศคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เร่ือง มาตรฐานการจดั การอาชีวศึกษาระบบทวภิ าคี พ.ศ. 2563 เป็นสาคัญ

5. ผปู้ กครอง ผู้ปกครองควรมีความรู้ ความเข้าใจ มีเจตคติต่อการศึกษาอาชีวศึกษาเป็นเชิงบวก การศึกษาสายอาชีพ ไม่ใช่เส้นทางการศึกษาสาหรับนักเรียนที่เรียนอ่อนหรือฐานะครอบครัวไม่ดี นอกจากนี้ยังส่งเสริม สนับสนุนผู้เรียน ระบบทวภิ าคี ใหค้ วามร่วมมือกบั สถานศึกษาและสถานประกอบการ ให้ความเชื่อมนั่ ในการจดั การเรียนการสอน การ ฝกึ อาชพี ประโยชน์ทีไ่ ดร้ บั และการมีงานทาหลังผเู้ รียนสาเร็จการศึกษา ประโยชน์จากการจดั การอาชีวศกึ ษาระบบทวิภาคี การจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีเป็นการจัดการศึกษาที่ให้ประโยชน์กับผู้เรียน ผู้ปกครอง สถานศึกษาและ สถานประกอบการ ดงั นี้ 1.ประโยชนท์ ี่ผู้เรียนได้รบั จากการจดั การอาชีวศกึ ษาระบบทวภิ าคี ผู้เรียนอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีที่เรียนและฝึกอาชีพในสาขางานที่สถานประกอบ การร่วมมือกับสถานศึกษา และ มีคุณสมบัติอื่นๆ ตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการและตามที่สถานประกอบการต้องการ ผู้เรียนอาชีวะศึกษา ระบบทวิภาคี จะได้รบั ประโยชน์ ดังนี้ 1. นาความรู้ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติท่ีเรียนในสถานศึกษา ไปประยุกต์ใช้ในการฝึกอาชีพในสถาน ประกอบการไดส้ ง่ ผลใหม้ ีสมรรถนะในอาชพี กอ่ นสาเร็จการศึกษา 2. มที ักษะในการปฏิบัติงานวิชาชีพทต่ี รงกบั ความต้องการของสถานประกอบการจากการฝึกอาชีพจรงิ 3. ไดร้ บั ค่าตอบแทนและสวสั ดกิ ารอน่ื ๆ ตามสัญญาการฝกึ อาชีพ 4. ได้รับสิทธิประโยชน์ในระหวา่ งการฝึกอาชพี จากกฎหมายท่ีเก่ียวข้องกับการส่งเสรมิ การฝกึ อาชพี 5. ได้รับโอกาสในการเข้าทางานในสถานประกอบการทฝี่ ึกอาชีพเม่ือสาเร็จการศึกษา 6. ได้รับใบรับรองการฝึกงานจากสถานประกอบการซ่ึงมีประโยชน์ในการใช้ประกอบการสมัครงาน เม่ือสาเร็จการศึกษา 7. ได้รับการปลูกฝังลักษณะนิสัยการทางานท่ีดีในทุกด้าน เช่น ความรับผิดชอบ ความตรงต่อเวลา ความอดทน บุคลิกภาพทดี่ ีเหมาะกบั งานทท่ี า ความคดิ รเิ ร่มิ สร้างสรรค์ การแกป้ ัญหาเฉพาะหนา้ 2. ประโยชนท์ ่ีสถานประกอบการได้รับจากการจัดการอาชวี ศกึ ษาระบบทวภิ าคี พระราชบัญญัติอาชีวศึกษา พ.ศ. 2551 มาตรา 51 มาตรา 52 สถานประกอบการใดท่ีประสงค์ จะดาเนินการจัดการอาชีวศึกษาและการฝึกอบรมวิชาชีพตามพระราชบัญญัติน้ีให้ย่ืนคาขอต่อเลขาธิการ คณะกรรมการการอาชวี ศึกษาเพื่อให้ได้รับการรับรองประโยชน์ตามกฎหมาย ในการรว่ มมือจัดการอาชีวศึกษาระบบ ทวภิ าคมี ีดงั น้ี 1. ไดบ้ ุคลากรดา้ นวิชาชีพท่ีมีความรู้ ความสามารถ ทักษะ และทศั นคติในการทางานตรงตามที่ต้องการ ของตลาดงาน 2. วางแผนการรับคนเขา้ ทางานในสาขางานทีข่ าดแคลน เพอื่ ใหเ้ กิดประสิทธภิ าพ และความคุ้มค่า

3. บุคลากรของสถานประกอบการท่ีเป็นครูฝึกได้รับการพัฒนาความรู้ความสามารถในการจัดทา แผนการเรียนและหลักเกณฑว์ ดั และประเมินผลเพ่ือรว่ มกบั สถานศึกษาจัดทาแผนการฝกึ อาชีพ 4. นักเรียน นักศึกษาท่ีผ่านการฝึกอาชีพมีความผูกพันกับสถานประกอบการ ส่งผลต่อความสานึก รักองค์กร 5. ลดตน้ ทุนคา่ ใช้จา่ ยและประหยัดเวลาในการฝกึ อบรมพนกั งานใหม่ 6. ไดร้ ับสิทธปิ ระโยชน์ในการนาคา่ ใช้จา่ ยในการฝึกอาชพี ไปหักลดหยอ่ นภาษี 3. ประโยชนท์ ีส่ ถานศึกษาไดร้ ับจากการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวภิ าคี สถานศึกษาอาชีวศึกษาและสถาบันการอาชีวศึกษาท่ีร่วมมือกับสถานประกอ บการจัดการอาชีวศึกษา ระบบทวิภาคีไดร้ บั ประโยชน์ดังน้ี 1. ผลติ กาลงั คนด้านอาชวี ศกึ ษาให้มีสมรรถนะตรงตามความต้องการของตลาดงาน 2. ประหยัดงบประมาณในการจดั หาเคร่ืองมือเครอ่ื งจักรท่ีทนั สมยั มาใชใ้ นการจดั การเรียนการสอน 3. ลดปัญหาการขาดแคลนบุคลากรท่ีมีความรู้ความชานาญและมีประสบการณ์ในวิชาชีพท่ีจะมาเป็น ครูผู้สอน 4.บุคลากรได้รับการพัฒนาอย่างต่อเน่ืองโดย ครูผู้สอนวิชาชีพในสถานศึกษา ต้องเข้ารับการพัฒนา วิชาชีพที่สอนไม่น้อยกว่า 80 ชั่วโมงต่อคนต่อปีการศึกษา จากสถานประกอบการท่ีร่วมจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิ ภาคี

การจดั ตังอาชวี ศกึ ษาเขตพ้นื ท่ี

ข้นั ตอนการดาเนนิ การจัดการอาชวี ศกึ ษาระบบทวิภาคี ระหวา่ งสถานศึกษา และสถานประกอบการภายในประเทศ สถานศึกษา 1. แสดงความประสงค์ สถานประกอบการ 2. สารวจความพรอ้ ม 3. บันทกึ ข้อตกลงความร่วมมือ 4. วางแผนร่วมกับสถานประกอบการ 5. ประชาสัมพนั ธ์ แนะแนวผูเ้ รียน 6. คัดเลือกผู้เรียน 7. ทาสญั ญาการฝกึ อาชพี 8. ปฐมนิเทศผู้เรยี น/การประชมุ ผู้ปกครอง 9. จดั การเรยี นการสอน/การฝึกอาชพี 10. นิเทศการจดั การเรยี นการสอน/การฝกึ อาชพี 11. วดั ผลและการประเมนิ ผลรายวิชา/การฝกึ อาชีพ 12. การสาเรจ็ การศึกษา

13. ติดตามผู้สาเรจ็ การศึกษา 14. สรปุ ผลการดาเนินงานและรายงานประจาปี สถานศกึ ษาศูนยอ์ าชีวศกึ ษาทวภิ าคี/ 1. แสดงความประสงค์ สถานประกอบการ ศูนย์ประสานงานทวภิ าคีส่วนภูมิภาค/ กอ่ นเริ่ม สถาบนั ฯ/สถานศึกษา การจัดการอาชวี ศึกษาระบบทวภิ าคี 1. แสวงหาเครอื ข่ายสถานประกอบการที่จะเขา้ ร่วมจัดการ 1. ตดิ ต่อประสานงาน ณ ศนู ย์อาชีวศึกษาทวภิ าคี ดงั น้ี อาชีวศึกษาระบบทวภิ าคี 1.1. ศนู ย์อาชีวศึกษาทวิภาคี 2. หารือ ปรกึ ษากบั สถานประกอบการเพ่ือชีแ้ จงการจดั การ 1.2. ศนู ย์ประสานงานทวิภาคเี ขตพ้นื ท่ี อาชีวศึกษาระบบทวิภาคีและสทิ ธปิ ระโยชนท์ ่ีจะไดร้ บั 1.3. งานอาชีวศกึ ษาทวิภาคีระดบั สถานศกึ ษา

สถานศกึ ษา 2. สารวจความพรอ้ ม สถานประกอบการ สารวจความพร้อม 1. ดา้ นกาลังคน 1.1. สถานศึกษา 1.1.1. ผู้บริหารสถานศึกษา 1.1.2. ครูผู้สอน 1.1.3. ครูนิเทศ 1.1.4. บุคลากรทางการศึกษา 1.2. สถานประกอบการ 1.2.1. ผู้บริหารสถานประกอบการ 1.2.2. ผู้ควบคมุ การฝึก 1.2.3. ครฝู ึก 1.3. ปริมาณผู้เรยี น/สาขาวิชาทีต่ อ้ งการหรอื ขาดแคลน 2. ดา้ นงบประมาณทใี่ ชด้ าเนนิ การ 2.1. สถานศึกษาและสถานประกอบการ 2.1.1. ผูเ้ รยี น 2.1.2. ครูผู้สอน 2.1.3. ครนู เิ ทศ 2.1.4. ผู้ควบคุมการฝกึ 2.1.5. ครูฝกึ 2.2. วัสดุ อุปกรณ์ เครอ่ื งมือ เครือ่ งจกั ร อุปกรณส์ านักงาน หอ้ งฝึกอบรม สถานท่ีพัก ค่าสาธารณปู โภค และคา่ ใชจ้ า่ ยอ่นื ๆ 3. ดา้ นการบรหิ ารจดั การ เช่น หลกั สตู ร สัญญาการฝึก แผนการฝกึ แผนการฝกึ อาชีพแผนการ นเิ ทศ ข้อกาหนดและระเบียบปฏิบตั ิในการดาเนนิ การฝกึ อาชพี ฯลฯ 4. ดา้ นสวัสดกิ าร 4.1. สถานศกึ ษา 4.1.1. สถานศกึ ษาเจรจา ข้อตกลงเก่ยี วกบั สวสั ดิการทผ่ี ูเ้ รียนจะได้รบั 4.2. สถานประกอบการ 4.2.1. สถานประกอบการแจง้ ขอ้ มูลสวัสดกิ ารที่ผู้เรยี นจะไดร้ ับ

3. บนั ทกึ ข้อตกลงความร่วมมือ สถานศกึ ษา ดาเนินการจัดทาบันทึกข้อตกลงความ สถานประกอบการ รว่ มมอื (MOU) คณะทางานประชุมรว่ มกัน พจิ ารณากรอบการดาเนนิ งานและความร่วมมือ (ระยะเวลาเรยี น/ฝึกทกั ษะวิชาชพี ค่าใชจ้ ่าย บุคลากร ฯลฯ) คณะทางาน รา่ งบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ นาเสนอผมู้ อี านาจทัง้ 2 ฝ่ายพจิ ารณาในรายละเอียด ลงชื่อบนั ทึกข้อตกลง ผมู้ อี านาจลงนามท้ัง 2 ฝา่ ย และพยานลงนามท้งั 2 ฝ่าย รายงานผล บันทกึ ขอ้ มูลลงใน web site ฐานขอ้ มลู ความรว่ มมือท่ี http://boc.vec.go.th ของ สานกั ความร่วมมอื และ http://www.d-vec.com ของศนู ยอ์ าชีวศกึ ษาทวภิ าคี

สถานศกึ ษา 4. วางแผนรว่ มกบั สถานประกอบการ สถานประกอบการ จัดทาแผนการเรยี น/แผนการฝึกอาชพี ตลอดหลกั สูตร 1. ชี้แจงทาความเขา้ ใจเกี่ยวกับ 1.1. ประกาศคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา ลงวนั ที่ 20 สิงหาคม 2563 เร่ือง มาตรฐานการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี พ.ศ.2563 1.2. โครงสรา้ งหลกั สตู ร และหลักเกณฑ์การใช้หลกั สตู ร 1.3. ระเบียบทีเ่ กี่ยวขอ้ งเชน่ การวัดผลและการประเมนิ ผล การนเิ ทศ ฯลฯ 2. ทาแผนการเรยี น แผนการฝึกอาชีพ แผนการนเิ ทศร่วมกันตลอดหลักสตู ร 3. ดาเนนิ การในกรอบขอ้ ตกลงของทั้ง 2 ฝ่าย 3.1. การสง่ เสริม สนับสนุนการจดั การศกึ ษา 3.2. ลักษณะงานท่ีฝกึ อาชีพ 3.3. ประโยชน์ทไ่ี ดร้ บั ของสถานประกอบการ สถานศกึ ษา และผเู้ รียน

สถานศกึ ษา 5. ประชาสัมพนั ธ์ แนะแนวผ้เู รยี น สถานประกอบการ ประชาสัมพันธ์ แนะแนวผู้เรียน 1. ดา้ นการประชาสมั พันธ์ 1.1. สถานศึกษา 1.1.1. จัดให้มกี ารประชาสัมพนั ธ์ แนะแนวเส้นทางอาชพี ใหผ้ ูเ้ รียนทจ่ี ะเขา้ รว่ ม เรยี นในระบบทวิภาคดี ว้ ยวธิ ีการทห่ี ลากหลาย เชน่ แผ่นพับ ป้ายประชาสัมพนั ธ์ การโฆษณาทาง ส่ือมวลชน แผน่ บันทึกข้อมลู เวบ็ ไซต์ ฯลฯ 1.2. สถานประกอบการ 1.2.1. จัดให้มีการประชาสมั พนั ธ์ แนะแนวเส้นทางอาชีพใหผ้ ้เู รยี นทจี่ ะเข้ารว่ ม เรียนในระบบทวภิ าคดี ว้ ยวธิ ีท่หี ลากหลาย และ Matching กบั ความต้องการกาลังคน 2. แนะแนวการจัดการอาชวี ศึกษาระบบทวิภาคีตามกลุ่มเปา้ หมายต่างๆ 2.1. สถานศึกษา เชน่ โรงเรยี นมธั ยมศกึ ษา โรงเรียนขยายโอกาส 2.2. บคุ คลทเี่ ก่ียวข้อง เช่น ผู้เรียน ผู้ปกครอง ชุมชน 2.3. สถานประกอบการ

สถานศกึ ษา 6. คัดเลอื กผ้เู ขา้ เรียน สถานประกอบการ คดั เลอื กผู้เขา้ เรยี น ดาเนนิ การร่วมกนั 2 ฝา่ ย 1. คุณสมบัตผิ ้เู รยี น 1.1. มคี ุณสมบัติตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ วา่ ด้วยการจดั การศึกษาและการประเมนิ ผล การศึกษา 1.2. มคี ณุ สมบัตติ ามท่สี ถานประกอบการกาหนด 2. ประชุม วางแผนการรบั ผู้เรยี น กาหนดขั้นตอน วธิ ีการรับสมัคร วธิ กี ารคัดเลอื ก ได้แก่ การสอบ ข้อเขียน การสอบสัมภาษณ์ การสอบปฏบิ ัติ เป็นตน้ 3. ดาเนนิ งานตามแผนงานท่กี าหนด 4. ประกาศผล มอบตวั ลงทะเบยี น

7. ทาสัญญาการฝกึ อาชพี สถานศึกษา การทาสญั ญาในการฝกึ อาชีพ สถานประกอบการ ร่วมพิจารณาสญั ญาการฝกึ อาชพี โดยใหค้ านึงถึงสิทธิ ทาสัญญาการฝึกอาชีพโดยใหค้ านงึ ถงึ สิทธิประโยชน์ ประโยชน์ของผ้เู รยี นเป็นสาคญั (ห้ามมกี ารเรยี กทุนคืน) ของผ้เู รียนเป็นสาคัญ (ห้ามมกี ารเรยี กทุนคนื ) สถานศึกษา+ผู้เรยี นและผ้ปู กครอง+สถานประกอบการ สญั ญาการฝกึ อาชพี ระหว่างสถานประกอบการกบั ผ้เู รยี นและผปู้ กครอง ให้สถานศึกษาเป็น ผู้ ประสานงานและลงช่ือเป็นพยานในสัญญาการฝึกอาชีพ โดยในสญั ญาตอ้ งระบุเกี่ยวกับเรื่องตอ่ ไปนี้ 1. ระยะเวลาการฝกึ อาชพี 2. ขอ้ บังคบั หรือระเบียบในการฝกึ อาชพี 3. วนั หยุดประจาสัปดาห์ 4. สวสั ดิการ เช่น เบ้ียเลย้ี ง ที่พัก เครอื่ งแตง่ กาย การประกันอบุ ัตเิ หตุ ฯลฯ 5. เง่อื นไขการเลกิ สัญญาการฝกึ อาชีพ 6. อืน่ ๆ ตามขอ้ ตกลงเพิ่มเติม กรณีทจ่ี ะนาสัญญาการฝกึ อาชพี ไปประกอบเพือ่ ขอความเห็นชอบรายละเอยี ดฝกึ เตรียมเข้า ทางานของกรมพัฒนาฝมี ือแรงงาน ให้ใช้รูปแบบสญั ญาการฝกึ อาชพี ของกรมพัฒนาฝมี อื แรงงาน

สถานศกึ ษา 8. ทาสัญญาการฝกึ อาชพี สถานประกอบการ ปฐมนเิ ทศผเู้ รียน/ประชุมผปู้ กครอง/เตรียมความพร้อม ช้แี จงข้อมลู ทเ่ี ก่ียวขอ้ ง ได้แก่ 1. สรา้ งความเขา้ ใจระหว่างผเู้ รยี น สถานศึกษา สถานประกอบการ ผู้ปกครอง เพอื่ เตรยี มความพรอ้ ม ของผูเ้ รียนกอ่ นเข้าฝึกอาชพี ในสถานประกอบการ 2. ระเบียบต่างๆ ของสถานศกึ ษา ข้อบังคบั ต่างๆ ของสถานประกอบการ 3. แนวทางการเรียนการสอนในสถานศกึ ษา และการฝึกอาชีพในสถานประกอบการ 4. ผูร้ บั ผดิ ชอบ และครูที่ปรึกษา 5. คูม่ อื ผเู้ รยี น 6. หลักเกณฑ์การปฏบิ ตั ิของผเู้ รียนระบบทวิภาคี 7. ประโยชน์ที่ได้รับจากการเข้าเรยี นอาชวี ศึกษาระบบทวิภาคี

9. การจดั การเรยี นการสอน/การฝกึ อาชีพ สถานศกึ ษา การจัดการเรยี นการสอน/การฝกึ อาชพี สถานประกอบการ 1. ประชุมชี้แจงทาความเข้าใจกับครู บคุ ลากรของสถานศกึ ษาและสถานประกอบการ ได้แก่ 1.1. ประกาศ ระเบียบ หลกั เกณฑ์ทเ่ี กี่ยวข้องในการจดั อาชวี ศกึ ษาระบบทวิภาคี 1.2. กระบวนการจัดการเรยี นการสอน 1.3. กระบวนการฝึกอาชพี 2. แต่งต้งั คณะกรรมการดาเนนิ งานและกาหนดหนา้ ที่ความรบั ผิดชอบของผู้เกีย่ วขอ้ ง 2.1. สถานศกึ ษา แต่งต้ังครูนเิ ทศ ครูฝกึ 2.2. สถานประกอบการ แตง่ ตงั้ ครูผูค้ วบคมุ การฝึก 3. อบรม สัมมนาครผู สู้ อน ครนู ิเทศ ครูฝกึ และผคู้ วบคุมการฝึก 4. จัดการเรียนการสอนตามแผนการเรียนและฝกึ อาชพี ตามแผนการฝกึ 5. ประชุม สัมมนา อบรม ผเู้ รียนระบบทวภิ าคี เช่น 5.1. เตรยี มความพร้อมก่อนการฝึกอาชีพ 5.2. ประชุมสัมมนาระหวา่ งการฝึกอาชพี 5.3. ประชุมนาเสนอสรุปผลการฝึกอาชพี 5.4. อบรมความรูเ้ กีย่ วกบั สถานประกอบการ 5.5. อบรมเสริมความร้เู ฉพาะงานในสถานประกอบการ ฯลฯ

สถานศึกษา 10. นิเทศการฝกึ อาชีพ สถานประกอบการ นเิ ทศการฝกึ อาชพี นเิ ทศการฝึกอาชพี ใหเ้ ป็นไปตามประกาศคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา ลงวนั ที่ 20 สิงหาคม 2563 เร่ือง มาตรฐานการจัดการอาชวี ศกึ ษาระบบทวิภาคี พ.ศ.2563 1. แตง่ ตั้งคณะกรรมการนเิ ทศการฝกึ อาชพี 2. จดั ทาแผนการนเิ ทศ 3. นเิ ทศการฝกึ อาชีพ 4. ตรวจสมดุ บนั ทกึ การฝึกอาชีพ/แฟม้ สะสมผลงาน 5. รายงานผลการนิเทศ

11. วัดผลและประเมินผลรายวชิ า/การฝึกอาชีพ สถานศกึ ษา การวดั ผลและประเมนิ ผลรายวิชา/การฝึก สถานประกอบการ อาชพี วดั และประเมนิ ผลรายวิชา+การวดั และประเมินมาตรฐาน วัดและประเมนิ ผลการฝึกอาชีพ วชิ าชพี 1. เป็นไปตามระเบียบกระทรวงศกึ ษาธิการ ว่าด้วยการ 1. เป็นไปตามระเบยี บกระทรวงศึกษาธกิ าร ว่าด้วยการ ประเมนิ ผลตามหลักสูตรแต่ละระดับท่ีเก่ียวข้อง ประเมินผลตามหลักสูตรแต่ละระดบั ทเี่ กี่ยวข้อง 2. การประเมนิ รายวชิ า ตามหลักเกณฑข์ ัน้ ตอนการ 2. การวดั ผลและประเมินผลรายวิชาการฝึกอาชพี ดาเนินงานของสถานศึกษา 2.1. ผู้ประเมนิ 2.1. การประเมินสมรรถนะวิชาชีพตามสภาพจริงให้ สอดคลอ้ งกบั แผนการฝึกอาชพี - ครูผ้สู อน ผู้เรยี น เพือ่ นผเู้ รียน ผปู้ กครอง 2.2. สรุปผลและดาเนินการตามข้ันตอน สถานศึกษา 2.2. การประเมินสรปุ ผลการเรยี นแตล่ ะภาคเรียน 3. การประเมินมาตรฐานวชิ าชีพ ประเมินเม่อื ลงทะเบียน - ผู้ประเมินคอื ครูฝึก ผู้ควบคุมการฝกึ ผ้ทู ่ไี ดร้ บั ครบตามโครงสร้างหลักสตู ร 3.1. ผู้ประเมินประกอบด้วย มอบหมาย ตามข้อตกลงรว่ มกนั ระหวา่ งสถานศกึ ษาและ สถานประกอบการ - ผ้บู รหิ ารสถานศึกษา - หวั หนา้ แผนกวิชา - สรุปคะแนน และดาเนนิ การตามขัน้ ตอนของ - หวั หนา้ งานพัฒนาหลกั สตู รการเรียน สถานศึกษาตามระเบียบการวดั ผลของกระทรวงศึกษาธิการ การสอน แตล่ ะระดับ - หัวหนา้ งานวดั ผลและประเมินผล - ครผู ู้สอนท่ีเกีย่ วข้อง - ผู้ทรงคุณวุฒิ - ผแู้ ทนสถานประกอบการ 3.2. สรปุ ผล และดาเนนิ การตามขน้ั ตอนของ สถานศึกษา

สถานศกึ ษา 12. การสาเร็จการศกึ ษา สถานประกอบการ เอกสารการสาเรจ็ การศกึ ษา ใบรับรองการผ่านงาน ประกาศนยี บตั ร (ปวช./ปวส.) ปรญิ ญาบัตร (ปริญญาตรี) ใบผ่านมาตรฐานวิชาชีพ สถานศึกษา+สถานประกอบการ สถานประกอบการ วุฒกิ ารศึกษาระบบทวภิ าคี 1. ประกาศนยี บัตรวิชาชพี ประกาศนยี บตั รวิชาชีพชัน้ สูง และปริญญาบัตรในระดบั ปริญญาตรี หมายถึง เอกสารทีส่ ถานศึกษาออกให้ตามระเบียบการวัดผลและการประเมินผลเมอื่ สาเร็จการศกึ ษา 2. ระเบยี นแสดงผลการเรียน หมายถึง เอกสารท่ีสถานศึกษารบั รองว่าผเู้ รียนผา่ นการเรียนรกู้ ารฝึกอาชพี และสาเร็จการศกึ ษา 3. ใบผา่ นมาตรฐานวิชาชพี หมายถึง เอกสารท่คี ณะกรรมการประเมนิ มาตรฐานวชิ าชพี ออกให้เม่ือผเู้ รียนผา่ นการทดสอบ มาตรฐานวชิ าชีพ 4. ใบรบั รองการผา่ นงาน หมายถึง เอกสารท่ีสถานประกอบการออกใหเ้ พ่ือแสดงว่า ผเู้ รยี นไดผ้ า่ นการฝกึ อาชพี ระบบทวิภาคี การจัดกจิ กรรมส่งเสริม สร้างแรงจงู ใจ สาหรบั การสาเรจ็ การศกึ ษาของผ้เู รียน 1. พิธีมอบเกยี รติบตั ร 2. พธิ มี อบประกาศนยี บตั ร/ปริญญาตรี ใบผ่านมาตรฐานวิชาชพี ใบรับรองการผ่านงาน

สถานศกึ ษา 13. การติดตามผู้สาเร็จการศกึ ษา สถานประกอบการ การติดตามผสู้ าเร็จการศกึ ษา การสารวจความพึงพอใจการจัดการศกึ ษาระบบทวภิ าคี การสารวจความพึงพอใจท่ีมีตอ่ ผสู้ าเร็จการศกึ ษา 1. ผสู้ าเร็จการศกึ ษา 2. ผปู้ กครอง 3. สถานประกอบการ สถานศกึ ษา 14. สรปุ ผลการดาเนนิ งานและรายงานประจาปี สรุปผลการดาเนินงาน สรปุ ผลการดาเนนิ งานในรปู แบบท่สี ถานศึกษากาหนด เชน่ 1.รปู แบบ PDCA 2. รปู แบบงานวจิ ัย

2. คุณภาพของผสู้ าเร็จการศึกษา ผู้สาเร็จการศึกษาทุกระดับ ทุกประเภทวิชาและสาขาวิชาในระบบทวิภาคีต้องมีคุณภาพครอบคลุม 4 ด้าน คือ ด้านคุณธรรมจริยธรรม ด้านความรู้ ด้านทักษะ ด้านความสามารถในการประยุกต์ใช้และความรับผิดชอบ ตาม ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง กรอบมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแห่งชาติ โดยผ่านการทดสอบตามมาตรฐาน คุณวฒุ อิ าชวี ศึกษาในแตล่ ะหลกั สูตร มีสมรรถนะวิชาชพี เป็นไปตามความต้องการของสถานประกอบการนัน้ ๆ จึงเป็น ตวั ชี้วดั วา่ ผูส้ าเร็จการศึกษาสามารถปฏิบัติงานได้ในทันที 3. โครงสร้างหลักสตู ร จานวนหนว่ ยกติ การคิดหน่วยกติ ต่อภาคเรียนและการจดั การ 3.1 โครงสร้างหลักสตู ร จานวนหน่วยกติ และการคดิ หน่วยกติ ใหเ้ ป็นไปตามประกาศคณะกรรมการการ อาชวี ศึกษา เรื่อง เกณฑม์ าตรฐานคณุ วฒุ ิอาชวี ศกึ ษาแตล่ ะระดบั หลักสูตรระดับประกาศนยี บตั รวชิ าชพี (ปวช.) พ.ศ. 2562 การจัดการศึกษาในระบบและระบบทวิภาคี ให้ใช้ระบบทวภิ าคโดยกาหนดให้ 1 ปีการศึกษาแบ่งเป็น 2 ภาค เรียน และใน 1 ภาคเรียน มรี ะยะเวลาจดั การศึกษารวมการวัดผล 18 สปั ดาห์ การคดิ หน่วยกติ ให้ถอื เกณฑด์ งั น้ี 3.1.1 การคิดหน่วยกติ ต่อภาคเรยี น 3.1.1.1 รายวิชาทฤษฎีท่ีใช้เวลาในการบรรยายหรืออภปิ ราย 1 ช่วั โมงต่อสปั ดาห์ หรือ 18 ชัว่ โมง ต่อ ภาคเรยี น รว่ มเวลาการวดั ผลมีคา่ เท่ากบั 1 หนว่ ยกิต 3.1.1.2 รายวิชาปฏิบัติที่ใช้เวลาในการทดลองหรือฝึกปฏิบัติในห้องปฏิบัติ 2 ชั่วโมง ต่อสัปดาห์หรือ 36 ช่วั โมงตอ่ ภาคเรียน รวมเวลาการวัดผลมีค่าเทา่ กับ 1 หนว่ ยกิต 3.1.1.3 รายวิชาปฏิบัติที่ใช้เวลาในการฝึกปฏิบัติในโรงฝึกงานหรือภาคสนามปฏิบัติ 3 ช่ัวโมงต่อ สัปดาห์ หรือ 54 ช่ัวโมงต่อภาคเรยี น รวมเวลาการวดั ผลมคี า่ เทา่ กบั 1 หนว่ ยกิต 3.1.1.4 การฝกึ อาชพี ในการศึกษาระบบทวิภาคีท่ีใชเ้ วลาไม่น้อยกวา่ 54 ชั่วโมงต่อภาคเรียน รวมเวลา การวดั ผลมคี า่ เทา่ กบั 1 หนว่ ยกติ 3.1.1.5 การฝึกประสบการณ์สมรรถนะวิชาชีพในสถานประกอบการท่ีใช้เวลาไม่น้อยกว่า 54 ชั่วโมง ตอ่ ภาคเรียน รวมเวลาการวัดผลมคี า่ เท่ากบั 1 หน่วยกิต 3.1.1.6 การทาโครงงานพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพใช้เวลาไม่น้อยกว่า 54 ช่ัวโมงต่อภาคเรียนรวมเวลา การวัดผลมีคา่ เท่ากบั 1 หนว่ ยกิต 3.2 จานวนหนว่ ยกิตรวมและระยะเวลาการศกึ ษา ใหม้ จี านวนหนว่ ยกิตรวมระหวา่ ง 100 – 110 หน่วยกติ ใช้ ระยะเวลาการศึกษา 6 ภาคเรียน ท้ังน้ีให้เรียนได้ไม่เกิน 12 ภาคเรียน สาหรับการลงทะเบียนแบบเต็มเวลา และไม่ เกนิ 16 ภาคเรียน สาหรบั การลงทะเบียนแบบไมเ่ ต็มเวลา

โครงสร้างหลกั สตู ร 1. หมวดวิชาสมรรถนะแกนกลาง ประกอบด้วยกลุ่มวิชาเพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะในการปรับตัวและ ดารงชีวิตในสังคมสมัยใหม่ เห็นคุณค่าของตนและพัฒนาตน มีความใฝ่รู้แสวงหาและพัฒนาความรู้ใหม่ มี ความสามารถในการใช้เหตุผล การคิดวิเคราะห์ การแก้ปัญหาและการจัดการมีทักษะในการ ส่ือสาร การใช้ เทคโนโลยีสาระสนเทศและการทางานร่วมกับผู้อื่น มีคุณธรรมจริยธรรมมนุษยสัมพันธ์ รวมถึงความรับผิดชอบต่อ ตนเองและสงั คม รวมไมน่ อ้ ยกว่า 21 หนว่ ยกติ การจัดวิชาในหมวดวิชาสมรรถนะแกนกลาง สามารถทาได้ในลักษณะเป็นรายวิชาหรือลักษณะบูรณาการให้ ครอบคลุมกลุ่มวิชาภาษาไทย กลุ่มวิชาภาษาต่างประเทศ กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ กลุ่มวิชา สงั คมศาสตร์ กลมุ่ วชิ ามนุษยศาสตร์ ในสัดสว่ นทเ่ี หมาะสมเพอื่ ให้บรรลุจุดประสงค์ของหมวดวิชาสมรรถนะแกนกลาง 2.หมวดวิชาทักษะวิชาชีพประกอบด้วยกลุ่มวิชาท่ีพัฒนาผู้เรียนให้เกิดสมรรถนะวิชาชีพมีความรู้ ความสามารถในการคิดวิเคราะห์วางแผนดาเนนิ การตรวจสอบแก้ปญั หาบรู ณาการความรูแ้ ละทักษะในการปฏิบัติงาน ด้วยความรับผิดชอบและความปลอดภยั เพ่ือประยุกต์สอู่ าชีพ รวมไม่น้อยกว่า 69 หน่วยกิต ประกอบด้วย 5 กลุ่มดังน้ี 2.1 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพพืน้ ฐาน ไม่น้อยกวา่ 19 หน่วยกิต 2.2 กลุ่มสมรรถนะวิชาชพี เฉพาะ ไมน่ อ้ ยกวา่ 24 หนว่ ยกติ 2.3 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพเลอื ก ไม่นอ้ ยกวา่ 18 หนว่ ยกติ 2.4 ฝกึ ประสบการณส์ มรรถนะวิชาชพี จานวน 4 หน่วยกต 2.5 โครงงานพัฒนาสมรรถนะวชิ าชพี จานวน 4 หนว่ ยกติ ทั้งน้ี ในการกาหนดให้เป็นสาขาวิชาใด ต้องมีจานวนหน่วยกิตของกลุ่มสมรรถนะวิชาชีพพ้ืนฐานและกลุ่ม สมรรถนะวิชาชีพเฉพาะในสาขาวชิ านั้น รวมไมน่ ้อยกวา่ 35 หน่วยกิต 3. หมวดวิชาเลือกเสรี ประกอบด้วยรายวิชาจากหมวดวิชาสมรรถนะแกนกลางหรือหมวดวิชาสมรรถนะ วิชาชีพ เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้เรียนเลือกเรียนตามความถนัดและความสนใจเพ่ือการประกอบอาชีพหรือการศึกษาต่อ รวมไมน่ ้อยกวา่ 10 หนว่ ยกิต 4. กิจกรรมเสริมหลักสูตร เป็นส่วนท่ีส่งเสริมการพัฒนาสมรรถนะแกนกลางหรือสมรรถนะวิชาชีพ ชีวิตและ หรอื ทกั ษะวิชาชพี ผเู้ รียนทกุ คนต้องเข้ารว่ มกจิ กรรมอย่างน้อยสปั ดาหล์ ะ 2 ชวั่ โมงทกุ ภาคเรยี น กจิ กรรมเสริมหลักสตู ร นไ้ี มน่ ับหน่วยกิต การยกเว้นการเรียนรายวิชาในหมวดวิชาสมรรถนะแกนกลาง หมวดวิชาสมรรถนะวิชาชีพและหมดวิชาเลือก เสรี สามารถทาได้โดยการเทียบโอนผลการเรียน หรือโดยการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์เข้าสู่หน่วยกิตตาม หลกั สูตร ตามหลักเกณฑ์และแนวปฏบิ ัตทิ ค่ี ณะกรรมการการอาชีวศึกษากาหนด

หลกั สูตรระดบั ประกาศนยี บตั รวิชาชีพชั้นสงู (ปวส.) พ.ศ.2557 ให้มจี านวนหนว่ ยกติ เปน็ ไปตามท่หี ลักสูตรกาหนด การคิดหนว่ ยกติ ให้ถอื เกณฑด์ ังนี้ 1. การคิดหน่วยกิตต่อภาคเรยี น 1.1 รายวชิ าทฤษฎีที่ใชเ้ วลาในการบรรยายหรืออภปิ ราย 1 ชั่วโมงตอ่ สปั ดาห์ หรือ 18 ชว่ั โมงต่อภาค เรียน รวมเวลาการวดั ผล มคี ่าเทา่ กับ 1 หน่วยกติ 1.2 รายวชิ าปฏิบตั ิทีใ่ ชเ้ วลาในการทดลองหรือฝกึ ปฏิบัติในห้องปฏิบัติการ 2 ชว่ั โมง ตอ่ สปั ดาห์ หรอื 36 ชว่ั โมงต่อภาคเรียน รวมเวลาการวัดผล มคี ่าเทา่ กบั 1 หนว่ ยกิต 1.3 รายวิชาปฏิบัติท่ีใช้เวลาในการฝึกปฏิบัติในโรงฝึกงานหรือภาคสนาม 3 ช่ัวโมง ต่อสัปดาห์ หรือ 54 ชัว่ โมงต่อภาคเรยี น รวมเวลาการวัดผล มคี า่ เท่ากับ 1 หนว่ ยกติ 1.4 การฝึกอาชีพในการศึกษาระบบทวิภาคี ท่ีใช้เวลาไม่น้อยกว่า 54 ช่ัวโมงต่อภาคเรียน รวมเวลา การวดั ผล มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกติ 1.5 การฝึกประสบการณ์สมรรถนะวิชาชพี ในสถานประกอบการ ท่ีใช้เวลาไม่น้อยกวา่ 54 ชั่วโมงตอ่ ภาคเรยี น รวมเวลาการวดั ผล มคี ่าเทา่ กับ 1 หนว่ ยกิต 1.6 การทาโครงงานพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพ ท่ีใช้เวลาไม่น้อยกว่า 54 ชั่วโมงต่อภาคเรียน รวมเวลา การวดั ผล มีคา่ เท่ากบั 1 หน่วยกติ 2.จานวนหนว่ ยกติ รวมและระยะเวลาการศึกษา ให้มจี านวนหน่วยกติ รวมระหว่าง 80 - 90 หนว่ ยกิต ใช้ระยะเวลาการศึกษา 4 ภาคเรียน ท้ังน้ี ให้เรียนได้ไม่เกิน 8 ภาคเรียน สาหรับการลงทะเบียนเรียนแบบเต็มเวลา และไม่เกนิ 12 ภาคเรยี น สาหรับการลงทะเบยี นเรียน แบบไมเ่ ตม็ เวลา กรณีหลักสูตรสาขาวิชาท่ีมีความจาเป็นต้องกาหนดจานวนหน่วยกิตรวมและระยะเวลา การศึกษาเกินกว่าท่ี กาหนด ให้นาเสนอขออนุมตั ติ ่อคณะกรรมการการอาชีวศึกษาเปน็ กรณีไป 3. โครงสรา้ งหลักสูตร 3.1 หมวดวชิ าสมรรถนะแกนกลาง ประกอบดว้ ยกลุม่ วชิ าเพอื่ พัฒนาผ้เู รียนให้มที ักษะ ในการปรบั ตวั และดาเนินชีวิตในสังคมสมัยใหม่ เห็นคุณค่าของตนและการพัฒนาตน มีความใฝ่รู้ แสวงหาและพัฒนาความรู้ใหม่ มี ความสามารถในการใช้เหตุผล การคิดวิเคราะห์ การแก้ปัญหาและ การจัดการ มีทักษะ ในการส่ือสาร การใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการทางานร่วมกับผู้อื่น มีคุณธรรม จริยธรรม มนุษยสัมพันธ์ รวมถึงความรับผิดชอบต่อ ตนเองและสงั คม รวมไมน่ อ้ ยกวา่ 18 หน่วยกิต การจัดวิชาในหมวดวิชาสมรรถนะแกนกลาง สามารถทาได้ในลักษณะเป็นรายวิชา หรือลักษณะ บูรณาการให้ครอบคลุมกลุ่มวิชาภาษาไทย กลุ่มวิชาภาษาต่างประเทศ กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ ในสัดส่วนที่เหมาะสมเพ่ือให้บรรลุ จุดประสงค์ของหมวดวิชาสมรรถนะ แกนกลาง

3.2 หมวดวิชาสมรรถนะวิชาชีพ ประกอบด้วยกลุ่มวิชาที่พัฒนาผู้เรียนให้เกิดสมรรถนะวิชาชีพ มี ความรู้ ความสามารถในการคิด วิเคราะห์ วางแผน จัดการ ประเมินผล แก้ปัญหา ควบคุม และสอนงาน บูรณาการ ความรู้และทักษะในการปฏิบัติงานด้วยความรับผิดชอบและความปลอดภัย เพ่ือประยุกต์สู่อาชีพ รวมไม่น้อยกว่า 56 หน่วยกติ ประกอบดว้ ย 5 กลุ่ม ดังน้ี 3.2.1 กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพพนื้ ฐาน ไม่น้อยกวา่ 15 หน่วยกิต 3.2.2 กลมุ่ สมรรถนะวิชาชีพเฉพาะ ไม่นอ้ ยกว่า 21 หนว่ ยกติ 3.2.3 กลุ่มสมรรถนะวชิ าชพี เลอื ก ไมน่ อ้ ยกวา่ 12 หนว่ ยกติ 3.2.4 ฝึกประสบการณ์สมรรถนะวิชาชีพ จานวน 4 หน่วยกิต 3.2.5 โครงงานพัฒนาสมรรถนะวชิ าชพี จานวน 4 หน่วยกิต ทั้งน้ี ในการกาหนดให้เป็นสาขาวิชาใด ต้องมีจานวนหน่วยกิตของกลุ่มสมรรถนะวิชาชีพ พื้นฐานและกลุ่ม สมรรถนะวชิ าชพี เฉพาะในสาขาวิชานนั้ รวมกนั ไมน่ อ้ ยกว่า 30 หนว่ ยกิต 3.3 หมวดวิชาเลือกเสรี ประกอบด้วยรายวิชาจากหมวดวิชาสมรรถนะแกนกลางหรือ หมวดวิชา สมรรถนะวิชาชีพ เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้เรียนเลือกเรียนตามความถนัดและความสนใจ เพื่อการประกอบอาชีพหรือ การศกึ ษาต่อ รวมไมน่ ้อยกวา่ 6 หนว่ ยกติ 3.4 กิจกรรมเสริมหลักสูตร เป็นส่วนที่ส่งเสริมการพัฒนาสมรรถนะแกนกลางหรอื สมรรถนะวชิ าชพี ผู้เรียนทุกคนตอ้ งเขา้ ร่วมกจิ กรรมอย่างนอ้ ยสปั ดาหล์ ะ 2 ช่วั โมงทกุ ภาคเรยี น กิจกรรมเสริมหลักสตู รน้ี ไมน่ ับหนว่ ยกติ 3.5 การจัดอัตราสว่ นของเวลาการเรียนรภู้ าคทฤษฎตี อ่ ภาคปฏิบัติในหมวดวชิ าสมรรถนะวิชาชีพ ประมาณ 40 ต่อ 60 ทงั้ นี้ ขึ้นอยู่กบั ลักษณะหรือกระบวนการจดั การเรยี นรู้ของแต่ละสาขาวิชา การยกเว้นการเรยี นรายวิชาในหมวดวิชาสมรรถนะแกนกลาง หมวดวิชาสมรรถนะวิชาชพี และหมวด วิชาเลือกเสรี สามารถทาได้โดยการเทียบโอนผลการเรียน หรือโดยการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์เข้าสู่หนว่ ย กิตตามหลักสตู ร ตามหลกั เกณฑแ์ ละแนวปฏบิ ัติที่คณะกรรมการการอาชีวศึกษากาหนด หลักสูตรระดับปริญญาตรสี ายเทคโนโลยหี รือสายปฏบิ ัติการ ใหม้ ีจานวนหนว่ ยกติ เปน็ ไปตามทห่ี ลักสูตรกาหนด การคิดหนว่ ยกิตใหถ้ อื เกณฑด์ ังนี้ การคดิ หนว่ ยกิต ต่อภาคเรยี น 1. รายวิชาทฤษฎีทีใ่ ชเ้ วลาในการบรรยายหรอื อภปิ ราย 1 ชัว่ โมงตอ่ สปั ดาห์ หรือ 18 ชวั่ โมงต่อภาคเรียน รวม เวลาการวดั ผล มีค่าเทา่ กบั 1 หน่วยกติ 2. รายวิชาปฏิบตั ิทใ่ี ชเ้ วลาในการทดลองหรือฝึกปฏบิ ัตใิ นห้องปฏิบตั กิ าร 2 ชั่วโมง ต่อสัปดาห์ หรอื 36 ช่วั โมง ตอ่ ภาคเรียน รวมเวลาการวัดผล มีค่าเท่ากบั 1 หนว่ ยกติ 3. รายวิชาปฏิบัติที่ใช้เวลาในการฝึกปฏิบัติในโรงฝึกงานหรอื ภาคสนาม 3 ช่ัวโมง ต่อสัปดาห์ หรือ 54 ชั่วโมง ตอ่ ภาคเรยี น รวมเวลาการวัดผล มคี า่ เทา่ กบั 1 หน่วยกติ

4. การฝกึ อาชีพในการศึกษาระบบทวภิ าคี ท่ีใช้เวลาไมน่ อ้ ยกวา่ 54 ชั่วโมงตอ่ ภาคเรียน รวมเวลาการวดั ผล มี คา่ เท่ากบั 1 หน่วยกติ 5. การฝึกประสบการณ์สมรรถนะวิชาชีพในสถานประกอบการ ท่ีใช้เวลาไม่น้อยกว่า 54 ชั่วโมงต่อภาคเรยี น รวมเวลาการวดั ผล มคี า่ เท่ากับ 1 หน่วยกติ 6. การทาโครงงานพัฒนาสมรรถนะวิชาชพี ท่ีใช้เวลาไม่น้อยกว่า 54 ช่ัวโมงต่อภาคเรียน รวมเวลาการวัดผล มคี ่าเทา่ กบั 1 หน่วยกติ (เกณฑม์ าตรฐานคุณวุฒิอาชวี ศึกษาระดับป.ตรี) โครงสร้างหลกั สตู ร 1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ประกอบด้วยกลุ่มวิชาเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะในการปรับตัว และด าเนินชีวิต ในสงั คมสมัยใหม่ เห็นคุณค่าของตนเองและการพฒั นาตน มคี วามใฝ่รู้ แสวงหา และพัฒนาความรูใ้ หม่ มคี วามสามารถ ในการใช้เหตุผล การคิดวิเคราะห์ การแก้ปัญหาและการจัดการ มีทักษะในการส่ือสาร การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการท างานร่วมกับผู้อื่น มีคุณธรรม จริยธรรม มนุษยสัมพันธ์ รวมถึงความรับผดิ ชอบต่อตนเองและสังคม รวมไม่ น้อยกว่า 18 หนว่ ยกติ การจัดวิชาในหมวดวิชาศึกษาท่ัวไป สามารถทาได้ในลักษณะเป็นรายวิชาหรือลักษณะบูรณาการ ให้ ครอบคลุมกลุ่มวิชาภาษาไทย กลุ่มวิชาภาษาต่างประเทศ กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ กลุ่มวิชา สังคมศาสตร์ กลุ่มวิชามนษุ ยศาสตร์ ในสัดส่วนท่ีเหมาะสมเพ่อื ใหบ้ รรลจุ ุดประสงค์ของหมวด วชิ าศึกษาท่วั ไป ท้ังนี้ จานวนหน่วยกิตรวมของหมวดวิชาศึกษาทั่วไปเม่ือนับรวมกับรายวิชาที่ได้ศึกษามาแล้ว ในระดับ ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ชัน้ สูง ตอ้ งไมน่ อ้ ยกว่า 30 หน่วยกิต 2. หมวดวิชาเฉพาะ ประกอบด้วยกลุ่มวิชาท่ีพัฒนาผู้เรียนให้เกิดทักษะวิชาชีพ มีความสามารถ ในการคิด วิเคราะห์ วางแผน จัดการ ประเมินผล แก้ปัญหา ควบคุมงาน สอนงาน และพัฒนางาน โดยบูรณาการความรู้และ ทักษะในการปฏิบัติงานด้วยความรับผิดชอบและความปลอดภัยเพ่ือประยุกต์ สู่อาชีพ รวมไม่น้อยกว่า 48 หน่วยกิต โดยเป็นวิชาทางปฏิบัติการไม่น้อยกว่า 18 หน่วยกิต และทางทฤษฎีไม่น้อยกว่า 18 หน่วยกิต ประกอบด้วย 3 กลุ่ม ดงั นี้ 2.1 วชิ าเฉพาะพืน้ ฐานไม่นอ้ ยกวา่ 18 หน่วยกติ ประกอบด้วย กลุ่มวิชาพื้นฐานทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต และวิชา พ้ืนฐานทางเทคโนโลยี ไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต ท้ังน้ี จานวนหน่วยกิตรวมของวิชาพื้นฐานเทคโนโลยีเมื่อนับรวมกับ รายวิชาท่ไี ดศ้ กึ ษา มาแล้วจากหลกั สูตรประกาศนยี บัตรวิชาชพี ชน้ั สงู ตอ้ งไม่นอ้ ยกวา่ 18 หนว่ ยกิต 2.2 วิชาเฉพาะดา้ นไมน่ อ้ ยกวา่ 21 หน่วยกิต - กลมุ่ วชิ าเทคโนโลยเี ฉพาะสาขา ไมน่ อ้ ยกว่า 18 หน่วยกติ - กลมุ่ วิชาโครงงาน ไมน่ อ้ ยกวา่ 3 หนว่ ยกติ 2.3 ฝกึ ประสบการณว์ ิชาชพี บรู ณาการการเรยี นรู้รว่ มการทางาน ไม่น้อยกว่า 3 หน่วยกติ

ทั้งนี้ ในกรณีท่ีจัดการศึกษาระบบทวภิ าคอี าจยกเวน้ การฝึกประสบการณว์ ชิ าชพี ได้ 3. หมวดวิชาเลือกเสรี ประกอบด้วยรายวิชาที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนเลือกเรียนรายวิชาใด ๆ ตามความถนัด หรือความสนใจ จากหลักสูตรระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏบิ ัติการ ในสถาบันการอาชีวศึกษา เพ่ือการ ประกอบอาชพี หรอื การศึกษาต่อ รวมไม่น้อยกว่า 6 หนว่ ยกติ การยกเว้นการเรียนรายวิชา สามารถทาได้โดยการเทียบโอนผลการเรียนเข้าสู่หน่วยกิตตามหลักสูตร ตาม ระเบียบสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาว่าด้วยการจัดการศึกษาและการประเมินผลการเรียนตามหลักสูตร ปรญิ ญาตรสี ายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัตกิ าร การจัดอัตราส่วนของเวลาการเรียนรู้ภาคทฤษฎตี ่อภาคปฏิบัติในหมวดวชิ าเฉพาะ ประมาณ 40 ต่อ 60 ทั้งนี้ ขนึ้ อย่กู บั ลักษณะหรือกระบวนการจัดการเรียนร้ขู องแต่ละสาขาวชิ า 1. การคดิ หน่วยกติ ตอ่ ภาคเรยี น 1.1 รายวิชาทฤษฎที ใี่ ชเ้ วลาบรรยายหรืออภิปรายไม่นอ้ ยกว่า 18 ชั่วโมงเทา่ กบั 1 หน่วยกติ 1.2 รายวิชาปฏบิ ัติที่ใช้เวลาในการทดลองหรือฝึกปฏิบัติในห้องปฏบิ ัติการไม่น้อยกว่า 36 ช่ัวโมงเท่ากบั 1 หนว่ ยกติ 1.3 รายวิชาปฏิบัติที่ใช้เวลาในการฝึกปฏิบัติในโรงฝึกงานหรือภาคสนามไม่น้อยกว่า 54 ชั่วโมงเท่ากับ 1 หนว่ ยกติ 1.4 การฝึกอาชพี ในการศกึ ษาระบบทวภิ าคไี ม่น้อยกวา่ 54 ชัว่ โมงเทา่ กับ 1 หนว่ ยกติ 1.5 การฝึกประสบการณ์ทักษะวิชาชีพในสถานประกอบการไม่น้อยกว่า 54 ชั่วโมงเท่ากับ 1 หน่วยกิต 1.6 การทาโครงการพฒั นาทกั ษะวชิ าชพี ไมน่ ้อยกว่า 54 ช่ัวโมงเทา่ กับ 1 หน่วยกติ 2. จานวนหน่วยกติ มีจานวนหนว่ ยกติ รวมระหว่าง 72–87 หน่วยกิต 3. โครงสร้างหลักสูตร 3.1 หมวดวชิ าทักษะชีวิตประกอบด้วยกลุ่มวิชาเพื่อพัฒนาผเู้ รียนใหม้ ีทักษะในการปรบั ตวั และดาเนินชีวิต ในสังคมสมัยใหม่เห็นคณุ ค่าของตนและการพฒั นาตนมีความใฝร่ ู้แสวงหาและพัฒนาความรู้ใหมม่ ีความสามารถในการ ใช้เหตุผลการคิดวิเคราะห์การแก้ปัญหาและการจัดการมีทักษะในการสื่อสารการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการ ทางานร่วมกบั ผอู้ ืน่ มคี ณุ ธรรมจรยิ ธรรมมนษุ ยสมั พันธร์ วมถงึ ความรบั ผดิ ชอบต่อตนเองและสงั คม การจัดวิชาในหมวดวิชาทักษะชีวิตสามารถทาได้ในลักษณะเป็นรายวิชาหรือลักษณะบูรณาการให้ ครอบคลุมกลุ่มวิชาภาษาไทยกลุ่มวิชาภาษาต่างประเทศกลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์กลุ่มวิชา สังคมศาสตร์กล่มุ วชิ ามนษุ ยศาสตร์ในสัดส่วนทเ่ี หมาะสมเพอื่ ให้บรรลุจุดประสงค์ของหมวดวชิ าทักษะชีวิต 3.2 หมวดวิชาทักษะวิชาชพี ประกอบด้วยกลุ่มวิชาที่พัฒนาผเู้ รียนใหเ้ กิดสมรรถนะวิชาชพี มีความสามารถ ในการคิดวิเคราะห์วางแผนจดั การประเมินผลแก้ปัญหาควบคุมงานสอนงานและพัฒนางานโดยบูรณาการความรู้และ ทักษะในการปฏบิ ัตงิ านรวมทัง้ ประยุกต์ส่อู าชพี ประกอบด้วย4กล่มุ ดังนี้ 3.2.1 กลมุ่ ทักษะวิชาชพี เฉพาะ

3.2.2 กลุ่มทักษะวชิ าชพี เลอื ก 3.2.3 ฝกึ ประสบการณท์ ักษะวิชาชีพ 3.2.4 โครงการพัฒนาทักษะวชิ าชพี ในการกาหนดให้เป็นสาขาวิชาใดสาขาวิชาหน่ึงต้องศึกษากลุ่มทักษะวิชาชีพเฉพาะในสาขาวิชานั้นๆ นอกจากน้ีกาหนดให้มีโครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพในกรณีที่จัดการศึกษาระบบทวิภาคีอาจยกเว้นการฝึก ประสบการณ์ทกั ษะวิชาชีพได้ 3.3 หมวดวิชาเลือกเสรีประกอบด้วยวิชาท่ีเก่ียวกับทักษะชีวิตหรือทักษะวิชาชีพเพ่ือเปิดโอกาสให้ผู้เรียน เลอื กเรยี นตามความถนัดและความสนใจเพื่อการประกอบอาชีพหรือการศึกษาตอ่ การยกเวน้ การเรียนรายวชิ าในหมวดวิชาทักษะชวี ิตหมวดวชิ าทักษะวชิ าชีพและหมวดวชิ าเลือกเสริมสามารถ ทาได้โดยการเทียบโอนผลการเรียนหรือโดยการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์เข้าสู่หน่วยกิตตามหลักสูตรตาม หลกั เกณฑ์และแนวปฏบิ ัตทิ ี่คณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษากาหนด 3.2 การฝึกอาชีพ ในสถานประกอบการ รัฐวิสาหกิจหรือหน่วยงานของรัฐ โดยมีระยะเวลาไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง ของการจัดการศกึ ษาแต่ละหลกั สตู ร ในการฝึกอาชีพในสถานประกอบการ ใช้ระยะเวลาไม่น้อยกว่า 2 ภาคเรียนหรือ 1 ปีการศึกษาของหลักสูตร แต่ละระดับ คือระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ฝึกอาชพี ไม่น้อยกวา่ 2 ภาคเรียน จากทง้ั หมด 6 ภาคเรียนระดับ ประกาศนียบตั รวิชาชพี ช้ันสูง (ปวส.) ฝกึ อาชพี ไม่น้อยกว่า 2 ภาคเรียน จากท้ังหมด 4 ภาคเรยี นและระดับปรญิ ญาตรี สายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบตั ิการ (ทล.บ.) ฝึกอาชีพไม่น้อยกว่า 2 ภาคเรียนจากท้ังหมด 4 ภาคเรียน (โดยไม่นับรวม ภาคฤดูร้อน) หมายเหตุ : 1. การนับภาคเรียนใหเ้ ป็นไปตามเกณฑ์การใชห้ ลกั สตู รของแต่ละระดับ 2. ลักษณะงานท่ฝี ึกอาชพี ต้องสอดคล้องกบั สมรรถนะวิชาชพี ของการเรียนรใู้ นสาขาวชิ าท่ผี ู้เรียนกาลงั ศกึ ษา 4. ผูส้ อนและบุคลากรสนับสนนุ การจัดอาชวี ศกึ ษาระบบทวภิ าคี คณุ สมบตั ิผู้สอน 4.1 คุณสมบัติผู้สอนเป็นผู้มีวุฒิการศึกษา มีความรู้ความสามารถท่ีตรงหรือเหมาะสมกับวิชาที่สอนตาม ประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร เรอื่ งมาตรฐานคุณวุฒอิ าชวี ศกึ ษาของแตล่ ะระดบั 4.2 ครูผู้สอนวิชาชีพในสาขาวิชาของสถานศึกษาที่จัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 ต้องได้รับการพัฒนาด้านวิชาชีพที่สอนไม่น้อยกว่า 80 ชั่วโมงต่อคนต่อปีการศึกษา จากสถานประกอบการที่ร่วม จัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี เพ่ือให้ครูผู้สอนในสถานศึกษาได้ไปเรียนรู้เทคโนโลยีสมัยใหม่ในสถานประกอบการ และสามารถวเิ คราะหง์ าน นามาพฒั นารายวิชาในหลักสตู รสามารถจดั ทาแผนการฝึกอาชีพและแผนการจดั การเรียนรู้

มุ่งเน้นสมรรถนะ คุณสมบัติของครูในสาขาที่ต้องพัฒนาด้านวิชาชีพ จึงควรเป็นครูผู้สอนในสาขาวิชาที่ดาเนินการจัด สอนระบบทวิภาคีกับสถานประกอบท่ีร่วมลงนามความร่วมมือและร่วมจัดการศึกษาระบบทวิภาคี หรือมีแผนการ ดาเนินการจัดการศึกษาในอนาคตรว่ มกัน 4.3 สถานศึกษาหรือสถาบันการอาชีวศึกษาต้องจัดให้มีผู้มีประสบการณ์ มีความชานาญและความเช่ียวชาญ ด้านวิชาชีพมาถ่ายทอดทักษะประสบการณ์และความรู้แก่ผู้เรียน ผู้สอนไม่น้อยกว่าปีละสองครั้งๆละ ไม่ต่ากว่าสอง ชั่วโมงต่อสาขาวิชาต่อภาคเรียน โดยผู้มีประสบการณ์และประสบความสาเร็จในอาชีพเฉพาะสาขา มีผลงานเป็นที่ ยอมรบั ในสังคมและทอ้ งถน่ิ และสามารถถา่ ยทอดความรู้ได้ ตามกฎหมายว่าด้วยการอาชวี ศกึ ษา 5. ทรัพยากรการเรยี นการสอนและการจัดการ 5.1 สถานศึกษาหรือสถาบันอาชีวศึกษาและสถานประกอบการที่ร่วมกันจัดอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ต้องมี วัสดุ ครุภัณฑ์ พ้นื ท่ี และอุปกรณ์การศกึ ษาสาหรับผู้เรยี น เพียงพอต่อการจดั การเรยี นการสอนและการฝึกอาชีพ 5.2 สถานศกึ ษาต้องมคี รูนิเทศกท์ สี่ อนวิชาชพี สาขานน้ั ๆ 5.3 สถานประกอบการตอ้ งมีบุคลากรผปู้ ระสานงาน และครฝู กึ 6.สถานศึกษาหรือสถาบนั อาชีวศึกษาทจ่ี ัดอาชีวศกึ ษาระบบทวิภาคี 6.1 สถานศึกษาหรือสถาบันการอาชีวศึกษาที่จัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีจะต้องปฏิบัติตาม หลกั เกณฑ์ ดงั น้ี 6.1.1 ผบู้ ริหารและบคุ ลากรในสถานศกึ ษาหรือสถาบนั การอาชวี ศึกษาต้องสง่ เสรมิ และสนับสนนุ การจดั การอาชีวศกึ ษาระบบทวิภาคีอย่างเปน็ ระบบและต่อเน่อื ง 6.1.2 จัดการเรียนในสาขาวิชาตรงความตอ้ งการของสถานประกอบการ 6.1.3 ทาบนั ทึกขอ้ ตกลงความร่วมมอื ระหวา่ งสถานศึกษาหรอื สถาบันการอาชีวศึกษา และสถานประกอบการ 6.1.4 ทาสัญญาการฝึกอาชพี ระหว่างผูเ้ รียนกับสถานประกอบการ 6.1.5 ทาแผนการเรียน แผนการฝึกอาชีพ และแผนการนิเทศร่วมกับสถานประกอบการตลอด หลักสตู ร 6.1.6 จัดใหม้ ีการปฐมนเิ ทศก่อนการฝึกอาชพี และปจั ฉิมนิเทศหลังเสรจ็ สิ้นการฝึกอาชีพ 6.1.7 เตรียมความพรอ้ มผู้เรยี นกอ่ นการฝึกอาชีพ 6.1.8 จัดใหม้ คี รูนเิ ทศก์การฝึกอาชีพในสถานประกอบการ 6.1.9 มีการกากบั ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการฝกึ อาชีพรว่ มกบั สถานประกอบการ 6.1.10 ประชาสมั พนั ธ์การจดั การอาชวี ศึกษาระบบทวิภาคใี ห้กบั สถานประกอบการ ผูเ้ รียน และผปู้ กครองทราบ

6.2 สถานประกอบการที่จัดการอาชีวศกึ ษาระบบทวิภาคตี ้องใหค้ วามร่วมมือ ดงั น้ี 6.2.1 ส่งเสริม และสนับสนุนการพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณธรรม จริยธรรมและคุณลักษณะ ท่ีพึงประสงค์ 6.2.2 จดั ลกั ษณะงานท่ีฝึกอาชีพให้สอดคลอ้ งกบั การเรียนรใู้ นสาขาวิชาท่ีผู้เรยี นกาลังศึกษา 6.2.3 ทาบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ ระหว่างสถานประกอบการกับสถานศึกษาหรือสถาบัน การอาชวี ศึกษา 6.2.4 ทาสัญญาการฝึกอาชีพระหว่างผเู้ รยี นกับสถานประกอบการ 6.2.5 ทาแผนการเรียน แผนการฝึกอาชีพและแผนการนิเทศร่วมกับสถานศึกษาหรือสถาบัน การอาชวี ศกึ ษาตลอดหลักสตู ร 6.2.6 ประเมนิ การฝึกอาชพี ร่วมกบั สถานศึกษาหรือสถาบนั การอาชีวศึกษา 6.2.7 จดั ใหม้ คี รูฝกึ ในสถานประกอบการ 6.2.8 จัดให้มีผู้ประสานงานและผู้ควบคุมการฝึกอาชีพ การจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ของ สถานประกอบการ 6.2.9 ประชาสมั พนั ธก์ ารจัดการอาชีวศึกษาระบบทวภิ าคีใหก้ ับผเู้ รียน ผู้ปกครอง และชมุ ชนทราบ 6.2.10 จัดใหม้ สี วสั ดกิ ารและหรอื เบย้ี เลี้ยงท่เี หมาะสมให้กับผู้เรยี น ตามขอ้ ตกลง 6.3 ครฝู ึกในสถานประกอบการตอ้ งมีคุณสมบัตแิ ละเป็นไปตามหลกั เกณฑ์ ดังนี้ 6.3.1 มคี ณุ สมบตั ิตามกฎหมายว่าด้วยการอาชวี ศึกษา 6.3.2 กาหนดจานวนครูฝึกในสถานประกอบการเพื่อการฝึกอาชีพระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ และ ประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง ต้องมีครูฝึกหนึ่งคนต่อผู้เรียนไม่เกินสิบคน ระดับปริญญาตรี สายเทคโนโลยีหรือสาย ปฏิบตั ิการ ตอ้ งมคี รูฝึกหนงึ่ คน ต่อผู้เรียนไม่เกินแปดคน 6.3.3 ไดร้ ับการแตง่ ตง้ั ให้เปน็ ครูฝกึ ตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการการอาชวี ศึกษากาหนด


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook