วันสงกรานต์ 2563 ประเพณวี ันสงกรานต์ ประวตั ิความเป็นมาวนั สงกรานต์ วันสงกรานต์ ประเพณไี ทย สงกรานต์ซึ่ง เปน็ ประเพณีของประเทศไทย สงกรานตเ์ ป็นคาสนั สกฤต หมายถึง การ ผ่าน หรือ การเคล่อื นยา้ ย ซ่งึ เป็นการอปุ มาถงึ การเคล่อื นยา้ ยของการประทับในจกั รราศี...
ประเพณีสงกรานต์ ของไทยทีส่ บื กนั มาอย่างชา้ นาน โดยการนับ ระยะเวลาท่ีเส้นทางของ ดวงอาทิตย์โคจรผ่านกลุ่มดาวฤกษ์จักราศีท้ัง 12 กลุ่ม ประกอบด้วยกลุ่มดาวราศี เมษ พฤษภ เมถุน กรกฎ สิงห์ กันย์ ตุลย์ พิจิก ธนู มังกร กุมภ์ และ มีน การโคจร ผ่านกลุ่มดาวแต่ละกลุ่ม จะใช้ระยะเวลา ประมาณ 30 วัน เมื่อ ดวงอาทิตย์โคจรผ่าน กลุ่ม ดาว เหล่าน้ีครบท้ัง 12 กลุ่ม ก็จะได้ระยะเวลา 1 ปี พอดี เป็นวิธีการนับเดือนที่ใช้กันใน ประเทศ อนิ เดยี และกลุ่มประเทศในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ซ่ึงรับอิทธิพลทางวัฒนธรรมมาจาก อินเดีย เช่น ไทย พมา่ เขมร ลาว เปน็ ตน้ วนั มหาสงกรานต์ 13 เมษายน วันท่ี 13 เมษายน เป็นวัน\"มหาสงกรานต์\" หรือ วันเร่ิมต้นปีใหม่ ท้ังนี้เป็นเพราะเป็นจาก ช่วงเวลาที่ดวง อาทติ ย์โคจรผ่านจากราศมี นี เข้าสู่ ราศเี มษนนั้ โลกโคจรเป็นมุมฉากกับดวงอาทิตย์ จึง มีกลางวันและกลางคืนยาวเท่ากันพอดี วันสงกรานต์เป็นวันทาบุญใหญ่ประจาปี มี 3 วันคือ วัน มหาสงกรานต์หรอื วนั สง่ ท้ายปีเก่า (วันที่ 13 เมษายน) วันกลางหรือวันเนา (วันท่ี 14 เมษายน) วัน ขน้ึ ปใี หม่ หรือวนั เถลงิ ศก (วนั ที่ 15 เมษายน)
หรอื การเคลอ่ื นขนึ้ ปใี หมใ่ นความเชื่อของประเทศไทยและบางประเทศในเอเชียตะวัน ออกเฉียง ใต้ และชาวต่างประเทศจะเรียกว่าเทศกาลน้ีว่า “สงครามน้า” สงกรานต์ เป็นประเพณีเก่าแก่ของ ไทยซ่ึงสืบทอดมาแต่โบราณคู่มากับประเพณีตรุษ จึงมีการเรียกรวมกันว่า ประเพณีตรุษ สงกรานต์ หมาย ถึงประเพณีส่งท้ายปีเก่า และต้อนรับปีใหม่ คาว่าตรุษเป็นภาษาทมิฬ แปลว่าการ ส้นิ ปี เม่ือวนั สงกรานตต์ รงกับวนั ใดของแตล่ ะปี ซึ่งจะมีนางสงกรานตป์ ระจาวนั น้ันๆ ช่ือของนางสงกรานต์ ชื่อของนางสงกรานต์มี ดังนี้ วันอาทิตย์ ช่ือนางทุงษะเทวี วันจันทร์ช่ือนางโคราคะเทวี วัน อังคารช่อื นางรากษสเทวี วนั พธุ ชื่อนางมณฑาเทวี วันพฤหัสชื่อนางกิริณีเทวี วันศุกร์ชื่อนางกิมิทาเทวี วนั เสารช์ ่ือนางมโหธรเทวี นางสงกรานต์ ท้งั 7 ของท้าวกบิลพรหม
ตานานนางสงกรานต์ บุตรของเศรษฐีคนหนึ่งชื่อ ธรรมบาลกุมาร เป็นผู้ที่รู้ภาษานก เรียนไตรเพทจบ เม่ืออายุเจ็ด ขวบ เป็นอาจารย์บอก มงคลต่าง ๆ แก่มนุษย์ท้ังปวง ซึ่งในขณะน้ัน โลกทั้งหลายนับถือท้าว มหาพรหมและกบิลพรหมองค์หน่ึงว่า เป็นผู้แสดงมงคลแก่มนุษย์ทั้งปวง เม่ือกบิลพรหมทราบ จึงลง มาถามปัญหาธรรมบาลกุมาร 3 ข้อ สัญญาไว้ว่า ถ้าแก้ปัญหาได้จะตัดศีรษะบูชา ถ้าแก้ไม่ได้จะตัด ศรี ษะธรรมบาลกุมารเสยี ปัญหานัน้ ว่า ทา้ วกบลิ พรหมทรงตรสั ถามปญั หา 3 ข้อ ขอ้ 1. เชา้ ราศอี ยู่แหง่ ใด ข้อ 2. เทย่ี งราศีอยแู่ ห่งใด ข้อ 3. คา่ ราศอี ยแู่ หง่ ใด
ธรรมบาลขอผลัด 7 วัน คร้นั ล่วงไปได้ 6 วนั ธรรมบาลกมุ ารก็ยังคิดไมไ่ ด้ จงึ ลงจากปราสาทไป นอนอยู่ใตต้ น้ ตาลสองต้น มีนกอนิ ทรี 2 ตวั ผวั เมยี ทารงั อาศัยอย่บู นตน้ ตาลนนั้ ครัง้ เวลาค่านางนก อนิ ทรจี ึงถามสามวี ่า พรุ่งนจี้ ะไดอ้ าหารแห่งใด สามีบอกว่า จะไดก้ นิ ศพธรรมบาลกมุ าร ซ่งึ ทา้ วกบลิ พรหมจะฆ่าเสยี เพราะทายปญั หาไม่ออก นางนกถามว่า ปัญหานน้ั อยา่ งไรสามีจึงบอกว่า ปญั หาวา่ เช้าราศีอยแู่ หง่ ใด เทย่ี งราศีอยู่แห่งใด ค่าราศีอยแู่ ห่งใด นางนกถามวา่ จะแก้อย่างไร สามบี อกว่า เชา้ ราศีอยู่หน้า มนษุ ยท์ ้ังหลายจงึ เอาน้าลา้ งหน้า เวลาเท่ยี งราศอี ยู่อก มนุษยท์ ั้งหลายจึงเอาเคร่อื งหอม ประพรมทอ่ี ก เวลาค่าราศอี ยู่เท้า มนษุ ย์ทง้ั หลายจึงเอาน้าล้างเท้าครั้งรุ่งขึน้ ทา้ วกบลิ พรหมมาถาม ปัญหา ธรรมบาลกมุ ารก็แกต้ ามทีไ่ ด้ยินมา ทา้ วกบลิ พรหมจงึ ตรสั เรยี กเทพธดิ าทัง้ 7 ท้าวกบิลพรหมจึงตรัส เรียกเทพธิดาท้ัง 7 อันเป็นบริจาริกาพระอินทร์มาพร้อมกัน บอกว่า เรา จะตัดศีรษะบชู าธรรมบาลกุมาล ศรี ษะของเราถ้าจะตง้ั ไว้บนแผ่นดินไฟก็จะไหม้ทั่วโลก ถ้าจะท้ิงข้ึนบน อากาศ ฝนก็จะแลง้ ถา้ จะท้งิ ไวใ้ นมหาสมุทรนา้ กจ็ ะแห้ง ธดิ าท้ังเจ็ดเอาพานมารับศีรษะ แล้วกต็ ัดศรี ษะสง่ ใหธ้ ิดาผู้ใหญ่ นางจึงเอาพานมารับพระเศียรบิดา ไว้ แล้วแหท่ าประทักษิณ รอบเขาพระสุเมรุ 60 นาที จากนั้นเชิญไปประดิษฐานไว้ในมณฆปถ้าคันธุลี เขาไกรลาศ บูชาด้วยเครื่องทิพย์ต่าง ๆ พระเวสสุกรรมกันฤมิตรแก้วเจ็ดประการชื่อ ภควดี ให้เป็นที่ ประชุมเทวดา เทวดาทัง้ ปวงนาเอาเถาฉมลุ าด ลงมาล้างในสระอโนดาตเจ็ดคร้ัง แล้วแจกกันสังเวยทุก ๆ พระองค์ คร้ังถึงครบกาหนด 365 วัน โลกสมมติว่า ปีหน่ึงเป็นสงกรานต์นางเทพธิดาเจ็ดองค์ ผลดั เวรกนั มาเชิญพระเศียรท้าวกบิลพรหม ออกแหป่ ระทกั ษิณเขาพระสุเมรุทุกปี แล้วกลับไปเทวโลก ซ่ึงลกู สาวท้ังเจ็ดของท้าวกบิลพรหมนัน้
เราสมมติเรียกวา่ นางสงกรานต์ มีช่ือต่าง ๆ ดงั นี้ วนั อาทติ ย์ ชือ่ นางทุงษะเทวี วันจันทรช์ ่อื นาง โคราคะเทวี วันอังคารช่ือนางรากษสเทวี วนั พธุ ชื่อนางมณฑาเทวี วนั พฤหัสชอ่ื นางกริ ณิ ีเทวี วันศกุ ร์ชอ่ื นางกมิ ทิ าเทวี วันเสาร์ชื่อนางมโหธรเทวี ความหมายวันมหาสงกรานต์ของแตล่ ะวัน ถา้ ปใี ดวันมหาสงกรานต์เป็นวันอาทติ ย์ ปีนน้ั ไรน่ าเรือกสวน เผือกมัน มสิ ู้แพงแล วันจันทร์เป็นวัน มหาสงกรานต์ จะแพ้เสนาบดี ทา้ วพระยาและนางพระยาทัง้ หลาย วันอังคารและวันเสาร์ เป็นวันมหาสงกรานต์ จะเกิดอันตรายกลางเมือง จะเกิดเพลิงและโจร ผู้รา้ ย และจะเจบ็ ไข้นักแล วันพุธ เป็นวันมหาสงกรานต์ ว่าท้าวพระยาจะได้เคร่ืองบรรณาการมาแต่ ต่างเมอื ง แต่จะแพ้ลูกอ่อนนักแล วนั พฤหสั บดีเป็นวันมหาสงกรานต์ จะแพ้ข้าไท พระสงฆ์ราชาคณะจะได้รับความเดือดเน้ือร้อนใจ กนั แล วันศุกรเ์ ป็นวนั มหาสงกรานต์ ข้าวน้า ลูกหมากรากไม้ทั้งหลายจะอุดม แต่จะแพ้เด็ก ฝนและพายุ ชมุ จะเจบ็ ตากันมากนกั แล สาดน้า เล่นสงกรานตข์ องชาวภาคเหนือ
ความสาคัญของวนั สงกรานต์ พิธสี งกรานต์ ถือเป็นประเพณีการเฉลมิ ฉลองวันขึ้นปใี หม่ของไทยท่ียึดถือปฏิบัติ มาแตโ่ บราณ ชว่ งวนั สงกรานต์จึงเป็นวนั แหง่ ความเอือ้ อาทร ความรกั ความผกู พัน ทมี่ ตี อ่ กนั ทง้ั ครอบครัว ชมุ ชน สงั คม และศาสนา แต่ปจั จุบนั ได้เปลี่ยนไปสู่สงั คมในวงกวา้ ง และมแี นวโนม้ ท่ีจะเปลย่ี นทศั นคติ และ ความเช่ือส่วนนัน้ ไปและ ในความเช่ือดงั้ เดิมท่ใี ชส้ ัญลักษณ์เปน็ องค์ประกอบหลักในพธิ ี ได้แก่ การใช้ น้าเป็นตวั แทน แก้กนั กบั ความหมายของฤดูร้อน ชว่ งเวลาที่พระอาทิตย์เคล่อื นเข้าสู่ราศีเมษ ใชน้ ้ารด ให้แก่กันเพือ่ ความชุม่ ชื่น และขอพรจาก บิดา มารดา ปู่ ย่า ตา ยาย รวมท้งั แสดงความกตัญญู กตเวทติ าต่อบรรพบรุ ษุ ท่ีลว่ งลบั ไปแล้ว ดว้ ยการทาบญุ อุทศิ ส่วนกศุ ลไปให้ การสร้างความสมัคร สมานสามัคคีในชมุ ชน ไดแ้ ก่ การรว่ มกันทาบุญให้ทาน การกอ่ พระเจดีย์ทรายและเปน็ การทานบุ ารุง พระพุทธศาสนา การเล่นสาดน้าเพือ่ ความสนุกสนานรน่ื เริงร่วมกัน นอกจากนี้ ยงั สร้างความรู้สกึ ผูก พนั กลมเกลยี วตอ่ บุคคลในสังคมเดียวกัน และสร้างความรูส้ กึ หวงแหนในสาธารณสมบตั ขิ องสงั คม และสิ่งแวดล้อมโดยการช่วยกนั ทาความสะอาดบา้ นเรือน วดั วาอาราม ตลอดจนอาคารสถานท่ีสถานที่ ต่างๆ เวลาได้เปลย่ี นไป ผคู้ นได้มกี ารเคลอื่ นยา้ ยทอ่ี ยเู่ ข้าส่เู มอื งใหญ่ๆ และจะถอื เอาวันสงกรานตเ์ ป็น วัน “กลบั บ้าน” ทาให้การจราจรคับค่ังในช่วงวันก่อนสงกรานต์ วนั แรกของเทศกาล และวันสดุ ทา้ ย ขอเทศกาล นอกจากน้ี เทศกาลสงกรานต์ยัง ถูกใชใ้ นการส่งเสรมิ การท่องเทย่ี ว ทงั้ ตอ่ คนไทย และตอ่ นักทอ่ งเทยี่ วต่างประเทศ ปจั จบุ นั นเี้ ทศกาลสงกรานตม์ พี ัฒนาการและมีแนวโน้มวา่ ได้มกี ารเสริมจน คลาด เคล่ือนบดิ เบือนไป เกิดการประชาสัมพนั ธใ์ นเชิงการทอ่ งเทยี่ วว่าเปน็ ‘Water Festival’ เปน็ ภาพของการใชน้ ้าเพ่ือแสดงความหมายเพียงประเพณีการเลน่ เท่านน้ั สงกรานต์ Festivel ซง่ึ เปน็ เอกลกั ษณ์ของประเทศไทย
ปฏทิ นิ ไทยในขณะนี้กาหนดให้เทศกาลสงกรานต์ตรงกับวันที่ 13-15 เมษายน ของทุกปี และ เปน็ วนั หยุดราชการ อยา่ งไรกต็ าม ประกาศสงกรานต์อย่างเป็นทางการจะคานวณตามหลักเกณฑ์ใน คัมภีร์สรุ ิยยาตร์ ซึ่งแตโ่ บราณมา กาหนดให้วนั แรกของเทศกาล เปน็ วันทพี่ ระอาทิตย์ย้ายออกจากราศี มีนเข้าสู่ราศีเมษ เรียกว่า “วันมหาสงกรานต์” วันถัดมาเรียกว่า “วันเนา” และวันสุดท้าย เป็นวัน เปล่ยี นจลุ ศกั ราชและเรม่ิ ใช้กาลโยคประจาปีใหม่ เรียกว่า “วันเถลิงศก” จากหลักการข้างต้นน้ี ทาให้ ปจั จุบันเทศกาลสงกรานต์มกั ตรงกับวันที่ 14-16 เมษายน (ยกเว้นบางปี เช่น พ.ศ. 2551 และ พ.ศ. 2555 ท่ีสงกรานต์กลบั มาตรงกบั วนั ที่ 13-15 เมษายน) ซง่ึ บางปกี ็อาจจะตรงกบั วนั ใดวนั หน่ึง กจิ กรรมในวันมหาสงกรานต์ พทุ ธศาสนกิ ชนใสบ่ าตรทาบุญใน วันสงกรานต์ ทาบุญตักบาตร วันมหาสงกรานต์ ประชาชนจะลุกข้ึนมาตอนเช้าเพื่อที่จะจัดเตรียมอาหาร ไปตัก บาตรถวายพระ พอจัดเตรียมอาหารเสร็จก็จะ บรรจงลงภาชนะมีถ้วยโถโอชามท่ีสวยงาม แล้วเอาวางเรียงลงในถาด เพ่ือนาไปทาบุญตักบาตรและเลี้ยงพระประจาหมู่บ้านของ ตน เรื่องการแต่งตัว จะแต่งตัวด้วยเสื้อผ้าที่สะอาดสวยงามมิดชิดเหมาะแก่การไปวัดของ ชาวบา้ น
กอ่ พระเจดยี ์ทราย วันสงกรานต์ กอ่ พระเจดีย์ทราย ในสมัยก่อนทีเรื่องเล่าขานกันว่าทุกคนเม่ือเข้าวัดมาแล้วเวลาเดินออกจากวัดจะมีเม็ดทรายติด เท้าออกไปด้วยเพราะฉะน้ันเพื่อเป็นการเติมเต็มจึงมีการขนทรายเข้าวัดหรือการก่อพระเจดีย์ทราย น้ันเองแต่ถึงอย่างไรแล้วการก่อพระเจดีย์ทรายก็เป็นเพียงกิจกรรมอย่างหน่ึงท่ีให้ชาวบ้ านมีส่วน ร่วมกนั ทาเพราะตอนเย็นๆชาวบ้านก็จะพากันไปที่ท่าน้าแล้วขนทรายกันมาคนละถังเพ่ือนาทรายมา ก่อเปน็ พระเจดยี ์นน่ั ถือว่าเป็นกิจกรรมอย่างหนึ่งที่จะให้ชาวบ้านมีความสามัคคีกรมเกลียวเพราะเม่ือ ขนทรายเข้าวัดแล้วทรายก็จะล้นวัดพระสงฆ์ก็จะนาทรายที่ชาวบ้านขนมานาไปคืนสู่ แม่น้าดังเดิม เพราะไมร่ ้จู ะเก็บไว้ทาอะไรเพราะฉะนน้ั แลว้ เวลาขนทรายเขา้ วัดควรจะขนเพียงแค่เล็กน้อยเท่าน้ันพอ เพราะจะสรา้ งความลาบากให้พระเณรในภายหลัง
พทุ ธศาสนกิ ชนรว่ มใจปล่อยนก วันสงกรานต์ ปลอ่ ยนกปล่อยปลา การปลอ่ ยนกปลอ่ ยปลาในวนั มหาสงกรานตถ์ อื วา่ ทากันอาจจะเป็นประเพณีเลยทเี ดียวเพราะนั่น ถือว่าเม่ือเข้าวัดมาแล้วก็ต้องทาบุญโดยการปล่อยนกปล่อยปลาถ้าถือตามความเชื่อแล้ว อ า นิ ส ง ส์ ใน การปล่อยนกปล่อยปลาถอื ว่ามมี ากเลยทีเดยี วแลว้ แตใ่ ครจะอธิฐานแบบไหนเพราะการให้ชีวิตใหม่แก่ สตั วท์ ่ีถูกจับมาทรมานถือว่าได้บุญมากเลยทีเดียวเพราะฉะนั้นไม่แปลกเลยถ้าถึงวันสงกรานต์จะเห็น ประชาชนปลอ่ ยนกปลอ่ ยปลา
พุทธศาสนิกชนร่วมใจสรงน้าพระ วนั สงกรานต์ สรงนา รดนา และสาดนา การสรงน้าพระพุทธรปู มีดอกไม้ ธปู เทียน ไปบูชา แล้วเอาน้าอบไปประพรมท่ีองค์พระ ทาเป็น สังเขปพอเป็นพิธีว่าได้แสดงความเคารพบูชาและสรงน้าท่านในวันข้ึนปีใหม่แล้ว เมื่ออัญเชิญ พระพุทธรูปมา ก็มีการแห่แหนกันอย่างสนุกสนาน สรงน้าพระพุทธรูปแล้วก็มีการสรงน้าพระสงฆ์ โดยมากมักเป็นสมภารเจ้าวดั เปน็ การสรงน้าจริงๆ สรงเสรจ็ ครองไตรจีวรใหม่ที่อุบาสกอุบาสิกานามา ถวาย ท่านก็ข้ึนธรรมาสน์เทศน์อานวยพรปีใหม่ให้แก่ผู้ที่ไปสรงน้า นอกจากน้ียังมีการ รดน้าญาติ ผู้ใหญ่ หรือผูซ้ ึง่ เป็นทีเ่ คารพนับถอื เพือ่ ขอศลี ขอพรตามประเพณี
ร่ม ฉตั ร วันสงกรานต์ ****************************************** ท่มี า https://www.dmc.tv/pages/scoop/ประวตั คิ วามเป็นมาของเทศกาลสงกรานต.์ html
Search
Read the Text Version
- 1 - 12
Pages: