Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore unit6

unit6

Published by gmae22.101, 2017-07-03 03:59:19

Description: unit6

Search

Read the Text Version

ใบเนอ้ื หา บทท่ี : 6 (Information Sheet) แผน ที่ : 1/14วิทยาลัยเทคนคิ ทาหลวงซเิ มนตไ ทยอนสุ รณ แผนกวิชา ชา งซอมบาํ รุงเคร่อื งจักรกล เรอื่ ง : การวัดดว ยนาฬกิ าวัด นาฬิการวัด (Dial Gauge) นาฬิกาวัดเปนเครือ่ งมือวัดที่อานคาระยะทางการเคลื่อนทีข่ องแกนวัดดวยเข็มซึง่ ติดอยูกับหนาปทมโดยอานคาความแตกตางทีไ่ ดจากการอางอิงคามาตรฐานใด ๆ ใชวัดระดับความเปนระนาบ ความขนาน ระยะเยื้องศูนยเชนวดั เพื่อหาศูนยใ นงานกลึงไดล ะเอียดมากชนดิ ของนาฬิกาวัด (Type of Dial Gauge) นาฬิกาวัดทีม่ ีอยูใ นปจจุบัน พอที่จะจําแนกตามหลักการทํางานได 2 ชนิด คือ นาฬิกาวัดชนิดมาตรฐานและนาฬกิ าวัดชนิดคาน 6.1 นาฬิกาวัดชนดิ มาตรฐาน (Standard Type) คาความละเอยี ดของนาฬิกาวดั ชนดิ นี้ มีทั้งแบบ 0.01 มม. และ 0.001 มม. เม่ือหัวสัมผสั ถูกดนั ข้ึนเข็ม ยาวของหนาปท มจ ะหมนุ ตามเขม็ นาฬิกา เมื่อเข็มยาว หมุนครบ1 รอบ เข็มสั้นจะหมุนไป 1 ชอ งสเกล เม่ือ มองดูทห่ี นา ปท มของเข็มสน้ั จะทราบทนั ทีวาเขม็ ยาว หมุนไปก่ีรอบภาพที่ 6.1 แสดงลักษณะของนาฬกิ าวัดชนิดมาตรฐาน

ใบเน้อื หา บทท่ี : 6 (Information Sheet) แผนที่ : 2/14 แผนก : แผนกวิชาชา งซอมบํารงุ เครอ่ื งจักรกลวทิ ยาลยั เทคนิคทา หลวงซเิ มนตไ ทยอนุสรณ เรื่อง : นาฬิกาวดั785 394 10 11 6 2 1 ภาพท่ี 6.2 สว นประกอบของนาฬกิ าวัดชนิดมาตรฐานhttp://www.amazonsupply.com/starrett-25-881j-indicator-9-525mm-graduation/dp/B0006J4RKYชอ่ื สว นประกอบ หนา ท่ี1. หวั วดั - เปนตวั สมั ผัสวดั หรอื ตรวจสอบชิน้ งานโดยตรง2. แกนเลอ่ื น - เปน ตวั จับยดึ หัววดั เมอื่ หัววดั ถกู ดนั โดยผิวชิ้นงาน แกนเลอื่ นขึ้น – ลง3. เขม็ ยาว - บอกคา ความคลาดเคลือ่ นของชิน้ งาน ภายหลังการสัมผัสชนิ้ งานของหวั วดั4. เขม็ วดั รอบ - บอกจาํ นวนรอบของเขม็ วา เคล่ือนท่ีไปเปนระยะทางเทาไร (มม.)5. แผน สเกล - บอกคาความละเอียด โดยแบงออกเปน 100 ชองเทา ๆ กัน เมือ่ เข็มยาวหมุนไป 1 รอบ6. กรอบนอก7. ขดี พิกดั จะอานคาได 1 มม.8. สกรลู ็อค - หมุนปรับใหจ ดุ ศนู ย (ขดี 0) ของแผนสเกลตรงกับเข็มยาวพอดีเพื่อทีจ่ ะกําหนดจุดเริม่ ตน9. กระจกหนา ปท ม10. ตวั เรอื น ในการอา นคา หรือตรวจสอบชิ้นงานในขัน้ ตอนตอ ไป11. กา น - กําหนดคา ของพิกัดทีย่ อมรบั หรอื คลาดเคล่ือนจากคา ท่กี ําหนด - ลอ็ คตาํ แหนงสเกลของหนา ปทม - ปองกนั ฝนุ หรือส่ิงแปลกปลอมเขาไปทําความเสียหายใหอุปกรณ หรือ สวนประกอบอื่น ๆ - ปอ งกัน หรอื ครอบอปุ กรณ (กลไกภายใน) ไมใหเกิดความเสยี หาย - สําหรบั จบั ยดึ อุปกรณ (ขาต้ัง) ใชใ นการตรวจสอบ หรอื วดั งาน

ใบเน้ือหา บทท่ี : 6 (Information Sheet) แผน ที่ : 3/14 แผนก : แผนกวชิ าชา งซอ มบํารุงเคร่อื งจักรกลวิทยาลัยเทคนิคทา หลวงซิเมนตไ ทยอนุสรณ เรื่อง : นาฬิกาวัด6.1.1 หลักการทํางานของนาฬิกาวดั หลักการทํางานของนาฬิกาวัดชนิดมาตรฐาน ภาพท่ี 6.3 แสดงกลไกการทํางานของนาฬิกาวดั ชนดิ มาตรฐาน การสงผานการเคลือ่ นที่ จากหัววัดไปยังเข็มยาว จะใชกลไกของเฟองเปนตัวสง จากภาพที่ 6.3เมือ่ แกน S เคลื่อนที่ขึ้นลง เฟองสะพาน ทีแ่ กนจะดันใหเฟองพิเนียนหมายเลข 1a นั้นหมุน เฟอง 1a จะมีแกนรว มกบั เฟอ งหมายเลข 1b เฟอ ง 1b จะขบอยูกับเฟอ งพเิ นยี นหมายเลข 2c ซึ่งตดิ อยกู บั เขม็ ยาว หรอื หนาปท ม ระยะทางการเคลอื่ นทข่ี องแกน และการเคล่ือนที่ของเขม็ สามารถกําหนดเปน คา คงท่ี ท่ีถูกตองดวย สัดสว นจาํ นวนเฟอง และชวงฟน ของแรค (เฟองสะพาน) ตัวอยางเชน เมื่อ S เคลื่อนท่ีไป 1 มม. เข็มยาวจะหมุนไป 1 รอบ แลวแบงสเกลออกเปน 100 ชอ งเทากันจะไดความกวางของชองสเกลเปน 0.01 มม. นอกจากนี้เข็มส้ันจะติดอยูกบั ฟนเฟอง 1b ดงั นั้นเมื่อเข็มยาวหมนุ ไป 1 รอบ เข็มสั้นจะหมุนไป 1ชอ ง (1/10 รอบ) ถากาํ หนดใหส ดั สวนจํานวนฟนระหวางฟนเฟอ ง 1b และพเิ นียนหมายเลข 2c เปน 10:1เพอื่ ปองกนั การถอยหลัง (Back Lash) ของฟน เฟอง เนื่องจากเฟองแรค และพิเนยี นนน้ั จะมีชว งถอยหลงั (การคลอนตวั ) อยู จงึ มฟี นเฟองซง่ึ มขี นาดและจาํ นวนฟนเฟองเทากบั ฟน เฟองหมายเลข 1 เรียกวา ฟน เฟองหมายเลข2 ขบอยูกับพิเนียน c แลวมสี ปรงิ กนหอยตดิ อยเู พอ่ื ยันรับชวงถอยหลังของฟนเฟองทั้งหมดทําใหห นา ฟนเฟองทกุตัวสัมผสั กันเพียงดานเดยี วตลอดเวลา

ใบเน้อื หา บทท่ี : 6 (Information Sheet) แผนที่ : 4/14 แผนก : แผนกวิชาชา งซอ มบํารุงเครื่องจักรกลวิทยาลัยเทคนิคทา หลวงซิเมนตไทยอนสุ รณ เร่ือง : นาฬิกาวัด6.2 นาฬิกาวัดชนดิ คาน (Cantilever Principle Type) 6 4 3 7 512 ภาพที่ 6.4 แสดงสว นประกอบของนาฬิกาวดั ชนิดคาน ทมี่ า : ณรงค องอาจ ;2555 ชอ่ื สวนประกอบ หนา ท่ี1. หัววัด - สัมผัสวดั หรอื ตรวจสอบโดยตรง2. รอ งหางเหยี่ยว - เปนรอ งเพ่อื ประกอบกับแกนจับยดึ ในตําแหนง ตาง ๆ3. หนาปทม - ตวั เรือนแสดงคา วดั4. ขดี สเกล - บอกคา ความละเอียด โดย 1 ชองจะเทา กับ 0.01 มม.5. แกนจับยึด - ยึดกบั ขาตั้งนาฬิกาวดั6. เขม็ ชี้ - บอกคา วดั7. ตวั เรือน - เปนโครงครอบกลไกภายในของนาฬิกาวัด

ใบเนอื้ หา บทท่ี : 6 (Information Sheet) แผนท่ี : 5/14 แผนก : แผนกวิชาชางซอ มบํารุงเคร่ืองจักรกลวทิ ยาลัยเทคนคิ ทาหลวงซเิ มนตไ ทยอนุสรณ เร่อื ง : นาฬกิ าวัด ภาพท่ี 6.5 ทิศทางการหมุนของหัวสมั ผสั วัด http://www.luchner.com/images/slideshow-capabilities/06-dial-gauge.jpg6.2.1 หลกั การทํางานของนาฬิกาวัดชนิดคาน ภาพที่ 6.6 กลไกการทํางานนาฬิกาวดั ชนิดคาน จากภาพท่ี 6.6 เมื่อหัววัดสัมผัสกับชิน้ งานจะเกิดการเคลือ่ นทีไ่ ปยังเฟองรูปพัด ทําใหเฟองรูปพัดขบั เฟอ งพเิ นียนหมายเลข 1 ซึ่งจะมีแกนรวมกับเฟองกลมทําใหเฟองกลมหมุนไปขับเฟองพิเนียนหมายเลข 2 ทําใหเขม็ หนา ปทมเกดิ การเคล่อื นท่ี นาฬิกาวัดชนิดคานจะมีสปริงกนหอยทีร่ ับชวงถอยหลังของฟนเฟองเชนเดียวกับนาฬิกาวัดชนิดมาตรฐาน

ใบเนื้อหา บทท่ี : 6 (Information Sheet) แผน ท่ี : 6/14 แผนก : แผนกวิชาชา งซอมบํารงุ เครอื่ งจักรกลวทิ ยาลยั เทคนคิ ทา หลวงซเิ มนตไทยอนุสรณ เรือ่ ง : นาฬกิ าวัด6.3 การอานคาจากการวัด ภาพท่ี 6.7 สวนประกอบในการอานคาการวัด การอานคาบนหนาปทมของนาฬิกาวัด ภาพที่ 6.7 ใหอานจํานวนมิลลิเมตรดวยเข็มวัดรอบ กอ น แลวอานจาํ นวนความละเอยี ด 0.01 มม. ดวยเขม็ ยาว โดยแผนสเกล เมื่อแกนวัดเคลื่อนทีข่ ้นึ ใหอานคา จากตวั เลขดา นนอก  ในทศิ ทางตามเขม็ นาฬิกา แตถาแกนวัดเล่ือนเคลื่อนท่ลี งใหใชต วั เลขดานใน  ของหนา ปดอานคาในทิศทางทวนเข็มนาฬิกา  แกนวัดเคล่ือนที่ข้นึ อานคาไดในทิศทางบวก เมอื่ เทยี บกับตาํ แหนงอา งอิง จากภาพท่ี 6.8 เข็มวัดรอบอานคาได 1.00 มม. ทเ่ี ข็มวัดละเอยี ด 0.01 มม. อานคา ได 0.91 มม. คารวม 1.91 มม.ภาพที่ 6.8 ระยะการเคลอื่ นที่ของเขม็ ในทศิ ทางตามเขม็ นาฬกิ า

ใบเน้ือหา บทท่ี : 6 (Information Sheet) แผนท่ี :7/14 แผนก : แผนกวิชาชา งซอมบํารุงเครอื่ งจักรกลวทิ ยาลยั เทคนคิ ทาหลวงซเิ มนตไทยอนุสรณ เร่ือง : นาฬกิ าวดั  แกนวัดเคลื่อนที่ลง อานคาไดในทิศทางลบ เมื่อเทยี บกบั ตาํ แหนง อางองิ จากภาพที่ 6.9 เขม็ วัดรอบอานคาได – 1.00 มม. ทเ่ี ข็มวดั ละเอียดอา นคา ได – 0.54 มม. คา รวม – 1.54 มม.ภาพที่ 6.9 ระยะการเคลอ่ื นท่ีของเขม็ ในทศิ ทางทวนเข็มนาฬกิ า6.4 การใชนาฬิกาวัดชนิดมาตรฐานและชนิดคาน (ก) (ข) ภาพท่ี 6.10 ขาต้ังนาฬิกาวดั นาฬกิ าวัดทั้ง 2 ชนิดไมสามารถจะใชไดเองโดยลําพัง จะตองจับยึดโดยใชขาตัง้ (ภาพท่ี 6.10) ซึ่งขาต้งั นาฬกิ าวดั มีอยูห ลายชนดิ ดว ยกัน คือ ขาตัง้ บนราง (ดังภาพ ก) เคลือ่ นทีว่ ัดความเปนระนาบ และระดับความขนานไดอยา งสะดวก ขาต้ังฐานเปน แทน แมเหลก็ (ดงั ภาพ ข) ขาตัง้ ชนิดนสี้ ามารถติดในแนวดิ่ง แนวนอน และแนวเอียงได ถา แทนต้ังเปนเหล็กสามารถติดต้งั เปนมมุ ตา ง ๆ ไดม าก

ใบเนื้อหา บทท่ี : 6 (Information Sheet) แผนท่ี :8/14 แผนก : แผนกวชิ าชา งซอ มบํารุงเครอ่ื งจักรกลวิทยาลยั เทคนิคทาหลวงซิเมนตไทยอนุสรณ เรื่อง : นาฬกิ าวัด 6.3.1 การใชนาฬกิ าวดั เปรยี บเทียบกับคา มาตรฐานแลวอานความแตกตาง คือวัดความแตกตางของขนาดระหวางชิน้ งานทีว่ ัดกับคามาตรฐาน คามาตรฐานนัน้ มักจะใชเกจบล็อคเปน หลักมากที่สดุ ภาพที่ 6.11 การวัดเปรียบเทียบกับเกจบล็อค จากภาพท่ี 6.11 a เคลอื่ นหวั วดั กระทบกับเกจบล็อค จากภาพท่ี 6.11 b หมุนแผนสเกลใหจ ุด 0 มาอยูทีป่ ลายเข็มหลังจากหัววัดกระทบกับเกจบลอ็ ค จากภาพที่ 6.11c ถาเขม็ หมนุ ไปทางดานขวา (ตําแหนท่ี 1) ของ 0 ความคลาดเคลือ่ นเปนบวก และถาเข็มหมุนไปทางดานซา ย (ตําแหนงท่ี 2) ของ 0 ความคลาดเคลือ่ นเปน ลบ

ใบเน้อื หา บทท่ี : 6 (Information Sheet) แผน ท่ี : 9/14 แผนก : แผนกวิชาชางซอมบํารงุ เครือ่ งจักรกลวิทยาลยั เทคนิคทา หลวงซเิ มนตไทยอนุสรณ เร่ือง : นาฬกิ าวดั 6.3.2 การใชนาฬิกาวัดวัดคาความราบเรียบ และความขนานแลวอานคาความแตกตาง คือวัดความราบเรียบของผิว เชน ความเรียบผิวในแนวราบ ความเรียบผิวในแนวตัง้ ฉาก โดยใหชิน้ งาน ที่ถูกวัดอยูก ับโตะงาน (Table) และยึดนาฬิกาวัดติดกับโครงเครือ่ ง หรือสวนที่ไมไดเคลือ่ นทีไ่ ปกับโตะงาน หลังจากนัน้ ก็หมุนเลื่อนโตะงานไปในทิศทางที่ตองการวัด และในขณะเดียวกันก็อานคาความแตกตางที่หนาปทมของนาฬิกาวดัภาพที่ 6.12 การวดั ความราบเรียบและความขนาน

ใบเนอื้ หา บทท่ี : 6 (Information Sheet) แผน ท่ี : 10/14 แผนก : แผนกวิชาชา งซอ มบํารุงเครอ่ื งจักรกลวิทยาลยั เทคนคิ ทา หลวงซิเมนตไ ทยอนุสรณ เรอื่ ง : นาฬิกาวัด 6.3.3 การใชน าฬิกาวัดหาระยะเยื้องศูนยข องเพลา การจับงานเขา กับยันศนู ยทั้งสอง เสียบดามจบั ของนาฬิกาวัดเขา กบั รูเสียบของแขนจบั ปรับตาํ แหนงของเสาตั้งจนหมุดสมั ผสั ของนาฬิกาวดั อยเู หนือผวิ ลูกเบีย้ ว หมุนงานใหผ ิวเพลาลกู เบี้ยวอยูในตําแหนงต่าํ สุดลดแขนวัดลงจนหมดุ สัมผัส สัมผัสกับผวิ งาน และเข็มหมุนไปประมาณ 1 รอบของหนา ปทม กวดแปนเกลยี วยึดแขนจับนาฬิกาวัดกับเสาต้ังใหแนน หมนุ ชิ้นงานใหมเ พือ่ หาตําแหนงตํา่ สดุ ของผิวเพลาลกู เบย้ี ว โดยสงั เกตจากการกระดิกของเข็ม คอยๆ หมุนเพลาลูกเบีย้ วจนผวิ เพลาลกู เบ้ียวอยูในตาํ แหนงสูงสดุ โดยสงั เกตจากการเคลื่อนที่ของเขม็ระยะตา งของผวิ ทงั้ สองตาํ แหนง ทราบไดจ ากการเคลือ่ นทข่ี องเข็ม เชน เข็มหมนุ ไป 5 รอบ แสดงวาคาตางระดบัของผิวเทา กับ 5 มม. หรือเรียกวา “ชวงขยับเทากับ 5 มม. สมมตุ ิเพลาลกู เบ้ยี วมรี ะยะเย้ืองศนู ยเทากับ “e” และชว งขยบั ของนาฬิกาวัดเทากบั “H”จากรูป 2e = H e = H/2 หรอื “ระยะเยอ้ื งศูนยเทากบั ชวงขยบั หารดว ยสองภาพท่ี 6.13 ชว งขยับ (H) เมือ่ ผิวลกู เบยี้ วอยตู าํ่ กวา (M1) และสูงสุด (M2)

ใบเนอื้ หา บทท่ี : 6 (Information Sheet) แผนท่ี : 11/14 แผนก : แผนกวชิ าชา งซอมบํารงุ เครื่องจักรกลวทิ ยาลัยเทคนคิ ทาหลวงซเิ มนตไทยอนสุ รณ เรือ่ ง : นาฬิกาวัดตวั อยา ง งานเพลาลูกเบ้ยี วชิ้นหนง่ึ มีชวงขยับที่เกิดขึน้ เทา กบั 5.4 มม. จะมรี ะยะเยื้องศูนยเ ทาใด จากสตู ร e = H/2 e = 5.4 / 2 = 2.2 มม. งานน้มี รี ะยะเยื้องศนู ยเทา กบั 2.2 มม. ตอบหมายเหตุ วิธีวัดระยะเยอ้ื งศนู ยด วยวิธีนี้มขี อจํากดั อยู 2 ประการ คือประการท่ี 1 ระยะท่ตี างกนั ของผิวเพลาลูกเบี้ยวท่ตี ําแหนง ตํา่ สุดและสูงสุดจะตองไมมากกวา ระยะท่แี กนวดั ของนาฬกิ าวัดสามารถเลอ่ื นที่ขนึ้ ลงไดประการที่ 2 ขนาดความยาวของแทง ยันศนู ยกบั ช้ินงาน 6.3.4 การใชนาฬิกาวัดความเรียวของงานเรียว คือวัดคาความแตกตางของขนาดระหวางโคนเรียวดานโต และโคนเรียวดานเล็กโดยจับยึดชิ้นงาน ทีจ่ ะวัดบนเครือ่ งกลึงดวยวิธียันศูนยหัวทาย และยึดนาฬิกาวัดบนแครเลือ่ นตอมาหมุนมือหมุนพาแครเลือ่ นเคลือ่ นทีไ่ ปแลว อานคา ภาพที่ 6.14 การวัดความเรียวของงาน หลักการใชนาฬิกาวัดทัง้ สองชนิดไมแตกตางกัน แตนาฬิกาวัดชนิดคานจะใชในกรณีที่นาฬิกาวัดแบบมาตรฐานใชง านไดยาก เชนกรณีของรอ งแคบ ๆ

ใบเนือ้ หา บทท่ี : 6 (Information Sheet) แผนท่ี : 12/14 แผนก : แผนกวิชาชางซอมบํารงุ เครอื่ งจักรกลวทิ ยาลัยเทคนิคทาหลวงซเิ มนตไทยอนสุ รณ เร่อื ง : นาฬกิ าวดั 5.1.3 เทคนิคและขอควรระวงั ในการใชน าฬกิ าวัดควรใหแ กนวัดต้งั ฉากกับผิวชนิ้ งานที่วัด ภาพท่ี 6.15 การวดั ผิวงานทมี่ ักเกดิ ข้นึ จากภาพที่ 6.15 ก. ไมวาจะมองจากดานหนา หรือดานขางนัน้ จะอยูใ นแนวตัง้ ฉากเทียบกับผิวที่วดั และชวงระหวางขาตั้งกับนาฬิกาวัด จะตองส้ันทส่ี ดุ เทา ทจี่ ะทาํ ได จากภาพท่ี 6.15 ข. แกนที่อยูใ นแนวเอียงทําใหไมสามารถเคลือ่ นทีใ่ นแนวแกนไดตรง แตจะเอียงไปตามดา นขางทาํ ใหไดค าวดั ทไ่ี มถกู ตอ ง แมแกนวัดจะอยูใ นแนวตั้งฉากกับผิวที่วัด แตขาที่ยื่นออกมาของแทนตั้ง (ขาตั้ง) ยาวเกินไปดังภาพท่ี 6.15 ค. จะทําใหน าฬิกาวดั สน่ั สะเทอื นไดง าย เปนเหตใุ หเ กิดความผดิ พลาดจากการวดั ได

ใบเน้อื หา บทท่ี : 6 (Information Sheet) แผนท่ี : 13/14 แผนก : แผนกวชิ าชา งซอ มบํารุงเครอื่ งจักรกลวิทยาลัยเทคนคิ ทาหลวงซิเมนตไ ทยอนุสรณ เรือ่ ง : นาฬิกาวดัก. ถูกตอ ง ข.ผิด 1.เอยี ง 2. เอยี ง 3. หวั วัดพลาดจากจุดสูงสุด ของทรงกระบอกการวดั ผวิ ดา นนอกของชนิ้ งานทรงกระบอก ภาพที่ 6.16 การวัดผวิ ดา นนอกของช้นิ งานทรงกระบอก จากภาพที่ 6.16 มีลักษณะเดียวกับการวัดระนาบ จากภาพที่ 6.16 ก. เนือ่ งจากดานหนาและดานขางจะตองใหแกนวัดตัง้ ฉากกับแกนทรงกระบอกและหัววัดจะตองแตะอยูท ีจ่ ุดสูงสุดของทรงกระบอก การวัดแนวเอียงดังภาพที่ 6.16 ข.1 และ 6.16 ข.2 หรือพลาดจากจุดสูงสุดของทรงกระบอกดังภาพที่ 6.16 ข.3 จะทําใหคาที่วัดไดไ มถ กู ตอ ง

ใบเนอ้ื หา บทท่ี : 6 (Information Sheet) แผน ที่ : 14/14 แผนก : แผนกวชิ าชา งซอ มบํารงุ เคร่ืองจักรกลวทิ ยาลยั เทคนิคทาหลวงซเิ มนตไ ทยอนสุ รณ เรื่อง : นาฬิกาวัด6.3.5 การวัดความราบเรยี บของผวิ อยใู นแนวขนาน อยใ นแนวขนาน ทิศทางการวัด ทิศทางการวัด ภาพท่ี 6.17 การวดั ผวิ ช้ินงานในแนวตรงและแนวดงิ่ จากภาพท่ี 6.17 การวดั ระดับความราบเรียบสิง่ ทส่ี าํ คญั ท่ีสุด คอื หัวสัมผัสควรจะขนานกับผิวของ ช้นิ งานท่จี ะวัด กลา วคือ อยูในแนวขนานใหม ากท่ีสุด6.4 การบาํ รงุ รกั ษานาฬิกาวดั 1. วางหรอื เกบ็ นาฬิกาวดั แยกออกจากเครอ่ื งมือชนิดอนื่ และวางบนวัสดอุ อนนมุ 2. จับยึดนาฬิกาวัดใหมั่นคงเพ่อื ปอ งกนั การหลนกระแทก 3. นาฬิกาวัดที่ไมใชงานแลวจะตองรีบเก็บเขาสูส ภาพเดิมทันที เพราะถาไมเก็บเขาทีแ่ ลวหากหลน หรือมีของแขง็ มากระทบเขาจะทาํ ใหเ กิดการชาํ รุดหรอื เสียหายได


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook