สงครามโลกครังที1,2 WORLD WAR I,II WaorrldI,II นําเสนอโดย นักเรยี นมธั ยมศกึ ษา ชนั ปท6ี /3
คาํ นาํ หนงั สืออเิ ลก็ ทรอนิกส์ (E-Book) นี จดั ทาํ ขึนเพือ ประกอบการเรียนการสอนในรายวิชา กาประวตั ศิ สตร์ มีเนอื หากียวกับซึงเปนสงครามโลกครังท1ี ,2(WORLD WAR I,II) ยคุ สําคัญยุคหนงึ ของโลกเปดยุคทีศิลปะมีความรงุ่ เรืองและมนี ักวิทยาศาสตร์ดงั มากมาย ในยคุ นี ผจู้ ัดทาํ หวงั เบนิ อย่งยิงว่จะเปนประโยชน์แก่ นกั เรียน และผู้สนใจได้ไมม่ ากก็ น้อย ผจู้ ัดทาํ คณะผูจ้ ัดทาํ
สารบญั 1 สงครามโลกครังที 1 2-5 สาเหตุสงครามโลกครังที 1 6-8 ผลของสงครามโลกครังที 1 9 สงครามโลกครงั ที 2 10-15 สาเหตสุ งครามโลกครังที 2 16 ชนวนระเบิดของสงครามโลกครงั ที 2 17 เหตุการณข์ องสงครามโลกครงั ที 2 18 ผลของสงครามโลกครงั ที 2 19 ไทย กบั สงครามโลกครงั ที 2 20 บรรณานกุ รม
สงครามโลกครงั ที 1 เรมิ ใน ค.ศ. 1914 สินสุดใน ค.ศ.1918 เปนความขัดแยง้ ระหว่างมหาอํานาจ 2 คา่ ย คอื ประกอบดว้ ย เยอรมนี ออสเตรยี – ฮังการี และอติ าล(ี ผ้นู าํ สําคญั คือบสิ มารค์ แห่งเยอรมนี) กับฝาย ประกอบดว้ ย Triple Entente ไดแ้ ก่บริเตนใหญ่ (อังกฤษ) ฝรังเศส และรัสเซีย การรบเรมิ ขึนหลงั การลอบสังหารมกฎุ ราชกมุ ารแห่งออสเตรยี – ฮังการี และสินสุดลงดว้ ย ความพ่ายแพ้ของมหาอํานาจกลาง หรือ Triple Alliance มีการทําสนธสิ ัญญาแวรซ์ ายส์ บังคบั ให้เยอรมนแี ละพันธมติ รเสียคา่ ปฏกิ รรมสงครามชดใช้จาํ นวนมหาศาลและเสียดนิ แดน ทเี ปนอาณานิคมให้แกฝ่ าย Triple Entente 1
สาเหตสุ งครามโลกครงั ที 1 ลัทธชิ าตินิยม การเกิดลทั ธิชาตนิ ิยมจากครสิ ตศ์ ตวรรษที 15 เปนต้นมา ทาํ ให้เกิดระบบรวมรฐั ชาติ สร้างระบบรวมอํานาจเขา้ สู่ส่วนกลาง รัฐชาตใิ นประเทศยโุ รปต่างแสวงหาความเปนมหาอํานาจ ทังทางทหารและเศรษฐกจิ รฐั ชาติหมายถงึ รฐั หรอื ประเทศทีประชาชนมีความรู้สึกผกู พันกัน มคี วามสามัคคี ภาคภมู ิใจในความเปนชาติ จงรักภกั ดตี อ่ พระมหากษัตริย์ ความรกั ชาติทรี ุนแรงจนเปนลัทธชิ าตนิ ยิ ม ทาํ ใหเ้ ชือวา่ ชาติตนเหนอื กวา่ ชาติอืน ผลกั ดนั ชาติ ของตนได้เปรียบชาตอิ นื ไมว่ ่าดา้ นเศรษฐกิจ หรือการทหาร นําไปสู่การแขง่ ขันอาํ นาจกัน จนกลายเปนสงคราม เชน่ สงครามการรวมอติ าลี การรวมเยอรมนี จนถงึ สงครามโลกครงั ที หนึง 2
สาเหตสุ งครามโลกครงั ที 1 ลัทธจิ ักรวรรดินิยม ลทั ธิชาตินิยมนาํ ไปสู่ลทั ธจิ กั รวรรดินิยม ลทั ธิจกั รวรรดนิ ิยม หมายถึงประเทศทีพัฒนา แล้วประสบความสําเรจ็ ดา้ นเศรษฐกิจ การทหาร และวิทยาศาสตร์ เขา้ ครอบครอง ทดี อ้ ย พัฒนากว่า ลัทธิจกั รวรรดินยิ มเรมิ จากปลายครสิ ตศ์ ตวรรษที 19 เมือมีการปฏิวตั ิอตุ สาหกรรม ทําใหต้ ้องการวตั ถุดิบและตลาด มหาอํานาจยุโรป เช่น องั กฤษ ฝรงั เศส ปรัสเซยี ( เยอรมนี) เนเธอร์แลนด์ ต่างแข่งขนั กันขยายอํานาจในการครอบครองดนิ แดนในทวีปเอเชยี อเมริกากลาง และอัฟรกิ าโดยครอบงาํ ทาวัฒนธรรม และวิถชี ีวิต เปนแหลง่ เก็บเกยี วผลประโยชนใ์ หเ้ มืองแม่ 3
สาเหตสุ งครามโลกครงั ที 1 การแบง่ กลุ่มพันธมิตรยุโรป นโยบายการรวมกลุม่ ทีมีผลประโยชน์ตรงกัน เริมต้นใน ค.ศ. 1907 เมอื เยอรมัน และ ออสเตรยี -ฮังการีลงนามในสนธิสัญญาพันธมติ รไตรมิตร (Triple Alliance )ประจันหนา้ กับ รัสเซีย เนอื งจากเยอรมนี ตอ้ งการไม่ให้รัสเซยี เปนใหญใ่ นชนเผ่าสลาฟแหลมสมุทรบอลขา่ น ตอ่ มามีอติ าลีมารว่ มประเทศ เพราะไม่พอใจฝรังเศสทีแยง่ ครอบครองตนู เิ ซีย ในฐานะรฐั ใน อารกั ขา ฝายออสเตรีย – ฮังการีซงึ ต้องการเปนใหญใ่ นแหลมบอลข่านเชน่ กนั โดยได้รับการ สนบั สนนุ จากเยอรมนี อังกฤษ ฝรังเศส และรสั เซียลงนามในสนธิสัญญาสันธไมตรีไตรมิตร (Triple Entente ) ค.ศ. 1907และเปนพันธมิตรกบั ญปี ุนดว้ ย 4
สาเหตสุ งครามโลกครงั ที 1 ความขดั แยง้ เรืองแหลมบอลข่าน สาเหตุสําคญั เกดิ จากการทีออสเตรีย – ฮังการีขดั แยง้ กับเซอร์เบยี เรอื งการสร้างเขต อทิ ธิพลในแหลมบอลขา่ น เยอรมนีสนับสนุนออสเตรีย – ฮังการี ขณะทีรัสเซียสนับสนนุ เซอรเ์ บีย ความขดั แยง้ ขยายความรนุ แรงเปนสงครามระหว่างรัฐในแหลมบอลข่าน มหาอํานาจจงึ มีโอกาส แทรกแซงและตงั กลุ่มพันธมติ ร จุดระเบิดของสงครามโลกครังที 1 มกฎุ ราชกมุ ารแห่งออสเตรีย-ฮังการีคือ อาร์ค ฟรานซสิ เฟอรด์ นิ านด์ กบั พระชายาโซเฟย ถกู ลอบปลงพระชนม์ในวนั ที 28 มถิ ุนายน ค.ศ.1914ทีเมืองซา ราเจโว ขณะเสดจ็ เยือนเมืองหลวงของบอสเนีย โดยคนรา้ ยชือ กาฟริโล ปรินซิพ นักศึกษาชาว บอสเนยี สัญชาตเิ ซอร์เบีย ออสเตรยี เรยี กร้องใหเ้ ซอรเ์ บียปฏบิ ตั ติ ามข้อเรียกร้อง เซอร์เบียปฏเิ สธ ออสเตรีย-ฮังการีจงึ ประกาศสงครามกับเซอร์เบยี 28 กรกฎาคม 1914 รัสเซียแสดงตนว่าเปนผู้ พิทักษ์เผ่าสลาฟจงึ ระดมพล เยอรมนปี ระกาศสงครามกับฝรังเศสและรสั เซีย ต่อมาองั กฤษเข้าสู่ สงครามเมือเยอรมนบี กุ เบลเยียม และญีปุนได้ประกาศสงครามตอ่ เยอรมนี เพราะมงุ่ หวงั ใน อาณานิคมของเยอรมนใี นจนี 5
ผลของสงครามโลกครงั ที 1 1. การสถาปนาองค์การสันนบิ าตชาติ แต่มีจดุ อ่อนในการรักษาสันตภิ าพ เพราะรสั เซีย ถอนตวั และสหรฐั อเมรกิ าไมเ่ ข้าเปนสมาชิก ทังยังไมม่ กี องทหารรกั ษาสันตภิ าพด้วย 2. เกดิ สนธสิ ัญญาสันตภิ าพทปี ระเทศผู้ชนะรา่ งขนึ มี 5 ฉบบั - สนธสิ ัญญาแวร์ซายส์ทํากบั เยอรมนี เยอรมนีตอ้ งเสียคา่ ปฏิกรรมสงครามจํานวนมหาศาล และเสียดินแดนหลายแหง่ ทาํ ให้เกิดวิกฤตเิ ศรษฐกจิ ทัวโลก ราคาสินค้าตกตาํ ในเยอรมนไี ม่ สามารถใช้หนีสงครามไดแ้ ละมองสนธิสัญญานวี ่าไม่เปนธรรม จนฮิตเลอรน์ ํามาประณามเมอื เริมมอี าํ นาจ - สนธสิ ัญญาแซงต์ แยร์แมงทาํ กับออสเตรยี - สนธสิ ัญญาเนยยี ทาํ กบั บัลแกเรีย - สนธสิ ัญญาตรอิ านองทํากบั ฮังการี - สนธิสัญญาแซฟส์ทาํ กบั ตุรกี ต่อมาเกิดการปฏิวัตใิ นตรุ กจี งึ มกี ารทาํ สนธิสัญญาใหม่เรียกว่า สนธสิ ัญญาโลซานน์ 6
ผลของสงครามโลกครงั ที 1 3. ความเหลอื มลําทางชนชัน และความยากจนตอ่ เนืองจากก่อนสงคราม นาํ ไปสู่การทีเลนนิ ปฏวิ ตั เิ ปลียนประเทศรสั เซีย เปนคอมมิวนิสตใ์ นช่วงปลายสงครามโลกครงั ที 1 4. เกิดประเทศใหม่ 7 ประเทศเนืองมาจากการแยกดินแดนได้แก่ ฮังการี ยโู กสลาเวีย โปแลนด์ เชคโกสโลวาเกีย ลทิ วั เนยี แลตเวีย แอสโตเนีย 7
ผลของสงครามโลกครงั ที 1 5. ในยุโรปมีรูปแบบของรัฐเผด็จการแบบเบด็ เสรจ็ ระหว่างสงครามโลกครังที 1 ไดแ้ กร่ สั เซีย เลนนิ ปฏิวตั ินําระบบคอมมวิ นสิ ต์มาปกครอง รสั เซยี ใน ค.ศ. 1917 และในค.ศ. 1924 -1953 สตาลินได้ใช้ระบบเผดจ็ การทเี น้นการปราบ ศัตรทู างการเมืองและการผกู ขาดอํานาจด้วยความรนุ แรงมากขนึ ส่วนในเยอรมนี ฮิตเลอร์ได้ เปนผูน้ าํ ใชร้ ะบบเผด็จการโดยอํานาจพรรคนาซี ตงั แต่ ค.ศ.1933 และในอติ าลี มสุ โสลนิ ีได้ตงั พรรค ฟาสซสิ ตข์ นึ ในเวลาต่อมา 8
สงครามโลกครงั ที 2 สงครามโลกครังทสี อง เปนสงครามทัวโลกกินเวลาตังแต่ป 1939 ถึง 1945 ประเทศส่วน ใหญ่ในโลกมสี ่วนเกยี วขอ้ ง รวมทังรัฐมหาอาํ นาจทงั หมด แบ่งเปนพันธมิตรทางทหารคสู่ งคราม สองฝาย คอื ฝายสัมพันธมติ รและฝายอักษะ เปนสงครามทีกว้างขวางทีสุดในประวตั ิศาสตร์ มี ทหารกวา่ 100 ล้านนายจากกว่า 30 ประเทศเขา้ รว่ มโดยตรง สงครามนมี ลี ักษณะเปน \"สงครามเบด็ เสรจ็ \" คือ ประเทศผูร้ ่วมสงครามหลักทมุ่ ขีดความสามารถทางเศรษฐกจิ อตุ สาหกรรมและวิทยาศาสตร์ ทังหมดเพือความพยายามของสงคราม โดยลบเส้นแบ่งระหวา่ งทรัพยากรของพลเรือนและ ทหาร ประเมนิ กันวา่ สงครามมีมูลค่าราว 1 ลา้ นล้านดอลลาร์สหรัฐ ประเมนิ กันว่ามีผ้เู สียชีวติ ระหว่าง 50 ถึง 85 ลา้ นคน ด้วยประการทังปวง สงครามโลกครังทีสองจงึ นบั ว่าเปนสงคราม ขนาดใหญท่ สี ุด ใช้เงินทุนมากทสี ุด และมีผู้เสียชวี ติ สูงสุดในประวัตศิ าสตร์มนษุ ยชาติ 9
สาเหตสุ งครามโลกครงั ที 2 1. ความไมย่ ตุ ิธรรมของสนธิสัญญา ข้อบกพร่องของสนธิสัญญาสันติภาพหลงั สงครามโลกครงั ที 1 มีสาเหตมุ าจากประเทศ ชนะสงคราม และประเทศทีแพ้สงครามต่างกไ็ ม่พอใจในขอ้ ตกลง เพราะสูญเสียผลประโยชน์ ไมพ่ อใจในผลประโยชนท์ ไี ดร้ บั โดยเฉพาะสนธสิ ัญญาแวร์ซายส์ทเี ยอรมนั ไม่พอใจในสภาพที ตนตอ้ งถกู ผกู มัดดว้ ยสัญญาและต้องการไดด้ นิ แดน ผลประโยชน์และเกยี รตภิ มู ทิ ีสูญเสียไป กลบั คืนมา (ความไมพ่ อใจของฝายผู้แพ้ในสงครามโลกครังที 1 ตอ่ ข้อตกลงสันติภาพ โดย เฉพาะสนธสิ ัญญาสันติภาพแวรซ์ ายส์) 10
สาเหตสุ งครามโลกครงั ที 2 เงือนไขของสนธสิ ัญญาแวรซ์ ายส์ 1.เยอรมนีตอ้ งรับผลจากการสงครามโลกครังที 1 อยา่ งรุนแรง ดังตอ่ ไปนีเยอรมนตี ้องสูญ เสียดนิ แดนของตนคือ อัลซาสลอเรนให้แกฝ่ รังเศส ต้องยอมยกดนิ แดนภาคตะวันออกให้ โปแลนดไ์ ปหลายแห่ง 2.ตอ้ งยอมใหส้ ันนบิ าตชาติเขา้ ดูแลแคว้นซารเ์ ปนเวลา 10 ป 3.เกดิ ฉนวนโปแลนด์ POLISH CORRIDOR ผ่านดนิ แดนภาคตะวันออกของเยอรมนีเพือให้ โปแลนด์มีทางออกไปสู่ทะเลบอลตกิ ทีเมืองดานซิก ซึงเยอรมนถี กู บังคบั ใหย้ กดนิ แดนดงั กล่าวใหโ้ ปแลนด์ เพือใชป้ ระโยชนท์ างเศรษฐกจิ ยงั ผลให้ปรสั เซียตะวนั ออกถูกแยกออก จากส่วนอืนของเยอรมนี ซงึ ฮิตเล่อร์ถอื วา่ เปนสิงทีเขาไมอ่ าจยอมรบั ไดต้ ่อไป 4.ตอ้ งสูญเสียอาณานิคมทงั หมดของตนให้แกอ่ งค์การสันนิบาตชาตดิ ูแลฐานะดินแดนใน อาณตั ิ จนกวา่ จะเปนเอกราช 5.ตอ้ งยอมจาํ กดั อาวธุ และทหารประจาํ การลงอย่างมาก 6.ต้องชดใชค้ ่าเสียหายเปนจาํ นวนมหาศาลใหแ้ ก่ประเทศทีชนะสงคราม 11
สาเหตสุ งครามโลกครงั ที 2 2. ความขัดแยง้ ทางดา้ นอุดมการณ์ทางการเมอื ง ระหว่างระบอบประชาธิปไตยกบั ระบอบ เผดจ็ การ ปญหาทางการเมือง และเศรษฐกจิ หลงั สงครามโลกครังที 1 ทําให้หลายประเทศหนั ไปใช้ ระบอบเผดจ็ การเพือแกป้ ญหาภายใน เช่น เยอรมนแี ละอิตาลี นําไปสู่การแบ่งกลมุ่ ประเทศ เพราะประเทศทีมีระบอบการปกครองเหมอื นกนั จะรวมกลุม่ กัน ความแตกต่างทางด้านการ ปกครอง กลมุ่ ประเทศฟาสซิสตม์ คี วามเข้มแขง็ มากขึน ได้รวมกันเปน มหาอาํ นาจอกั ษะ (Berlin-Rome-Tokyo Axis ) จุดประสงค์แรก คอื เพือตอ่ ตา้ นรัสเซยี ซงึ เปนคอมมวิ นิสต์ ตอ่ มาไดข้ ยายไปสู่การตอ่ ตา้ นชนชาตยิ ิวและนําไปสู่ความขดั แย้งกับประเทศฝายสัมพันธมิตร 12
สาเหตสุ งครามโลกครงั ที 2 3. ลัทธิชาตินิยมในประเทศเยอรมนี อติ าลี และญีปนุ ลัทธิชาตินิยมในชว่ งครสิ ตศตวรรษที 20 ซึงไดเ้ กดิ ขึนในหลายๆประเทศรวมทัง เยอรมนีดว้ ยเปน ลกั ษณะของลัทธิชาตินิยมมีลกั ษณะยาํ การดาํ เนนิ นโยบายของชาติของตน การดาํ รงไว้ซึงบูรณภาพของชาติ การเพิมอํานาจของชาติ ขณะเดยี วกนั เน้นความยิงใหญข่ อง อารยธรรมของตน มคี วามพยายามทีจะรักษาและเพิมพูนความไพศาล ศักดศิ รีและผล ประโยชนข์ องชาตติ นไว้ มีการเนน้ ความสําคัญของเชือชาติ เผา่ พันธ์ุของตน วา่ เหนือเชือชาติ หรอื เผา่ พันธุอ์ ืน เนอื งจากความไม่เปนธรรมของสนธสิ ัญญาแวรซ์ ายส์ และเยอรมนพี ัฒนาตนเองจน แขง็ แกร่งเปนอาณาจักรเยอรมนที ี 3 และมนี โยบายบกุ รุกดินแดน (นโยบายสรา้ งชาตภิ ายใต้ ระบอบเผดจ็ การ ฟาสซสิ ตใ์ นอิตาลี นาซีในเยอรมนั และเผดจ็ การทหารในญปี ุน) 13
สาเหตสุ งครามโลกครงั ที 2 4. ลทั ธนิ ยิ มทางทหาร ไดแ้ ก่ การสะสมอาวุธเพือประสิทธิภาพของกองทพั ทําให้เกิดความเครียด ระหวา่ งประเทศมากขึน และเกิดความไมไ่ ว้วางใจซึงกนั และกนั 5. นโยบายต่างประเทศทีไมแ่ น่นอนขององั กฤษ การใช้นโยบายออมชอมของอังกฤษเมือเยอรมนลี ะเมิดสนธสิ ัญญาแวร์ซายส์ เชน่ การเพิมกําลงั ทหารและการรุกรานดนิ แดนต่างๆ ทําใหเ้ ยอรมนแี ละพันธมิตรไดใ้ จ และรกุ รานมากขึน 14
สาเหตสุ งครามโลกครงั ที 2 6. ความออ่ นแอขององคก์ ารสันนบิ าตชาติ เนืองจากไม่มกี องทัพขององคก์ าร ทําให้ขาด อํานาจในการปฏิบตั กิ ารและอเมริกาไม่ได้ เปนสมาชกิ จงึ ทําให้องค์การสันนิบาต เปน เครืองมือของประเทศทีชนะใช้ลงโทษ ประเทศทแี พ้สงคราม (ความลม้ เหลวของ องคก์ ารสันนบิ าตชาตใิ นการเปนองคก์ ร กลางเพือเจรจาไกลเ่ กลียข้อพิพาทระหว่าง ประเทศ) และความออ่ นแอของ องค์การ สันนิบาตชาติ ทไี มส่ ามารถบงั คบั ประเทศที เปนสมาชกิ และไม่ปฏิบัติตามสัตยาบนั ได้ 7. บทบาทของสหรัฐอเมริกา สหรัฐปดประเทศโดดเดียว สมัยประธานาธบิ ดี มอนโร ตามแนวคดิ ในวาทะมอนโร สหรัฐจะไม่ แทรกแซงกิจการประเทศอนื และไม่ยอมให้ ประเทศอืนมาแทรกแซงกจิ การของตนเมอื เกดิ วกิ ฤตเศรษฐกจิ หลังสงครามโลกครังที 1 และ รฐั บาลไม่สามารถแก้ปญหาได้ ประชาชนจงึ เลอื ก พรรคเดโมแครต(Democratic Party)เขา้ มาเปน รัฐบาลปกครองประเทศโดยประธานาธบิ ดี แฟรง คลนิ ดี รสุ เวลท์ ไดร้ บั เลอื กตอ่ กันถึงสีสมัย ( ค.ศ.1933 – 1945 ) 8.สภาวะเศรษฐกจิ ตกตําทัวโลก ในชว่ งทศวรรษ 1920 – 1930 โดยเฉพาะช่วง ในป ค.ศ.1929-1931 ( ภายหลังสงครามโลก ครงั ที 1 ) 15
ชนวนระเบดิ ของสงครามโลกครงั ที 2 ชนวนทนี าํ ไปสู่สงครามโลกครังที 2 ฉนวนโปแลนด(์ Polish Corridor) มีชาวเยอรมนีอาศัยอย่มู าก เยอรมนีเสียดนิ แดนส่วนนใี หแ้ กโ่ ปแลนดต์ ามสนธิสัญญาแวรซ์ าย์ และฉนวนโปแลนดย์ งั แบง่ แยกดนิ แดน เยอรมนเี ปนสองส่วน คอื ส่วนปรัสเซียตะวันตกและปรสั เซียตะวันออก ฮิตเลอร์ ขอสรา้ งถนนผ่านฉนวน โปแลนดไ์ ปปรสั เซียตะวันออก อังกฤษและฝรงั เศสคัดคา้ น ฮิตเลอรจ์ ึงยกเลิกสัญญาทีเยอรมนจี ะไม่รุกราน โปแลนด์ และทาํ สัญญาไม่รกุ รานกับสหภาพโซเวียต เยอรมนีเรมิ สงครามดว้ ยการบุกโปแลนด์ 1 กันยายน ค.ศ. 1939 แบบสายฟาแลบ (Blitzkrieg) กองทพั เยอรมนบี ุกโปแลนดเ์ มอื 1 กันยายน 1939 เนืองจากโปแลนดป์ ฏเิ สธทีจะยกเมืองท่า ดานซกิ และฉนวนโปแลนด์ในเยอรมนี องั กฤษและฝรงั เศส ซงึ มีสัญญาคาํ ประกันเอกราชของโปแลนด์ อังกฤษ และฝรังเศสจึงยนื คาํ ขาดไดเ้ ยอรมนั ถอนทหารออกจากโปแลนด์ เมอื ฮิตเลอรไ์ ม่ปฏิบตั ติ าม ทงั สองประเทศ จงึ ประกาศสงครามกับเยอรมนี เมอื เรมิ สงครามนนั ประเทศคู่สงครามแบง่ ออกเปนสองฝาย คือ 1.ฝายอกั ษะ ไดแ้ ก่ เยอรมนี อิตาลีและญีปุน 2.ฝายสัมพันธมติ ร ไดแ้ ก่ องั กฤษ ฝรงั เศสและรัสเซยี ตอ่ มาประเทศต่าง ๆ ก็เขา้ กบั ฝายใดฝายหนงึ จนสงครามได้แผ่ขยายกลายเปนสงครามโลก ในป ค.ศ. 1942 ฝายอักษะ (ญีปุน เยอรมัน อติ าล)ี ได้บุกยึดยุทธภมู สิ ําคัญคือ รัสเซีย แอฟริกาเหนอื และแปซฟิ ก ซึงกป็ ระสบความสําเรจ็ เกือบทกุ แห่ง โดยเฉพาะญปี ุนซงึ ไดร้ ับชัยชนะมากทสี ุดในการยดึ ครองจกั รวรรดิ แปซิฟก ทงั นอี าจเนืองมาจากอาณานคิ มของตะวันตกไม่ตกสู้กบั ญปี ุนเพือชาวยุโรป ซงึ ผิดกบั ญปี ุนทถี ือ ประโยชน์จากคาํ ขวัญทวี า่ \"เอเชยี เพือชาวเอเชีย\" สําหรับสงครามในโลกตะวนั ออกนันเริมต้นขึนในราว ค.ศ. 1941 เมือญีปุนโจมตีฐานทพั เรือของ สหรัฐอเมริกาทีอา่ วเพิร์ลฮาเบอร์ ในวนั ที 7 ธันวาคม ป 1941 สหรัฐอเมรกิ าจงึ ประกาศสงครามกับญปี ุน และ หลงั จากนนั เพียงไม่กีวนั เยอรมนแี ละอิตาลกี ็ประกาศสงครามกบั สหรฐั อเมริกา เนอื งจากทงั สองประเทศ ไดท้ าํ สัญญาพันธมติ รกบั ญีปุน จึงเทา่ กับเปนแรงผลักดันให้สหรฐั อเมรกิ าเข้ารว่ มกับฝายสัมพันธมิตรอยา่ งเตม็ ตวั รวมทังประเทศต่าง ๆ ในทวีปอเมรกิ าใตต้ า่ งประกาศสงครามตามสหรัฐอเมรกิ าเกือบทงั สิน 16
เหตกุ ารณข์ องสงครามโลกครงั ที 2 •เยอรมนีโจมตีโปแลนด์ เมือ 1 กันยายน 1939วันที 3 กันยายน 1939 •องั กฤษและฝรังเศสประกาศสงครามกับเยอรมนี เยอรมนีทําการลบแบบสายฟาแลบ ได้ชัยชนะอยา่ งรวดเรว็ ได้ดินแดนโปแลนด์ เนเธอร์แลนด์ เบลเยียม เดนมารก์ และฝรงั เศส โจมตีองั กฤษ รัสเซยี ทางอากาศ ซงึ เปนสงครามทางอากาศทยี งิ ใหญท่ ีสุด สงครามใน ระยะแรกสัมพันธมิตรแพ้ทุกสนามรบ องั กฤษและฝรังเศสประกาศเข้ารว่ มสงคราม ดา้ นมหาสมทุ รแปซิฟก ญีปุนบุกแมนจูเรีย(จนี )ในป ค.ศ.1931 และเสนอแผนการทีจะสถาปนา “วงไพบูลยแ์ ห่งมหาเอเชียบูรพา” เพือผลประโยชน์ทางดา้ นเศรษฐกจิ และด้านอืนๆ ญปี ุนโจมตีฐานทพั เรอื สหรัฐอเมรกิ าที อา่ วเพิรล์ ฮาร์เบอร์ เมอื วันที 7 ธันวาคม ค.ศ. 1941 สหรฐั จึงเข้าสู่ สงครามโลกครงั ทีสอง โดยประกาศสงครามเขา้ ร่วมกับฝายพันธมิตร ขณะเดยี วกนั ญีปุนเปดสงครามในตะวนั ออก เฉียงใต้หรือเรยี กว่า “สงครามมหาเอเชยี บรู พา” เมอื เรมิ สงคราม สหรฐั อเมรกิ าวางตัวเปนกลาง แตเ่ มือญปี ุนโจมตีอา่ วเพิรล์ ฮาเบอรซ์ ึงเปนฐานทพั ของ สหรัฐอเมรกิ า ในมหาสมทุ รแปซิฟก เมอื วนั ที 7 ธนั วาคม 1941 สหรัฐอเมริกาจงึ เขา้ ร่วมในสงครามโลกครังที 2 กบั องั กฤษและฝรงั เศส ทําใหฝ้ ายพันธมติ รมชี ัยชนะ เมือวันที 7 พฤษภาคม 1945 ในระยะแรกของสงครามฝายอักษะได้เปรยี บอย่างเห็นไดช้ ัด แตห่ ลังจากวัน D-Day (Decision - Day) ซึงเปนวันทสี ัมพันธมติ รยกพลขึนบกทมี อร์มงั ดี (Nomandy)ประเทศฝรังเศสด้วยกาํ ลังพลนับลา้ นคน เครอื งบินรบ 11,000 เครอื ง เรอื รบ 4,000 ลาํ วถิ ขี องสงครามจึงค่อย ๆ เปลยี นด้านกลายเปนฝายสัมพันธมติ รไดเ้ ปรียบ การรบในแปซิฟก ญปี ุนเปนคสู่ งครามกับสหรฐั อเมรกิ า สงครามกย็ ตุ ิลงอย่างเปนรูปธรรมดว้ ยชัยชนะของฝาย สัมพันธมิตรโดยการทิงระเบิดปรมาณูลูกแรกชือลติ เติลบอย ทีเมืองฮิโรชิมา เมือวันที 6 สิงหาคม 1945 และลูกที 2 ชอื แฟตแมน ทีเมืองนางาซากิ เมือวนั ที 9 สิงหาคม 1945 และวนั ที 14 สิงหาคม 1945 ประเทศญีปุนประกาศยอม แพ้ เมือญปี ุนเซน็ ตส์ ัญญาสงบศึกกับสหรัฐอเมรกิ าบนเรือรบมสิ ซูรี ในวันที 14 สิงหาคม 1945 17
ผลของสงครามโลกครงั ที 2 1.การก่อตงั องค์การสหประชาชาติ 2.การเกิดประเทศเอกราชใหม่ ๆ และบางประเทศ 3.ถูกแบง่ ออกเปน 2 ส่วน เชน่ เยอรมนี เกาหลี เวียดนาม 4. สภาพเศรษฐกิจตกตํา 5.ความสูญเสียทางดา้ นสังคมและทางจิตวทิ ยา 6.เกดิ สงครามเย็นและการแบ่งกลมุ่ ระหว่างโลกเสรี 7.ประชาธไิ ตยกับโลกคอมมิวนิสต์ 18
ไทย กับสงครามโลกครงั ที 2 สาเหตทุ ไี ทยเขา้ ร่วมสงครามโลกครงั ทีสอง เหตุเพราะเรามีกาํ ลงั น้อยเมือญปี ุนบกุ จงึ ไมส่ ามารถตอ่ ตา้ นได้ และเพือปองกนั มใิ หต้ กอยูใ่ ตอ้ ทิ ธิพลของ ญปี ุนในด้านเศรษฐกิจและการเมือง ผลของสงครามตอ่ ไทย คือ ไทยต้องส่งทหารไปช่วยญีปุนรบ ไดด้ นิ แดนเชียงตุง และสีจังหวัดภาคใตท้ ีตอ้ งเสียแกอ่ งั กฤษกลับมา แต่ต้องคนื ให้เจ้าของเมือ สงครามสงบลง เกิดขบวนการเสรไี ทย ซึงใหพ้ ้นจากการยดึ ครอง ไทยได้รบั เกยี รติเปนสมาชกิ องค์การสหประชาชาติ สําหรับประเทศไทยนนั เราไดเ้ ขา้ รว่ มสงครามโลกครงั ทสี อง เปนเพียงประเทศเดียวในทวปี เอเชียและ แปซฟิ กไม่นับรวมญปี ุน ทีเข้ารว่ มกับพวกอักษะ สาเหตุการเข้าร่วมนนั สืบเนอื งมาจากการล่าอาณานิคม ของชาติตะวนั ตกในสมัย รัชกาลที 5 ทกุ ประเทศในฝงทะเลแปซิฟกและทะเลอันดามนั ถูกเปนเมอื งขึนกนั หมด เหลอื แต่ไทยและญปี ุนเทา่ นนั และจากการทีสยามโดนยึดดนิ แดนรอบนอกส่วนต่างๆ (ซึงเดมิ เปนของไทย)เชน่ เขมร ลาว บางส่วนของพมา่ บางส่วนของจีน และส่วนเหนือของมาเลเซยี ทีครงั หนึงเคยเปนของสยาม ทําให้เกดิ ความร้สู ึกชาตินยิ มขนึ มา ประกอบกบั เผด็จการจอมพล ป. พิบลู สงคราม ทตี ้องการนําส่วนทเี คยเสียไปกลับคนื มา จงึ ทําให้เราโจมตีอนิ โดจีนของฝรงั เศส เราจึงร่วมกบั ฝายญีปุน มมุ มองของญีปุนต่อไทยสมยั นนั ถอื ว่าเราเปนเมอื งทคี ่อนข้างเจริญ และไมเ่ คยถูกชาวตา่ งชาตคิ รอบงํา เหมอื นประเทศหลายๆ ประเทศในแถบนี จึงต้องการให้ไทยเข้ารว่ มกบั ฝายอกั ษะ เพราะนโยบายของญีปุน คือ ตอ่ ต้านและขบั ไล่ชาวตะวนั ตก ใหอ้ อกไปจากแผน่ ดินเอเชยี ใหห้ มด ประเทศตา่ งๆทีเปนเมอื งขนึ จึงถกู โจมตี 19
บรรณานุกรม https://sites.google.com/site/phumisastr1/sngkhramlok/sngkhr amlok-khrang-thi-1 https://sites.google.com/site/pemika309/sngkhramlok-khrang- thi? fbclid=IwAR1TWpMCku8iQMDHOuBLu9kMfllN89Qq_83wemSI_LnzM SnrEWU9CmFyXr4 20
ผูจ ดั ทํา นาย กรรชยั สินเอยี ม ม.6/3 เลขที 1 นาย ฐิรพล บตุ รเพชร ม.6/3 เลขที 2 นาย ณัฐพล เพลิดพริง ม.6/3 เลขที 5
Search
Read the Text Version
- 1 - 25
Pages: