LArts Online Education โครงการห้องเรียนออนไลน์ต้นแบบ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
Online Learning เพราะโควิด จึงทำให้เราต้องห่างกันซักระยะ การเรียน Online หรือ Online Learning เป็นการเรียนด้วยการใช้ Internet โดยผู้เรียนกับผู้สอนไม่ต้องอยู่ ในห้องเรียนเดียวกัน การเรียนที่ตรงข้ามกับการเรียน Online คือ การเรียนแบบปกติ (Usual Instruction) ที่มีผู้สอนและผู้เรียนอยู่ในห้องเรียนเดียวกันเห็นหน้ากัน หรือ เรียกว่า แบบ “face-to-face” การเรียนแบบ Online นี้จัดเป็นการศึกษาทางไกล ตามประกาศของคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) เรื่อง แนวปฏิบัติ ตามหลักเกณฑ์การขอเปิดและดำเนินการหลักสูตรระดับปริญญาระบบการศึกษาทางไกล พ.ศ. 2548 ลง ประกาศเมื่อวันที่ 24 มกราคม 2549 โดยเฉพาะในข้อ 7.3 ที่เป็นการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์และบังคับให้ การเรียนการสอนมีองค์ประกอบหลักอยู่ 12 ประการ ได้แก่ (1) Homepage (2) Content Presentation (3) Learning Resources (4) External Resources (5) E-Laboratory (6) AV Center (7) Assessment (8) Web board (9) Chat room (10) E-mail Address (11) Frequency Asked Questions และ (12) Personal profile ดร.ชนัญชิดา ยุกติรัตน์
Google Site for Education
การเตรียมตัว หลายคนอาจจะยังสงสัยว่า การจะเป็นครูสอน ออนไลน์ จะต้องทำอย่างไรบ้าง ? ขั้นตอนต่อไปนี้จะ อธิบายถึงขั้นตอนการทำวิชาออนไลน์ด้วยตัวเองแบบ ง่าย ๆ แล้วคุณจะรู้เลยว่า การสอนผู้อื่นผ่านวิชาออนไลน์ นั้นไม่ยากอย่างที่คิด ดร.ชนัญชิดา ยุกติรัตน์
สำหรับผู้สอน การสอนและการเรียนรู้ทางออนไลน์เป็นการสอนผ่านทางอินเทอร์เน็ต การสอนออนไลน์ประกอบด้วยการโต้ตอบแบบเรียลไทม์ (Real-time) (Synchronous) และทุกที่ทุกเวลา (Asynchronous) โดยทั้ง 2 กระบวนการเกิดขึ้นแบบคู่ขนานในสภาพแวดล้อมการเรียน ▪แบบออนไลน์สร้างปรากฏการณ์ในการเรียนดังนี้ การเรียนรู้แบบออนไลน์ช่วยกระตุ้นให้ผู้เรียนมีความกระตือรือร้นมากขึ้น ▪ทั้งผู้เรียนและโค้ชมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ผ่านการใช้เทคโนโลยีและชำนาญในการเทคโนโลยีในการสอนและการเรียนรู้มากขึ้น จากข้างต้นระบุแนวทางในการเรียนรู้ออนไลน์มี 2 วิธี ประกอบด้วย การเรียนรู้แบบ Synchronous และ Asynchronous โดยการ เรียนรู้แบบแรกที่เรียกว่า Synchronous คือการสอนและการทำงานร่วมกันใน \"เวลาจริง\" ผ่านทางอินเทอร์เน็ต ดร.ชนัญชิดา ยุกติรัตน์
การเรียนรู้แบบ Synchronous โดยทั่วไปจะเกี่ยวข้องกับเครื่องมือและ การเรียนรู้แบบ Asynchronous โดยทั่วไปการเรียนในระบบนี้จะเกี่ยวข้อง กิจกรรมดังนี้ กับเครื่องมือและกิจกรรมดังนี้ ▪แชทสดหรือกิจกรรมการสนทนาสด ▪อีเมล์ ▪การประชุมทางเสียงและวิดีโอ ▪สร้างหัวข้อในการสนทนา ▪การแบ่งปันข้อมูลและแอพพลิเคชั่น ▪กลุ่มข่าวสารและกระดานข่าว ▪แชร์ไวท์บอร์ด ▪แนบไฟล์ ▪การแสดงสัญลักษณ์ \"ยกมือ\" เพื่อแสดงความคิดเห็น ▪ร่วมดูงานและนำเสนอมัลติมีเดียหรือสไลด์โชว์ออนไลน์ สำหรับหลักสูตรแบบ Asynchronous จะต้องมีโค้ชหรือผู้ออกแบบการ สอนเป็นผู้อำนวยความสะดวกเพียงแต่ไม่ได้ดำเนินการในแบบเวลาจริงหรือ ในขณะที่วิธีการเรียนรู้แบบ Asynchronous จะไม่ได้ในแบบ “เวลาจริง” Real-time ซึ่งหมายความว่าผู้เรียนและโค้ชสามารถมีส่วนร่วมในกิจกรรมที่ หรือ Real-time อาจด้วยสาเหตุจากความล่าช้าของระบบอินเตอร์เน็ต เกี่ยวข้องกับหลักสูตรได้ตามความสะดวกมากกว่าการเรียนในชั้นเรียนปกติ นอกจากนี้ในหลักสูตรแบบ Asynchronous การเรียนรู้ไม่จำเป็นต้องมีการ กำหนดเวลาเช่นเดียวกับการเรียนรู้แบบ Synchronous ทำให้ผู้เรียนและโค้ช หรือผู้ออกแบบการสอนสามารถใช้ระบบให้ได้รับประโยชน์จากทุกที่ทุก เวลา ดร.ชนัญชิดา ยุกติรัตน์
ขั้นตอนที่ 1 วางโครงสร้างรายวิชา / วางแผนการสอน การวางแผนหลักสูตร การออกแบบหลักสูตรการเรียนในเวลาเรียนปกติไม่ จะเห็นได้ว่าทั้งสองตัวอย่างนี้ สอนวิชา Digital Sketching เหมือนกัน แต่ถ้า แตกต่างกับหลักสูตรออนไลน์ แต่ในขณะเดียวกันสภาพแวดล้อมในการ กลุ่มเรียนต่างกัน สาระและเนื้อหาของวิชานี้ก็จะแตกต่างกันโดยสิ้นเชิง เรียนออนไลน์มีอุปสรรคและเวลาหรือโอกาสพิเศษสำหรับผู้เรียนและโค้ช เนื่องจากกลุ่มเป้าหมายนักเรียนนั้นต่างกัน เนื้อหาของสองวิชานี้จึงแตก หรือผู้สอนมากกว่าการเรียนในเวลาปกติ การเรียนออนไลน์จะต้องมีองค์ ต่างกันโดยสิ้นเชิง ทั้งนี้ผู้สอนต้องเข้าใจก่อนว่า ณ ปัจจุบัน เราไม่สามารถ ประกอบของหลักสูตรที่น่าสนใจเป็นพิเศษเพื่อดึงดูดและกระตุ้นความ จัดการเรียนการสอนในชั้นเรียนได้ปกติ การจะจัดระบบการสอนเพื่อสร้าง สนใจให้กับผู้เรียนในระบบออนไลน์ เพื่อลดความตึงเครียดที่เกิดขึ้นใน แรงจูงใจให้ผู้เรียนอยากเรียน และบรรลุเป้าหมายในเรื่องต่างๆ เนื้อหา การเรียนก็จะต้องมีการจัดระเบียบเวลาและมีความยืดหยุ่นในช่วงที่มีการ สาระจะต้องได้รับการวางแผนเป็นอย่างดี พักการเรียนการสอนเช่น ช่วงเวลากลางเทอม เป็นต้น ในขั้นตอนนี้ ผู้สอนต้องวางแผนวิชาออนไลน์ของตนว่าจะมีสื่อที่ใช้ในการ สอนอะไรบ้าง จำนวนเท่าไหร่ มีเนื้อหาอย่างไร ความยาวของคลิป หรือการ ตัวอย่าง สอน ในแต่ละครั้ง ควรใช้เวลาเท่าไหร่ โดยผู้สอนจะต้องเข้าใจว่า การสอน ฉันจะสอนวิชา Digital Sketching ให้กับนักศึกษาชั้นปีที่ 1 ที่ไม่เคยวาด ออนไลน์ ไม่เหมือนกันสอนหน้าชั้นเรียน ไม่สามารถควบคุมพฤติกรรม รูปภาพมาก่อน เพื่อให้นักศึกษาวาดรูปบนอุปกรณ์ดิจิตัลได้ ความตั้งใจของนักเรียนที่มีจำกัดได้ ดังนั้นการสอนแต่ละครั้ง ต้องกระชับ หรือ ที่สุด และจะต้องเตรียมสื่อ แบบฝึก ช่องทางการติดต่อผู้เรียนเพื่อให้คำ ฉันจะสอนวิชา Advance Digital Sketching ให้กับนักศึกษาชั้นปีที่ 3 เพื่อ แนะนำหรือความช่วยเหลือ รวมถึงการนัดหมายทบทวนเป็นกลุ่มหรือเป็น ให้นักศึกษาประยุกต์เทคนิคการวาดภาพสร้างสรรค์และสามารถวาดภาพ รายบุคคลด้วย บนอุปกรณ์ดิจิตัลได้อย่างมืออาชีพ ข้อสังเกต--->>> การสร้างสาระการสอน ควรจัดเป็นบท (Chapter) หรือ เป็นตอน โดยในแต่ละบท ควรแบ่งหัวข้อย่อย ให้สาระครอบคลุมตามคำ อธิบายรายวิชา และวัตถุประสงค์ ด้วย ดร.ชนัญชิดา ยุกติรัตน์
ขั้นตอนที่ 2 เตรียมมีเดียและเอกสารประกอบการสอนออนไลน์ให้พร้อม ผู้สอนจะต้องเตรียมมีเดีย เช่น ไฟล์เสียง คลิปวีดีโอ หรือ interactive ส่ิงที่ไม่ควรเกิดขึ้นในสื่อ>>> media อื่น ๆ ให้พร้อมในทุกบทเรียนและหัวข้อย่อย และจำเป็นอย่าง ในวีดีโอนี้ผมจะสอน...เอ่อ...วิธีการสร้าง...เอ่อ...pivot table บน Excel ยิ่ง จะต้องแนบเอกสารประกอบการสอนออนไลน์ เพื่อให้นักศึกษาได้ นะครับ ก่อนอื่นนะครับ ให้ทุกคนกด...เอ่อ แปปนะครับ...ผมว่ามันน่า ดาวน์โหลดหรือพิมพ์ สำหรับเตรียมตัวก่อนเรียนและทบทวนหลัง จะอยู่ตรงนี้...อ่าเจอแล้วครับ...ให้กดปุ่มนี้ครับ เรียน ในกรณีที่มีข้อผิดพลาดเกิดขึ้นในขณะถ่ายทำการสอน ให้ใช้เทคนิค สำหรับมีเดียประเภทต่าง ๆ ที่ใช้ในการสอน ...ผู้สอนจะต้องเตรียมตัว ตัดต่อและสื่อกราฟฟิคเข้ามาช่วย จะทำให้คลิปวิดีโอลื่นไหลขึ้น และเตรียมบทให้พร้อม อาจไม่จำเป็นต้องพูดถูกต้อง 100% เหมือน เรื่องที่สำคัญมากกว่าการอ่านบทไม่คล่อง หรือผิดคิว ก็คือ...สภาพ นักพูดมืออาชีพ แต่อย่างน้อยผู้สอนควรต้องพูดให้ลื่นหู ไม่ แวดล้อม สิงรบกวน แสง เสียงและบุคลิกภาพของผู้สอน ไม่ส่งเสริม ตะกุกตะกัก เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเรียนและเข้าใจได้ง่าย และแสดง ให้เกิดการเรียนรู้.....>>> เพราะอาจจะคิดว่าสอนอยู่ที่บ้าน เราทำตัว ให้เห็นว่าผู้สอนมีความตั้งใจที่จะสอนจริงๆ ทั้งหมดนี้อยู่ที่การเตรียม สบาย ๆ กันได้...แต่จริง ๆ แล้วความผิดพลาดในข้อนี้อาจทำให้ผู้ ตัวของผู้สอน ผู้สอนควรจะเตรียมสอนเสมือนกับว่าตัวเองต้องไปพูดที่ เรียนไม่อยากจะเข้าห้องเรียนก็ได้....ดังนั้น ก่อนการถ่ายทำคลิป ผู้ หน้าห้อง ควรจะต้องมีสคริปท์ในระดับหนึ่ง คือไม่จำเป็นต้องละเอียด สอนควรต้องทดลองมุมกล้อง ตรวจสอบคุณภาพแสง ตรวจสอบ ยิบ แต่ต้องรู้ในภาพใหญ่ว่าเราจะพูดอะไรในแต่บท และมีลำดับขั้น คุณภาพเสียง และจะต้องจัดเตรียมตัวเองให้พร้อมก่อนการถ่ายทำ ตอนอย่างไร การเตรียมตัวที่ดีจะเป็นประโยชน์ต่อการเรียนรู้ของผู้ คลิปทุกครั้ง เรียนมาก และที่สำคัญ มันจะช่วยให้ผู้สอนประหยัดเวลา จากการที่ไม่ ต้องมาอัดวีดีโอซ้ำแล้วซ้ำอีก ดร.ชนัญชิดา ยุกติรัตน์
เพิ่มเติม--->>> หลักสูตรออนไลน์เป็นหลักสูตรพิเศษ ผู้เรียน ในหลักสูตรออนไลน์จำเป็นต้องรู้เป้าหมายของหลักสูตร เนื่องด้วยผู้เรียนในระบบออนไลน์แต่ละคนจะมีโอกาสที่จะ ประสบปัญหาที่ไม่สามารถขอความช่วยเหลือจากเพื่อนร่วม เรียนได้ทันที และโครงสร้างหลักสูตรที่ชัดเจนจะเป็นการ กำหนดระยะเวลาในการเรียน เวลาในการเข้าร่วมกิจกรรม กำหนดวิธีการและสถานที่ รวมทั้งการทดสอบด้วย ดังนั้น การออกแบบโครงสร้างหลักสูตรที่เหมาะสมจะช่วยกระตุ้น การมีส่วนร่วมของผู้เรียนและอำนวยความสะดวกในการ เรียนรู้ของผู้เรียนได้อีกด้ว
ขั้นตอนที่ 3 ถ่ายวีดีโอ แบบที่ 2: ถ่ายวีดีโอแบบเห็นหน้าผู้สอน รูปแบบนี้เหมาะกับการสอนด้านการพัฒนาตัวเอง และ soft การถ่ายคลิปวิดีโอมี 3 แบบ skills ต่างๆ เช่น การพูด การขาย การพรีเซนต์ เป็นต้น และเห็น แบบที่ 1: ถ่ายวีดีโอโดยการบันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ ได้บ่อยในวีดีโอแนะนำวิชาออนไลน์ ซึ่งค่าใช้จ่ายในการถ่ายทำ รูปแบบนี้ถือเป็นรูปแบบที่ง่ายที่สุด ซึ่งเหมาะสมและเห็นได้บ่อย นั้นไม่ได้สูงอย่างที่คิด ณ ปัจจุบันกล้องถ่ายรูปชนิดเล็กหรือแม้ ในการสอนการใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ และในกรณีที่มี กระทั่งสมาร์ทโฟนก็สามารถถ่ายวีดีโอในระดับ 1080p ได้แล้ว เอกสารประกอบเช่น PowerPoint หรือ Excel สำหรับรูปแบบนี้ ทำให้คุณภาพออกมาคมชัด ไม่จำเป็นต้องจ้างภาพมืออาชีพเพื่อ ขอเพียงเรามีโปรแกรมที่อัดหน้าจอเช่น Screenflow และ ถ่ายวีดีโออีกต่อไป Camtasia Studio หรือโปรแกรมฟรีอย่าง Camstudio ผู้สอนก็ สามารถอัดทั้งภาพทั้งเสียงได้ แบบที่ 2: ถ่ายวีดีโอแบบเห็นหน้าผู้สอน รูปแบบนี้เหมาะกับการสอนด้านการพัฒนาตัวเอง และ soft skills ต่างๆ เช่น การพูด การขาย การพรีเซนต์ เป็นต้น และเห็นได้บ่อย ในวีดีโอแนะนำวิชาออนไลน์ ซึ่งค่าใช้จ่ายในการถ่ายทำนั้นไม่ได้ สูงอย่างที่คิด ณ ปัจจุบันกล้องถ่ายรูปชนิดเล็กหรือแม้กระทั่งสมา ร์ทโฟนก็สามารถถ่ายวีดีโอในระดับ 1080p ได้แล้ว ทำให้ คุณภาพออกมาคมชัด ไม่จำเป็นต้องจ้างภาพมืออาชีพเพื่อถ่าย วีดีโออีกต่อไป ดร.ชนัญชิดา ยุกติรัตน์
ขั้นตอนที่ 4 ตัดต่อคลิปวิดีโอ การตัดต่อวีดีโอนั้นมีความสำคัญต่อการถ่ายทำวีดีโอในรูปแบบผสม ผสาน รูปแบบสัมมนา และผู้ที่ต้องการให้เสียงมีคุณภาพที่ดี โปรแกรมตัดต่อสามารถทำให้เราสลับภาพไปมาได้ ใส่เอฟเฟค และ การ synchronize เสียงที่ถูกบันทึกจากเครื่องอัดเสียงภายนอก ซึ่งการ ตัดต่อวีดีโอนั้นไม่ยากอีกต่อไป หลายๆบริษัทยักษ์ใหญ่อย่าง Apple ได้ออกโปรแกรมตัดต่อวีดีโอ อาทิ iMovie และ Final Cut Pro ซึ่งง่าย สำหรับผู้ใช้งานทั่วไป ส่วนโปรแกรมบันทึกหน้าจอเช่น Screenflow และ Camtasia ก็รองรับการตัดต่อวีดีโอเช่นเดียวกัน โดยทุก โปรแกรมมีหลักการใช้งานที่ไม่ต่างกัน ถ้าเราใช้อันใดอันหนึ่งเป็น แล้ว การหัดใช้โปรแกรมของค่ายอื่นก็เป็นเรื่องง่าย ดร.ชนัญชิดา ยุกติรัตน์
ขั้นตอนที่ 5 เผยแพร่ หลักจากที่ผู้สอนได้เตรียมหลากหลายสื่อคุณภาพแล้ว ก็จะต้องนำสื่อ หรือมีเดียทั้งหมด สู่ระบบออนไลน์ ผ่านช่องทางต่าง ๆ ที่ผู้สอนคาดว่า ผู้เรียนจะเข้าถึงสื่อนั้น ๆ ได้ หรืออาจะเป็นช่องทางที่ผู้สอนได้วางแผน และตกลงกับผู้เรียนไว้แล้ว ตัวอย่างช่องทางและการเข้าถึง >>>>> ▪Youtube channel ▪google drive ▪pinterest ▪facebook ▪Line group ดร.ชนัญชิดา ยุกติรัตน์
สำหรับผู้เรียน การเตรียมตัวเพื่อการศึกษาด้วยตนเอง นักศึกษาไม่ต้องเข้าชั้นเรียน แต่สามารถศึกษาด้วยตนเองที่บ้านได้จากสื่อประเภทต่าง ๆ ที่ผู้สอนได้จัดให้ เช่น เอกสารประกอบการสอน สไลด์ประกอบการสอน แบบฝึกหัด คลิปวีดีโอ และการสอนแบบเรียลไทม์ การเรียนในช่วงสถานการณ์โควิด-19 เป็นการเเรียนแบบประสม ประกอบด้วย การแบบออนไลน์และออฟไลน์ การเรียนในแบบที่ไม่ได้ เข้าชั้นเรียนนี้จะประสบความสำเร็จได้ ขึ้นอยู่กับความตั้งใจและความมุ่งมั่นของนักศึกษา โดยผู้สอนจะเป็นเพียงผู้จัดประสบการณ์ในรูปแบบของสื่อต่าง ๆ และให้ความช่วย เหลือ คำแนะนำแก่นักศึกษาเท่านั้น เพื่อให้การเรียนได้สัมฤทธิ์ผลดังเป้าประสงค์ จะต้องยึดมั่นในแนวทางปฏิบัติตามคำแนะนำ ดังนี้ 1. นักศึกษาจะต้องเข้ากลุ่มเรียนแบบระบบ social (line group, Facebook page) ตามที่ผู้สอนจัดให้ เพื่อใช้ในการแจ้งข่าว มอบหมายงาน และให้คำแนะนำ 2. นักศึกษาจะสามารถรับทราบข้อมูลได้จากเวปไซต์ของอาจารย์ผู้สอน 3. นักศึกษาจะต้องเข้าสู่ชั้นเรียนเสมือน google classroom ในรายวิชาที่ได้ลงทะเบียนเรียน และ จะต้องเข้าเรียนด้วยระบบ conference ตามตารางเรียน 4. นักศึกษาจะต้องเตรียมอุปกรณ์ที่ใช้ในการเรียน อาทิ โทรศัพท์มือถือ หรือแทปเลต หรือไอแพด หรือโน๊ตบุ๊ก หรือคอมพิวเตอร์ ที่สามารถเชื่อมต่อระบบเครือข่าย หรือ WIFI 5. นักศึกษาจะต้องดาวน์โหลดเอกสาร และ/หรือ สไลด์ประกอบการสอน แล้วเรียนรู้ด้วยตัวเองล่วงหน้าก่อนเข้าชั้นเรียนเสมือน และทำกิจกรรมตามเอกสารใบงานหรือแบบ ฝึกหัดให้ครบถ้วน และควรจัดเวลาในการทบทวนตามสื่อที่อาจารย์ผู้สอนได้เตรียมให้ 6. นักศึกษาจะต้องเข้าชั้นเรียนเสมือน (conference) แบบเรียลไทม์ อย่างน้อย 60% ของเวลาเรียนทั้งหมด และจะต้องทำกิจกรรมตามแผนการเรียนไม่น้อยกว่า 80% 7. การเข้าเรียนชั้นเรียนเสมือน (conference) แบบเรียลไทม์ทุกรบัง นักศึกษาจะต้องเข้าระบบก่อนเวลานัดหมายอย่างน้อย 20 นาที เมื่อเข้าระบบแล้วควรปิดไมโครโฟนและ เปิดกล้องทุกครั้ง ทั้งนี้นักศึกษาสามารถนัดเรียนเพิ่มเติมเป็นรายบุคคลได้ 8. ควรเรียนรู้และพัฒนาทักษะการเรียนรู้ รวมทั้ง new skill เช่น การสืบค้นข้อมูลออนไลน์ การถ่ายภาพและตกแต่งภาพ การถ่ายวีดิโอและการตัดต่อคลิป การใช้คอมพิวเตอร์ กราฟฟิค การคำนวณและการวิเคราะห์ 9. ในบางกิจกรรมที่ไม่สามารถส่งผลงานผ่านระบบออนไลน์ให้ผู้สอนได้ นักศึกษาจะต้องส่งผลงานด้วยระบบชนส่ง โดยจะต้องบรรจุให้เรียบร้อยและส่งตามเวลาที่กำหนด 10. นักศึกษาจะต้องเข้าสอบประเมินวัดผลของแต่ละรายวิชาตามวันและเวลาที่ผู้สอนได้นัดหมายไว้ 11. ในสิ้นเทอมการศึกษา นักศึกษาจะต้องสรุปเนื้อหาที่เรียน ผลงาน กิจกรรม โครงการหรือผลสืบเนื่องจากการเรียนรู้ในลักษณะของเวปไซต์ บล็อก แฟ้มผลงานหรือแกลเลอรี ออนไลน์ (เป็นส่วนสำคัญในการวัดผล) ดร.ชนัญชิดา ยุกติรัตน์
ส่ิงสำคัญในการเรียนออนไลน์ .... นักศึกษาจะต้องมีความมุ่งมั่น ต้องพยายามเรียนรู้และแก้ ปัญหาในการเรียนด้วยตนเอง (ในกรณีต้องการความ ช่วยเหลือ ให้ติดต่อผู้สอน) จะต้องซื่อสัตย์ และมีความรับ ผิดชอบต่อตนเองสูง ความเปลี่ยนแปลงในระบบการ เรียนการสอนครั้งนี้ จะสำเร็จได้เมื่อ \"ตนเตือนตน\" .........\"ตนระวังตน\"......... ขอให้นักศึกษาทุกคนประสบความสำเร็จในการเรียนดัง ตั้งใจ
กรณีเรียนแบบเรียลไทม์/ออนไลน์: นักศึกษาจะต้องเตรียมสัญญาณเครือข่ายหรือสัญญาณ WIFI ให้พร้อม กรณีเรียนแบบออฟไลน์: เพื่อเตรียมตัวก่อนเรียนและ ทบทวนหลังเรียน นักศึกษาจะต้องดาวน์โหลดเอกสารหรือไฟล์บทเรียนหรือ แบบฝึกหัดไว้ทำงานก่อนและหลังการเรียนแบบเรียลไทม์
อุปกรณ์ที่รองรับสัญญาณเครือข่ายหรือ WIFI ▪โทรศัพท์มือถือ หรือ ▪ไอแพด หรือ ▪แทปเลต หรือ ▪โน๊ตบุค / คอมพิวเตอร์
เครื่องพิมพ์/ปริ้นเตอร์ เครื่องพิมพ์จะช่วยให้นักศึกษาพิมพ์เอกสาร / บทเรียน / แบบฝึกหัด เพื่อที่จะใช้ในการเรียน / ทบทวน ในแบบออฟ ไลน์ หมายเหตุ: อาจมีหรือไม่มีก็ได้ (แต่เห็นสมควรควรมี)
นักศึกษาจะต้องดาวน์โหลดแอปพลิเคชั่นเพื่อช่วยในการ เรียนรู้ เช่น facebook, line, google, gmail, zoom, loom, google classroom, ms team, google meet และอื่น ๆ ตามที่ อาจารย์ผู้สอนแจ้งก่อนเรียน หมายเหตุ: นักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนกับ ดร.มอร์แกน ทุกวิชา จะใช้ Line (กลุ่มวิชา) เวปไซต์ google classroom, ms team และ google mee
▪การเรียนในระบบ conference online ผ่านแอปพลิเคชั่นที่กำหนด ▪นักศึกษาจะต้องเข้าเรียนตามตารางเรียน เช็คเวลาเข้าเรียนไม่น้อย กว่า 60% จะต้องทำกิจกรรมตามแผนการเรียนไม่น้อยกว่า 80% ▪นักศึกษาจะต้องเข้าเรียนตามเวลาที่นัดหมาย (จะต้องเข้าระบบก่อน เวลาจริงอย่างน้อย 20 นาที) ▪เมื่อเข้าระบบ conference ควรปิดไมโครโฟน และเปิดกล้องทุกครั้ง ▪นักศึกษาสามารถนัดเรียนเพิ่มเติมได้เป็นรายบุคคล
▪ทักษะการสืบค้นออนไลน์ / เข้าใจเรื่องกฏหมายลิขสิทธิ์ /การคัดลอก วรรณกรรม ▪ทักษะการใช้แอปพลิเคชั่นเพื่อการเรียนรู้ ▪ทักษะการถ่ายภาพและตกแต่งภาพ / การถ่ายวีดิโอและตัดต่อ / การสร้าง กราฟิคและสื่อ ▪บุคลิกภาพ การสื่อสาร การนำเสนอผลงาน ▪ทักษะการใช้โปรแกรมพื้นฐาน / การคำนวณ / การวิเคราะห์
ในบางกิจกรรมหรือบางแบบฝึกหัด ที่ไม่สามารถส่งงานผ่าน ระบบออนไลน์ได้ นักศึกษาจะต้องนำส่งผ่านระบบขนส่ง เช่น ไปรษณีย์ไทย เคอร์รี่เอ็กเพลส แฟลชเอ็กเพลส หรือ Grap / Line man / massenger โดยจะต้องใช้บรรจุภัณฑ์อย่างระมัดระวัง
เมื่อสิ้นสุดเทอมการศึกษา นักศึกษาจะต้องสรุปเนื้อหาที่เรียน ผลงาน กิจกรรม โครงการ หรือผลสืบเนื่องจากการเรียนรู้ในลักษะของเวปไซต์ บล๊อก แฟ้มผลงานหรือแกลลอรี่ออนไลน์ (เป็นส่วนสำคัญในการ วัดผล)
อุปกรณ์ในการสอนออนไลน์
ผู้สอนจะต้องเตรียมอุปกรณ์ให้พร้อมในการสอนออนไลน์ ทั้งในการสร้าง เอกสาร ถ่ายและตัดต่อคลิป ออนไลน์ และใช้ในการสอนแบบเรียลไทม์ จะ สรุปอุปกรณ์อย่างง่าย เพื่อการสร้างคอร์สเรียนออนไลน์อย่างมือาชีพ มีดังนี้ อุปกรณ์ที่รองรับสัญญาณเครือข่ายหรือ WIFI ▪โทรศัพท์มือถือ หรือ ▪ไอแพด หรือ ▪แทปเลต หรือ ▪โน๊ตบุค / คอมพิวเตอร์
โปรแกรมหรือแอปพลิเคชั่นที่ใช้ในการตัดต่อ ▪Imovie: ดาวน์โหลดได้ที่ iOS ▪ADOBE PREMIERE CLIP : ดาวน์โหลดได้ที่ iOS and Android ▪KINEMASTER: ดาวน์โหลดได้ที่ iOS and Android ▪VIVAVIDEO – VIDEO MAKER: ดาวน์โหลดได้ที่ iOS and Android ▪Splice: ดาวน์โหลดได้ที่ iOS แอปพลิเคชั่นที่ใช้ในการตัดต่อมีมากมาย ขึ้นอยู่กับความต้องการของผู้สอน ทั้ง ในแบบที่ต้องซื้อและใช้ฟรี ....จะต้องลองดาวน์โหลดมาใช้แล้วตัดสินใจว่าแอป พลิเคชั่นใดที่เหมาะสมกับการทำงานสร้างสื่อของผู้สอน
Google account ผู้สอนจะต้องมี Google account ที่ทางมหาวิทยาลัยได้จัดเตรียมไว้ ให้ ในการลงทะเบียนในระบบต่าง ๆ เพื่อใช้ในการสอนออนไลน์
การสร้างเวปไซต์ด้วย google site
เกี่ยวกับ Google Site Google site เป็นเครื่องมือสำหรับการสร้างเว็บไซต์ เพื่อใช้สำหรับภายในทีม ใช้เป็นตัวช่วยในการทำ Project ต่างๆ หรือแม้ กระทั่งใช้สำหรับเป็นเว็บไซต์ภายนอกก็ได้เช่นกัน การทำเว็บไซต์ผ่าน Google Site คุณสามารถสร้างไซต์ได้ด้วยตัวเอง โดยที่ไม่ต้องมี Programmer , Web Designer หรือเจ้า หน้าที่ IT คอยช่วยเหลือ เมื่อสร้างไซต์ใหม่ขึ้นมา ข้อมูลจะถูกบันทึกอัตโนมัติไปยัง Drive เช่นเดียวกับไฟล์อื่นๆ ที่อยู่บน Google Drive คุณสามารถ แก้ไข Google Site ร่วมกันกับผู้ใช้งานคนอื่นๆ ในระยะเวลาเดียวกันได้แบบ Real time และสามารถดูได้ว่า ผู้ใช้งานคนนั้นๆ แก้ไขส่วนใดอยู่ พร้อมกันนั้น คุณยังสามารถตั้งค่าการเข้าถึงของ Site ดังกล่าวได้ผ่านการกำหนด Permission จึงทำให้มั่นใจได้ว่าบุคคลใด จะมีสิทธิ์เข้าถึง Google Site นี้ได้ สำหรับ Google Site ถูกออกแบบมาเป็นเว็บไซต์แบบ Responsive ซึ่งนั่นหมายถึงคุณสามารถออกแบบสำหรับ Tablet และ Smartphone ได้เช่นกัน
เมื่อพูดถึงเรื่องการสร้างเว็บไซต์ ความเข้าใจของทุกคน Features หลักๆ ของ Google Sites มีอะไรบ้าง แต่ก่อนคือต้องเป็นผู้มีความรู้ด้าน Program coding ที่ เป็นภาษาสำหรับเว็บไซต์ จึงจะสามารถสร้างเว็บไซต์ 1. สามารถเพิ่ม Logo ของเว็บไซต์โดยใช้วิธีการ Upload หรือเลือก เพื่อใช้งานได้ จาก Google Drive พร้อมกันนั้นยังเลือกได้ว่าจะให้แสดงในรูปแบบ ใด แต่ถ้าหากเป็น Google Sites คุณไม่จำเป็นจะต้องเป็นผู้ 2. สามารถสร้าง Banner โดยใช้รูป Upload หรือเลือกจาก Google เชี่ยวชาญด้าน Programing หรือด้าน Website designer Drive ได้ หรือแม้กระทั่งอาจจะไม่จำเป็นต้องขอคำแนะนำจากเจ้า 3. สามารถเพิ่มเมนูได้มากกว่า 1 หน้า ทำให้สามารถแบ่งการแสดง หน้าที่ ที่ดูแลด้าน IT ของคุณเลยด้วยซ้ำ คุณก็สามารถ ผลได้ง่ายยิ่งขึ้น สร้างเว็บไซต์เพื่อไว้ใช้งานใน Team หรือใช้เป็นเว็บไซต์ 4. สามารถแบ่ง Layout เพื่อให้แสดงผลได้อย่างสวยงาม ให้ข้อมูลทั่วไปสำหรับองค์กรของคุณ ก็สามารถทำได้ 5. สามารถแทรก Embed code ซึ่งจะใช้สำหรับวีดีโอจาก Youtube หรือแทรกแผนที่จาก Google Maps หรือ Application อื่นๆ ที่รองรับ Embed code 6. สามารถแทรกเว็บไซต์อื่นๆ มายัง Sites ของท่านผ่าน URL link ได้ 7. สามารถแทรกไฟล์ได้ทุกส่วนที่เป็นไฟล์ของ Google Dirve เช่น Google Doc , Google Sheet , Google Form ฯลฯ
โดย Google Sites สามารถผูก Domain หลักของท่านเข้ายัง Google Sites เพื่อเรียกใช้งานผ่านชื่อ Domain จริงๆ ไม่ต้องผ่าน site.google.com ได้ด้วย การทำ Web Address Mapping นั่นเอง แต่จะ ต้องใช้สิทธิ์ Admin เพื่อดำเนินการ ส่วนดังกล่าว สร้าง Domain 1.เข้าสู่หน้า Admin > Apps > GSuite > Sites (Link) 2.เลือกเมนู Web Address Mapping > ADD A NEW WEB ADDRESS 3.ใส่ค่าที่ให้ถูกต้อง เช่น Site Location คือ Path ของ Google Site Web Address คือ Sub Domain ที่จะใช้งานจริง หลังจากนั้นเลือก Add Mapping 4.เมื่อ Add Mapping แล้ว ระบบจะให้เพิ่มค่า CNAME record ตามที่ระบบแจ้ง และรอค่า DNS update อาจจะ ใช้ระยะเวลาสักครู่หนึ่ง (จากที่ทดสอบจะใช้ระยะเวลา ประมาณ 1-3 ชั่วโมง)
วิธีการใช้งาน Google Sites ท่านสามารถเรียนรู้ได้จาก Google Sites learning center ได้ตาม Link ด้านล่างนี้ https://gsuite.google.com/learning-center/products/sites/get- started/#!/section-1 ส่วนที่ 1 การสร้างเว็บไซต์
1.1 สร้างเว็บไซต์ ให้ทำตามดังต่อไปนี้ ▪จากหน้าแรกของ Sites ให้คลิกสร้าง ▪จาก Google ไดรฟ์ ให้คลิก ใหม่ เพิ่มเติม Google Sites หมายเหตุ: ระบบจะเก็บ Sites ทั้งหมดไว้ในไดรฟ์ โปรดดูหัวข้อ เริ่มต้นใช้งานไดรฟ์เพื่อดูข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการใช้ไดรฟ์จัด ระเบียบไฟล์
1.2 ตั้งชื่อเว็บไซต์ เมื่อสร้างเว็บไซต์ใหม่ ระบบจะเพิ่มไปยังไดรฟ์ เช่นเดียวกับไฟล์ อื่นๆ ในไดรฟ์ โดย Sites จะบันทึกการเปลี่ยนแปลงทั้งหมดของ คุณโดยอัตโนมัติ แต่จะไม่เผยแพร่สู่สาธารณะจนกว่าคุณจะเผย แพร่ด้วยตัวเอง 1.ชื่อเอกสารของเว็บไซต์ - ป้อนชื่อที่ไม่ซ้ำกันเพื่อติดตาม เว็บไซต์ ชื่อเอกสารของเว็บไซต์จะปรากฏให้คุณเห็นเท่านั้น 2.ชื่อเว็บไซต์ - ชื่อเว็บไซต์จะปรากฏในส่วนหัวและในแถบชื่อ หน้าต่างของเว็บหรืออุปกรณ์เคลื่อนที่หลังจากที่คุณเผยแพร่ เว็บไซต์ คุณต้องมีหน้าเว็บ 2 หน้าขึ้นไปในเว็บไซต์เพื่อให้ชื่อ เว็บไซต์ปรากฏ 3.ชื่อหน้าเว็บ - แต่ละหน้าในเว็บไซต์จะมีชื่อซึ่งจะปรากฏที่ด้าน บนของหน้าเว็บ ชื่อหน้าเว็บจะปรากฏในเมนูการนำทางด้วย
1.3 เลือกเลย์เอาต์ คลิกเลย์เอาต์ที่ด้านขวา แล้วเลือกเลย์เอาต์แบบอื่นสำหรับส่วน ต่างๆ ของหน้าเว็บ
1.4 เลือกภาพพื้นหลัง ประเภทส่วนหัว และธีม 1.เปลี่ยนภาพพื้นหลัง เลือกรูปแบบให้กับเว็บไซต์ของคุณ โดยแต่ละธีมจะมีพื้นหลังที่ 1) ไปที่ Sites และเปิดไซต์ กำหนดล่วงหน้า รูปแบบสี และการเลือกฟอนต์ คุณจะปรับ 2) ชี้ไปที่ภาพพื้นหลังแล้วคลิกเปลี่ยนรูปภาพ เปลี่ยนแบบอักษร สี และพื้นหลังในภายหลังได้ และยังเปลี่ยน 3) เลือกตัวเลือกต่อไปนี้ ธีมได้ทุกเมื่อหลังจากสร้างเว็บไซต์แล้ว หากต้องการ เปลี่ยนแปลง ให้คลิกเลิกทำ หรือทำซ้ำ ▪หากต้องการอัปโหลดรูปภาพจากคอมพิวเตอร์ ให้คลิกอัปโหลด ▪หากต้องการเลือกรูปภาพจากแกลเลอรีหรือตำแหน่งอื่น ให้คลิก เลือกรูปภาพ 4) (ไม่บังคับ) หากต้องการกลับไปที่ภาพพื้นหลังเดิม ให้คลิกรีเซ็ต 2. เปลี่ยนประเภทส่วนหัว 1) ชี้ไปที่ภาพพื้นหลังและคลิกประเภทส่วนหัว 2) เลือกตัวเลือกต่อไปนี้ ▪หน้าปก ▪แบนเนอร์ขนาดใหญ่ ▪แบนเนอร์ ▪ชื่อเท่านั้น 3. เปลี่ยนธีมและรูปแบบตัวอักษร 1) คลิกธีมที่มุมขวาบน 2) เลือกธีมและเลือกสี 3) คลิกรูปแบบตัวอักษรและเลือกรูปแบบ
1.5 เพิ่ม จัดลำดับใหม่ และวางซ้อนหน้าเว็บ 1. วิธีเพิ่มหน้าเว็บมีดังนี้ 1) ที่มุมขวาบน ให้คลิกหน้าเว็บ ชี้ไปที่สร้าง เพิ่มหน้าเว็บสำหรับเนื้อหาเพิ่มเติม แล้วเก็บข้อมูลที่ เกี่ยวข้องไว้ด้วยกันโดยการวางซ้อนหน้าเว็บ จากนั้นหน้า ▪2) เลือกตัวเลือกต่อไปนี้ เว็บที่ซ้อนกันจะปรากฏเป็นหัวข้อย่อยของหน้าเว็บอื่น หากต้องการเพิ่มหน้าเว็บใหม่ ให้คลิกเพิ่มหน้าเว็บ ตั้งชื่อหน้าเว็บ ▪แล้วคลิกเสร็จสิ้น หากต้องการเพิ่ม URL ให้คลิกเพิ่มลิงก์ 2. วิธีซ้อนหรือเรียงลำดับหน้าเว็บใหม่มีดังนี้ 1) คลิกหน้าเว็บ 2) ลากหน้าเว็บขึ้นหรือลงในรายการเพื่อเรียงลำดับใหม่ 3) ลากหน้าเว็บที่ด้านบนของอีกหน้าเพื่อซ้อนกัน 4) (ไม่บังคับ) หากต้องการยกเลิกการซ้อนหน้าเว็บ ให้ลากไปยังด้าน ล่างสุดของรายการ หมายเหตุ: คุณจะซ้อนหน้าเว็บได้เพียง 5 ระดับเท่านั้น 3. วิธีเลือกตัวเลือกหน้าเว็บมีดังนี้ ในส่วนหน้าเว็บ ให้เลือกหน้าเว็บแล้วคลิกเพิ่มเติม ถัดจากหน้าดังกล่าว จากนั้นเลือกตัวเลือกดังนี้ ▪ตั้งเป็นหน้าแรก ▪ทำซ้ำหน้าเว็บ ▪เปลี่ยนชื่อหน้าเว็บและสร้างหน้าย่อย ▪ซ่อนหน้าเว็บหรือหน้าย่อย คุณจะซ่อนหน้าเว็บที่ตั้งเป็นหน้าแรกไม่ได้ ▪ลบหน้าเว็บออกจากเว็บไซต์ คุณนำหน้าเว็บที่ตั้งเป็นหน้าแรกออกไม่ ได้
วิธีการเลือกโหมดการนำทาง 1.ชี้ไปที่ชื่อเว็บไซต์และคลิกการตั้งค่าการนำทาง การนำทาง ด้านบนหรือการนำทางด้านข้าง 1.6 ตั้งค่าการนำทางของเว็บไซต์ 2.(ไม่บังคับ สำหรับการนำทางด้านข้างเท่านั้น) หากต้องการดู เมนูทางด้านซ้าย ให้คลิกเมนู หากมีหน้าเว็บมากกว่าหนึ่งหน้า ผู้เข้าชมเว็บไซต์จะใช้เมนู การนำทางเพื่อข้ามไปยังหน้าต่างๆ ได้ ซึ่งเมนูการนำทางจะอยู่ 3.(ไม่บังคับ) หากต้องการย้ายหน้าเว็บในเมนูการนำทาง ด้านบนสุดของเว็บไซต์โดยค่าเริ่มต้น ให้คลิกหน้าแรกเพื่อดูเมนู โปรดดูที่หัวข้อ 1.5 เพิ่ม เรียงลำดับใหม่ และวางซ้อนหน้า ที่มุมขวาบน คุณจะย้ายเมนูการนำทางไปทางซ้ายก็ได้หาก เว็บ ต้องการ แต่ต้องมีหน้าเว็บอย่างน้อยหนึ่งหน้าบนเว็บไซต์เพื่อ เปลี่ยนตำแหน่งที่ปรากฏ
ส่วนที่ 2: อัปเดตและปรับเปลี่ยนเว็บไซต์ในแบบของคุณ
2.1 เพิ่มเนื้อหาไปยังเว็บไซต์ ทางด้านขวา ให้เลือกหน้าเว็บที่คุณต้องการเพิ่มเนื้อหาและ เลือกตัวเลือกดังนี้ 1.ดับเบิลคลิกหน้าเว็บที่คุณต้องการเพิ่มเนื้อหาหรือ 2.คลิกแทรกและเลือกเนื้อหาที่คุณต้องการเพิ่ม
2.2 แก้ไขข้อความ หากต้องการแก้ไขข้อความหรือชื่อหน้าเว็บ เพียงคลิกที่ช่อง และป้อนข้อความใหม่ หรือจากแถบเครื่องมือเหนือกล่อง ข้อความ ให้เลือกตัวเลือกอื่น
2.3 แก้ไขหัวข้อ ชี้ไปที่ส่วนที่ต้องการเปลี่ยนแปลง
2.4 แก้ไขรูปภาพ วิธีการปรับขนาดรูปภาพ เลือกรูปภาพแล้วลากด้าน ข้างหรือมุมของรูปภาพ กดแป้น Shift ค้างไว้ขณะลาก เพื่อรักษาสัดส่วนรูปภาพ วิธีการย้ายรูปภาพ ลากรูปภาพไปยังตำแหน่งอื่นของ ส่วนในหน้าเว็บหรือส่วนใหม่ คุณวางรูปภาพที่ใดก็ได้ เมื่อคุณเห็นพื้นที่ที่ไฮไลต์ หมายเหตุ: ปัจจุบันคุณยังวางรูปภาพลงในกล่อง ข้อความไม่ได้
2.5 เพิ่มโลโก้ โลโก้จะปรากฏในแถบนำทางด้านบนถัดจากชื่อเว็บไซต์ หมายเหตุ: ไฟล์โลโก้จะอยู่ในรูปแบบ .jpg, .png หรือ .gif ก็ได้ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ดีที่สุด ความสูงของโลโก้ควรมีขนาดอย่าง น้อย 112 พิกเซล
2.6 เพิ่มเนื้อหาจากเว็บไซต์อื่น คุณอาจกำหนดวิธีการแสดงเว็บไซต์บนเว็บไซต์ของคุณได้ ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับเว็บไซต์ที่คุณเพิ่มเข้าไป โดยบางเว็บไซต์จะอนุญาต รายการที่คุณฝังได้มีดังนี้ ให้ใช้ตัวเลือกดูตัวอย่างหรือตัวเลือกเพื่อดูเนื้อหาที่อัปเดตแบบ ไดนามิกได้ หลังจากเพิ่มเนื้อหาแล้ว คุณอาจต้องลงชื่อเข้าใช้ ▪เว็บไซต์ อีกครั้งเพื่อดูการอัปเดตดังกล่าว ▪เว็บแอปที่ใช้ Google Apps Script หรือ App Maker ▪รายงานของ Google Data Studio วิธีการเพิ่มเนื้อหาจากเว็บไซต์อื่น 1. เปิดเว็บไซต์และคลิกแทรก ฝังทางด้านขวา ▪2. เลือกตัวเลือกต่อไปนี้ โดย URL - วาง URL (ลิงก์) ที่คุณต้องการฝัง เลือกทั้ง หน้าหรือดูตัวอย่าง และคลิกแทรก ▪โค้ดแบบฝัง - วางหรือป้อนโค้ด HTML ของเว็บไซต์ที่ คุณต้องการฝังแล้วคลิกถัดไป แทรก หมายเหตุ: หากเพิ่มหรือดูตัวอย่างเนื้อหาไม่ได้ โปรดติดต่อ เจ้าของเว็บไซต์
2.7 ย้ายและปรับขนาดเนื้อหา วิธีการย้ายเนื้อหาเว็บไซต์ 1.ชี้ไปที่เนื้อหาที่คุณต้องการย้ายจนกว่าคุณจะเห็นไอคอนย้าย ระบบจะเพิ่มข้อมูลที่คุณแทรกเป็นเนื้อหาตาม “สัดส่วน” ใน 2.ลากเนื้อหาไปยังพื้นที่ที่ไฮไลต์ ตารางกริดของ Canvas โดยสัดส่วนต่างๆ จะจัดให้พอดีกับ ตารางกริดเพื่อให้ง่ายต่อการย้าย จัด และแก้ไข วิธีการปรับขนาดเนื้อหาเว็บไซต์ 1.เลือกเนื้อหาที่คุณต้องการปรับขนาด 2.ลากวงกลมสีน้ำเงินเพื่อปรับขนาด วิธีการจัดกลุ่มออบเจ็กต์ คุณจะเชื่อมต่อกล่องข้อความและรูปภาพ เข้าด้วยกันได้ในกลุ่มแนวตั้ง 1.เพิ่มรูปภาพและกล่องข้อความในหน้าเว็บไซต์ 2.ลากกล่องข้อความไปที่ด้านบนหรือครึ่งล่างของวัตถุจนกว่าจะมี เส้นสีน้ำเงินปรากฏขึ้น 3.หากต้องการเปลี่ยนลำดับของวัตถุที่จัดกลุ่ม ให้คลิกกลุ่มที่คุณ ต้องการเปลี่ยน 4.คลิกวัตถุที่คุณต้องการจัดเรียงใหม่ ให้แตะปุ่มขึ้นหรือลงในแป้น พิมพ์ วิธีการยกเลิกการจัดกลุ่มออบเจ็กต์ 1.หากต้องการยกเลิกการจัดกลุ่มกล่องข้อความและรูปภาพ ให้ คลิกกลุ่มที่ต้องการแยกจากกัน 2.คลิกวัตถุที่คุณต้องการนำออกจากกลุ่มและลากวัตถุออกจาก กลุ่ม
ส่วนที่ 3: แชร์และทำงานร่วมกันใน Sites
3.1 แชร์และทำงานร่วมกันใน Sites
Search