Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิจัยเรื่อง การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ โดยใช้ระบบห้องเรียนออนไลน์ google Classsroom ระดับชั้น ประกาศนียบัตรวิชาชีพ

วิจัยเรื่อง การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ โดยใช้ระบบห้องเรียนออนไลน์ google Classsroom ระดับชั้น ประกาศนียบัตรวิชาชีพ

Published by พิพัฒน์ ดวงใจ, 2021-11-09 10:36:42

Description: วิจัยเรื่อง การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ โดยใช้ระบบห้องเรียนออนไลน์ google Classsroom ระดับชั้น ประกาศนียบัตรวิชาชีพ

Search

Read the Text Version

วิจยั เรื่อง การพัฒนาการจดั การเรียนการสอนแบบออนไลน์ โดยใชร้ ะบบห้องเรยี นออนไลน์ google Classroom ระดับช้นั ประกาศนยี บตั รวชิ าชีพ (ปวช. 2) รายวชิ า คอมพวิ เตอรแ์ ละสารสนเทศเพอื่ งานอาชีพ นายพพิ ัฒน์ ดวงใจ ตำแหนง่ ครูผู้ชว่ ย ภาคเรยี นท่ี ๑ ปกี ารศกึ ษา 256๔ แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วทิ ยาลยั สารพดั ช่างราชบรุ ี สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา กระทรวงศึกษาธกิ าร

ชื่อผลงาน : การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลนโ์ ดยใชร้ ะบบหอ้ งเรยี นออนไลน์ google Classroom ระดบั ชั้น ประกาศนยี บัตรวิชาชพี (ปวช. 2) รายวชิ า คอมพวิ เตอรแ์ ละสารสนเทศเพ่ืองานอาชีพ ผู้จัดทำ : นายพิพัฒน์ ดวงใจ หนว่ ยงาน : วทิ ยาลัยสารพดั ชา่ งราชบรุ ี ปกี ารศึกษา : 256๔ บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบออนไลน์ โดยใช้ระบบ ห้องเรียนออนไลน์ Google Classroom 2) เพื่อประเมินความพึงพอใจของผู้เรยี นที่มีต่อการจัดการเรยี นการ สอนแบบออนไลน์ 3) เพ่อื เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นของผู้เรียนท่ีเรียนจากการจัดการเรียนการสอน แบบออนไลน์ โดยใชร้ ะบบหอ้ งเรียนออนไลน์ Google Classroom โดย ๑ กลมุ่ ตัวอยา่ งในครงั้ นคี้ ือ ระดับชั้น ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช. 2) รายวิชา คอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพื่องานอาชีพ จำนวน ๑๔ คน และ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ การจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ โดยใช้ระบบห้องเรียนออนไลน์ Google Classroom ระดับชั้น ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช. 2) รายวิชา คอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพ่ือ งานอาชีพ เรื่ององค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์แบบทดสอบเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และ แบบ ประเมินความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบออนไลน์ และผลการวิจัยใน ครั้งน้ี พบว่า ผลการหาประสิทธิภาพของสื่อที่พัฒนาจากแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบออนไลน์มีค่า ความ เช่อื มน่ั เท่ากบั .90 ซง่ึ อยู่ในเกณฑท์ ่ีมคี วามเชื่อมั่นสูง และจากการวิเคราะห์ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนของผู้เรียน ระหว่างเรียนและหลังเรียนแตกต่างกันอย่างมนี ยั สำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และผู้เรียนมคี วามพึงพอใจตอ่ การจัด กิจกรรมการเรียนรู้แบบออนไลน์ในระดับมาก เพราะผู้เรียนสามารถศึกษาบทเรียนได้ด้วยตนเองใน ช่วงเวลาทตี่ อ้ งการ

บทที่ 1 บทนำ ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา ปัจจุบันการจัดการศึกษาของประเทศไทยมีแนวโน้มการ พัฒนาที่ดีขึ้น มีหลากหลายรูปแบบ ซึ่งเกิด จากความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีการสื่อสารที่ เจริญเติบโต อย่างรวดเร็ว เป็นการสื่อสารท่ี ไร้พรมแดน ซึ่ง เราทุกคนสามารถติดต่อ พูดคุย สืบค้นข้อมูลข่าวสารผ่าน ช่องทางต่าง ๆ เช่น เว็บไซต์ ยูทูป อีเมล หรือผ่านการ สื่อสารแบบสังคมออนไลน์ที่ทุกคนเรียกว่า “social”` เช่น เฟซบุ๊ก ไลน์ ต่างๆ ทั้งนี้ในกระบวนการจัดการศึกษาก็เช่นเดยี วกัน ได้มีการนำคอมพิวเตอร์เขา้ มาชว่ ยใน การ จัดการเรียนการสอน โดยมหาวทิ ยาลัยตา่ งๆ ได้นำเอา ระบบคอมพวิ เตอรม์ าช่วยในดา้ นการ บริหารงานใน โรงเรยี น การพัฒนาสอื่ การสอนเพ่ือนำมาใช้ในการเรียน การสอนในหอ้ งเรยี น การใช้ หอ้ งเรยี นออนไลน์ ซึ่งใน ปัจจบุ นั มีหลากหลายช่องทางสำหรบั การจดั การเรียนรแู้ บบออนไลน์ เช่น Google Classroom ระบบห้องเรยี น ออนไลน์ ที่ให้บริการเทคโนโลยีสารสนเทศทางออนไลน์ เพื่อการเรียนการสอนในระดับประเทศของไทย มี คุณสมบัติเป็นระบบชั้นเรียนออนไลน์ (LMS = Learning Management System) ที่ได้รับการพัฒนาขึนเพื่อ รองรับรูปแบบจัดการการเรียนการสอน แบบห้องเรียนกลับทาง (Flipped Classroom) และมุ่งส่งเสริม กระบวนการเรียนรู้ ที่เน้นผู้เรียนเป็น สำคัญ ผู้สอนสามารถออกแบบการเรียนการสอน ที่มีความยืดหยุ่นเพือ่ ตอบสนองต่อความตอ้ งการ ของผเู้ รียนไดอ้ ย่างสะดวก ซึง่ ไดร้ ับผลตอบรบั อย่างดีจาก ผเู้ รยี น แต่อย่างไรก็ตาม ระบบการศึกษา ของไทยกย็ ังคงมจี ุดออ่ นในด้านการจัดการเรยี นรู้ ซ่ึงในการพัฒนา ระบบการศกึ ษานน้ั รัฐบาล หรอื ผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษา จำเป็นทจี่ ะตอ้ งมงุ่ สง่ เสริมให้ผู้เรียนมคี วามพรอ้ มในด้านความรู้ และทักษะต่างๆ ที่จ าเป็นในการดำรงชีวิต เช่น ทักษะการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เช่น ทักษะ ด้านภาษา ทักษะ การใช้ เทคโนโลยนี วัตกรรม และทกั ษะ ชวี ิต ซึ่งจำเป็นจะตอ้ งให้ผูเ้ รยี นสามารถนำมาประยุกต์ใช้ใน การดำเนินชีวิตได้ รวมถึงกระตุ้นให้ผู้เรียนได้แสดงออก ซึ่งความคิดสร้างสรรค์ในการเรียนรู้เพื่อให้เป็น มนุษย์ที่ สมบูรณ์ ทั้ง ทางด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์และสังคม ซึ่งในการปรับกระบวนการ เรียนการสอนให้เอื้อตอ่ การ พฒั นาขดี ความสามารถของผู้เรยี นได้แสดง ศักยภาพของตนตาม จุดประสงค์การเรยี นรแู้ ตล่ ะระดบั โดยยดึ หลัก ว่าผู้เรียนมีความสำคัญท่ีสุด เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ได้ มีบทบาทโดยตรงกับการจัดการศึกษาใน ปัจจุบัน โดย สามารถแสดงขอ้ มูลขา่ วสารได้ท้ังในรปู แบบ ของ เสียง ข้อมลู ภาพ ภาพเคลอื่ นไหว และวดิ โี อ ทำใหก้ ารเรียนรู้ ในยุคใหม่ประสบความสำเร็จอย่าง รวดเร็ว (ยืน และสมชาย, 2546) และการจัดการเรียนรู้ใน ปัจจุบัน นอกจากครูจะเป็นผู้บรรยายในชั้น เรียนแล้ว ก็มีกิจกรรมอีกหลากหลายรูปแบบที่ได้นำมาจัดการเรียนรู้ให้ สอดคล้องกับทักษะการ เรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ซึ่ง เน้นให้ผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยให้ผู้เรียนเป็นผู้ทำกิจกรรม และครูเป็นเพียงท่ี ปรึกษา เช่น การจัดการเรียนการสอนออนไลน์ โดยใช้ระบบห้องเรียนออนไลน์ Google Classroom ก็เป็นอีกหนึ่งแนวทางของการ จัดการเรียนการสอนแบบใหม่ โดยให้ผู้เรียน “เรียนที่ บ้าน ทำ การบา้ น ทโ่ี รงเรยี น” ซ่ึงเปน็ การนำสิ่งเดมิ ทีเ่ คย ทำในชน้ั เรียนไปทำทบี่ า้ น และนำส่งิ ทีไ่ ด้รับมอบหมาย ให้ทำท่ี บ้านมาทำที่ห้องเรียนหรือโรงเรียนแทน โดยไม่ เน้นให้ครูอยู่ในชั้นเรียนเพื่อสอนเนื้อหาต่างๆ เพราะ ผู้เรียน สามารถศึกษาเนอื้ หาน้นั ๆ ดว้ ยตนเอง

วตั ถปุ ระสงค์ของการวจิ ยั 1. เพื่อพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบออนไลน์ โดยใช้ระบบห้องเรียนออนไลน์ Google Classroom 2. เพ่ือประเมินความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อ การจดั กจิ กรรมการเรียนรูแ้ บบออนไลน์ 3. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนที่เรียนจากการจัดการเรียนการสอน แบบ ออนไลน์ โดยใชร้ ะบบห้องเรียนออนไลน์ Google Classroom ขอบเขตของการวจิ ยั ขั้นที่ 1 ผู้สอนสร้างห้องเรียนออนไลน์โดยใช้ระบบห้องเรียนออนไลน์ Google Classroom และ ให้ นกั เรียนผเู้ รียนลงทะเบียนเขา้ มาเรยี นได้ ขน้ั ที่ 2 ผสู้ อนพฒั นาการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้แบบออนไลน์เร่อื งองคป์ ระกอบของระบบ คอมพิวเตอร์ เช่น การทำแนบไฟล์ ใบความรู้ ทำข้อสอบ ทำใบงาน เป็นต้น แสดงไว้ใน ห้องเรียน ออนไลน์ ซึ่งนักเรียน สามารถมาศกึ ษาข้อมลู ไดด้ ้วยตนเองได้ ขัน้ ที่ 3 เมอ่ื ผูเ้ รยี นได้เขา้ มาศกึ ษาเนื้อหาและ แผนการจัดกจิ กรรมการเรียนรูแ้ บบออนไลน์แล้ว ผู้สอน จะให้นักเรียนทำแบบทดสอบ และใบงานออนไลน์ เพื่อเก็บคะแนนนักเรียนในแต่ละหน่วยย่อย พร้อมทั้งบอก คะแนนทนั ที ข้ันที่ 4 หากนกั เรยี นทำแบบทดสอบไม่ผ่าน นักเรียนสามารถทบทวนบทเรยี นได้ ตวั แปร 1. ตวั แปรทีใ่ ชใ้ นการวิจยั ครง้ั นี้ ประกอบด้วย 1.1 ตัวแปรตน้ ระบบหอ้ งเรียนออนไลน์ Google Classroom เรือ่ ง องค์ประกอบของ ระบบ คอมพวิ เตอร์ 2.2 ตวั แปรตาม ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของ ผ้เู รียนทเี่ รยี นดว้ ยการจัดการเรยี นการสอนแบบ ออนไลน์ดีข้ึน และมีพึงพอใจตอ่ การเรียนการสอนแบบออนไลน์ คำจำกดั ความท่ีใชใ้ นการวจิ ัย Google Classroom เป็นหนึ่งใน Google Apps ที่รวบรวมบริการที่สําคัญต่างๆ เข้าด้วยกัน เพื่อ สนบั สนนุ ธรุ กิจ โรงเรยี น และสถาบันตา่ งๆ ใหใ้ ช้ผลติ ภัณฑ์ของ Google ได้อย่างหลากหลาย Google Classroom ถูกออกแบบมาเพื่อช่วยให้ครูสร้างและลดกระดาษในการจัดเก็บ รวมทั้ง คุณสมบัติที่ช่วยประหยัดเวลา เช่น ความสามารถในการสำเนาเอกสาร Google ให้กับนักเรียน แต่ละคน นอกจากนี้ยังสร้างโฟลเดอร์สำหรับแต่ละบุคคลที่ได้รับมอบหมาย นักเรียนสามารถติดตาม งาน ที่ได้จากการ กำหนดบนหน้าและเร่มิ ตน้ การทำงาน ดว้ ยเพยี งไมก่ ่คี ลิก ครสู ามารถตดิ ตามการ ทำงานว่าใครยังไม่เสร็จให้ตรง ตามเวลา ยังสามารถแสดงความคดิ เห็นแบบเรยี ลไทม์ และผลการเรยี น ในชน้ั เรียน

บทเรยี นออนไลน์ คอื บทเรียนทใี่ ชค้ อมพิวเตอร์ในการนำเสนอเนอื้ หาในรูปแบบบทเรียน ออนไลน์ท่ีใช้ นำเสนอขอ้ มูลประเภทต่าง ๆ เช่น ภาพนิง่ ภาพเคลื่อนไหว ตัวอักษรและเสียงในลกั ษณะ ของสอ่ื หลายมติ ิ โดย ผู้ใช้มกี ารโต้ตอบกบั ส่ือโดยตรง ประโยชนท์ ีค่ าดวา่ จะได้รบั 1. การจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ ด้านช่วยให้ผู้เรียนพัฒนาสื่อการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ ย่ิงขึ้น 2. การจดั การเรียนการสอนแบบออนไลน์ ทำให้ผเู้ รียนสามารถใชเ้ วลาในการเรยี นรู้ได้ไม่ จำกดั

บทที่ 2 เอกสารและงานวจิ ยั ทีเ่ กยี่ วข้อง ในการวจิ ัยในครั้งน้ี ผ้วู ิจยั ไดศ้ ึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เก่ียวขอ้ ง ซ่งึ จะไดน้ ําเสนอตาม หัวข้อต่อไปน้ี 1. Google Classroom 2. ความหมายของบทเรยี นออนไลน์ 3. แนวคดิ ทฤษฎีที่เกี่ยวขอ้ งกับการจัดการเรียน การสอนในศตวรรษที่ 21eLearning 1. Google Classroom Google Classroom เป็นหนึ่งใน Google Apps ที่รวบรวมบริการที่สําคัญต่างๆ เข้าด้วยกัน เพื่อสนับสนุนธุรกิจ โรงเรียน และสถาบันต่างๆ ให้ใช้ ผลิตภัณฑ์ของ Google ได้อย่างหลากหลาย Classroom ผสานรวม Google เอกสาร,ไดรฟ์และ Gmail ไว้ ด้วยกัน เพื่อให้ครูสามารถสร้างและ รวบรวมงานโดยไม่สิ้นเปลืองกระดาษ ภายใน Classroom ครูสามารถ สร้างงาน ใช้งานนั้นในชั้น เรียนต่างๆ ได้ และเลือกว่าจะให้นักเรียนทำอย่างไร (เช่น นักเรียนแต่ละคนจะรับ สำเนาของตนเอง หรือนักเรียนทุกคนจะทำงานในสำเนาเดียวกัน) ครูสามารถติดตามว่านักเรียนคนใดทำงาน เสร็จแล้ว บ้าง และใครยังทำงานไม่เสร็จ ตลอดจนแสดงความคิดเห็นกับนักเรียนแต่ละคนได้ ดังรูป ตัวอย่าง การทำงานระหว่างครแู ละนักเรียน “Google Classroom ถูกออกแบบมาเพื่อช่วยให้ครูสรา้ งและลดกระดาษ ในการจัดเก็บ รวมทั้งคุณสมบัติที่ช่วยประหยัดเวลา เช่น ความสามารถในการสำเนาเอกสาร Google ให้กับ นักเรียน แต่ละคน นอกจากนี้ยังสร้างโฟลเดอร์สำหรับแตล่ ะบุคคลที่ได้รบั มอบหมาย นักเรียนสามารถติดตาม งาน ที่ได้จากการกำหนดบนหน้าและเริม่ ต้นการทำงาน ดว้ ยเพียงไม่กคี่ ลกิ ครสู ามารถตดิ ตามการ ทำงานวา่ ใคร ยังไม่เสรจ็ ให้ตรงตามเวลา ยังสามารถแสดงความคดิ เหน็ แบบเรยี ลไทม์ และผลการเรียน ในช้นั เรยี น” ครู นักเรยี น ผู้สร้างงานโดยแนบ ๑ นักเรียนแก้ไขการบา้ นใน Google เอกสาร สำเนาและส่ง ครใู หค้ ะแนนงาน ๒ ๓ นักเรยี นตรวจสอบและ แก้ไขการบ้านในสำเนา รปู ที่ ๑ โครงสร้าง ช้ันเรยี นใน Google Classroom

ผสู้ อนสามารถใช้ Google Classroom เพื่อจดั การชั้นเรียนได้ ดังตัวอยา่ งต่อไปน้ี 1.เพ่มิ ผู้เรยี น หรือแจง้ รหัสเพ่อื ให้ผู้เรียนเขา้ ชน้ั เรยี นได้ 2.สรา้ ง ตรวจ และใหค้ ะแนนงาน 3.ตรวจสอบกำหนดการสง่ งาน สถานะการสง่ งานและคะแนน 4.เน้ือหาที่อยู่ในชน้ั เรยี นจะถูกจดั เกบ็ อยู่ใน Google Drive 5.สง่ ประกาศ แชร์แหล่งข้อมูล พูดคยุ หรอื ตอบคำถามตามหวั ขอ้ ท่ีผสู้ อนกำหนดให้ 6.เพิ่มผู้สอนได้มากกว่าหน่งึ คนในรายวิชาเดยี วกัน 7.ใชผ้ า่ นอุปกรณ์ไดห้ ลายชนดิ เช่น คอมพวิ เตอร์ แท็บเลต็ สมารท์ โฟน ข้อดขี อง Google Classroom 1. ตั้งค่าง่าย ครูสามารถสร้างชั้นเรียน เชิญนักเรียน และผู้สอนร่วม จากนั้นครูจะสามารถ แชร์ข้อมลู ตา่ งๆ ไดแ้ ก่ งาน ประกาศ และคำถามในสตรมี ของชนั้ เรยี นได้ 2. ประหยัดเวลาและกระดาษ ครสู ามารถสรา้ งช้ันเรียน แจกจ่ายงาน สื่อสาร และจัดรายการ ตา่ งๆ ให้เปน็ ระเบยี บอยูเ่ สมอได้ในทีเ่ ดียว 3. จดั ระเบยี บไดด้ ขี ึน้ นกั เรยี นสามารถดงู านได้ในหน้าส่งิ ทต่ี อ้ งทำ ในสตรมี ของชั้นเรียน หรือ ในปฏิทินของชั้นเรียน โดยเนื้อหาประกอบทั้งหมดของชั้นเรียนจะเก็บไว้ในโฟลเดอร์ Google ไดรฟ์ โดยอตั โนมตั ิ 4. การส่อื สารและการแสดงความคิดเห็นที่ปรบั ปรงุ ขึน้ ครสู ามารถสร้างงาน สง่ ประกาศ และ เริ่มการอภปิ รายในช้ันเรยี นได้ทันที นักเรียนก็สามารถแบ่งปันแหล่งขอ้ มูลร่วมกับเพือ่ นๆ และโต้ตอบ กันได้ในสตรีมของชั้นเรียนหรือผ่านทางอีเมล ครูสามารถดูได้อย่างรวดเร็วว่าใครทำงานเสร็จหรือไม่ เสรจ็ บา้ ง ตลอดจนสามารถแสดงความคิดเห็นและให้คะแนนโดยตรงไดแ้ บบเรยี ลไทม์ 5. ใช้ได้กับแอปที่คุณใช้อยู่ Classroom ใช้ได้กับ Google เอกสาร, ปฏิทิน, Gmail, ไดรฟ์ และฟอร์ม 6. ประหยดั และปลอดภยั Classroom ให้คุณใชง้ านฟรี ไม่มโี ฆษณา และไม่ใช้เน้ือหาของคุณ หรอื ข้อมลู ของนกั เรียนเพ่อื การโฆษณา

รปู ที่ 2 ตวั อย่างกระบวนการทำงานของ Google Classroom ผศ.ดร.ภาสกร เรืองรอง (2558) ได้กล่าวไว้ในบทความเรื่อง การใช้เทคโนโลยี Google Apps ใน การพั ฒ น า น วั ต ก ร ร ม ก า ร เรี ย น ก า ร ส อ น The use of Google Apps in the development of innovative teaching ไว้ว่า การจัดการเรียนการสอนในห้องเรียน จึงมีความ จำเป็นอย่างมากที่จะต้องมี การนำเคร่ืองมือหรือเทคโนโลยีใหม่ๆ เขา้ มาใช้ในการจัดระบบการเรียน การสอนเพ่อื ช่วยอำนวยความสะดวก ในหลายๆ ด้าน เครือ่ งมอื ท่ีนา่ สนใจในการจัดการเรยี นการสอน ปจั จุบนั คือ Google Apps for Education ท่ี จดั ได้วา่ เปน็ เคร่ืองมือท่ีช่วยตอบสนองปญั หาต่างๆ ของการเรียนการสอนในหอ้ งเรยี นได้อย่างหลากหลาย และ มีประสิทธิภาพอีกเครื่องมือหนึ่งในการ จัดการเรียนการสอนของไทย ดังนั้นจะเห็นได้ว่าGoogle Apps for Education สามารถตอบโจทย์ การศึกษายุคใหม่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงได้ชื่อว่าเป็นการสร้างตำนานแหง่ โลกการศึกษายุคใหม่ เพราะได้ทำให้รูปแบบการจัดการเรียนการสอน การติดต่อสื่อสาร การมีปฏิสัมพันธ์ แปรเปลี่ยนไป จากอดีตอย่างสิ้นเชิง แนวทางการจัดการเรียนการสอนด้วย Google Classroom การนำ Google Classroom มาใช้ในการจัดการเรียนการสอน สถานศึกษาจัดเตรียม Google Account ให้กับผู้เรียน และผูส้ อน ซงึ่ สามารถนำมาใช้จัดการเรยี นรไู้ ด้ทกุ กลุม่ สาระการ เรยี นรู้ รวมทง้ั กิจกรรมพัฒนาผ้เู รียน ตัวอย่าง การจัดการวชิ าตา่ ง ๆ ในชั้นเรยี นด้วย Google Classroom ดงั รปู ท่ี 3 และ 4

รปู ที่ 3 ตวั อย่างชั้นเรยี นใน Google Classroom ผา่ นเว็บบราวเซอร์ รปู ที่ 4 ตัวอย่างชนั้ เรียนใน Google Classroom ผา่ นสมาร์ทโฟน App การเตรียมความพร้อมของผู้สอนโดยผู้สอนจะเป็นคนสร้างชั้นเรียน ในที่นี้ผู้สอนสามารถสร้าง หอ้ งเรยี นแตล่ ะห้อง เช่น ชย.๒๑, คธ.๒๑ เพื่อสะดวกในการจัดการเรียน และแจง้ รหัสชัน้ เรียนให้ ผู้เรียนทราบ โดยอาจจะแจ้งในห้องเรียน แจ้งผ่านอีเมล หรือแจ้งผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ต่าง ๆ เช่น Line Google+ Facebook ดังรูปที่ 5

รูปที่ 5 ภาพตวั อยา่ งการเข้ารว่ มชัน้ เรียนด้วยรหสั ชน้ั เรยี น ผู้สอนสามารถจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้โดยใชบ้ ริการของ Google Classroom ใหส้ อดคล้องกับ กจิ กรรม การเรยี นการสอนในหอ้ งเรียน โดยเรมิ่ ต้นจากการทำกิจกรรมง่ายๆ ทไ่ี มซ่ บั ซอ้ นจนเกินไป เพอ่ื กระตนุ้ ใหผ้ ู้เรียน เกิดความสนใจอยากรู้ เช่น ตอบคำถามหรือแบบฝึกหัด แล้วจึงพัฒนาเป็นลำดับ ต่อๆ ไป โดยประยุกต์ใช้ ร่วมกบั การเรียนการสอนในห้องเรยี น ผสู้ อนสามารถติดตามและวเิ คราะห์ พฤตกิ รรมของผ้เู รียนจากการสังเกต การเข้ารว่ มเรยี นและการส่งงานของผเู้ รียนผา่ น Google Classroom ได้ จากประสบการณ์ในการจดั การเรยี นรู้ ของผเู้ ขียนพบว่า ทำให้ผ้เู รียนมวี ินัยในการ สง่ งาน มคี วามสนใจเรียนมากขนึ้ ปรมิ าณการสง่ งานเพิม่ ข้นึ ผู้เรียน พอใจที่จะเรียนรู้ผ่านอุปกรณ์ ของตนเองนอกเวลาเรียน เพราะเรียนได้ทุกที่ทุกเวลาและกล้าที่จะแสดงความ คดิ เห็นมากขึ้น 2.ความหมายของบทเรยี นออนไลน์ ถนอมพร เลาหจรัสแสง (2545: 4-5) ได้กล่าวถึงความหมายของบทเรียนออนไลน์ออกเป็น 2 ลกั ษณะ ได้แก่ ความหมายโดยทั่ว ๆ ไป จะหมายถึงการเรียนในลกั ษณะใดกไ็ ด้ซึง่ การถา่ ยทอดเน้อื หา ผ่านทาง อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ไม่ว่าจะเป็นคอมพิวเตอร์ เครือข่ายอินเทอร์เน็ต อินทราเน็ต สัญญาณ โทรทัศน์หรือ สัญญาณดาวเทียมอีกความหมายหนึง่ คือ ความหมายเฉพาะ การเรียนเนือ้ หาหรือ สารสนเทศสําหรบั การสอน

หรอื การอบรม ซงึ่ ใช้การนําเสนอดว้ ยตัวอกั ษร ภาพนงิ่ ผสมผสานกบั การ ใช้ภาพเคลื่อนไหว วีดิทัศน์และเสียง โดยอาศัยเทคโนโลยขี องเครือข่ายในการถา่ ยทอดเน้ือหา รวมทงั้ การจดั ใหม้ ีระบบบันทกึ ตดิ ตามตรวจสอบ และ ประเมินผลการเรียน โดยผู้เรียนที่เรียนจากบทเรียน ออนไลน์นี้ ส่วนใหญ่แล้วจะศึกษาเนื้อหาในลักษณะ ออนไลน์ซึ่งหมายถึงจากเครื่องที่มีการเชือ่ มต่อกบั ระบบลักษณะสาํ คัญของบทเรยี นออนไลน์ ถนอมพร เลาห จรสั แสง (2545, หนา้ , 21-22) ได้กล่าวว่า บทเรียนออนไลนท์ ่ีดีประกอบไปดว้ ยลักษณะสําคัญ ดงั นี้ (1) ทุกที่ ทุกเวลา(everywhere every time)หมายถึง บทเรียนออนไลน์ ที่สามารถช่วยขยายโอกาสในการเข้าถึงขอ้ มลู และเนื้อหาการ เรียนรู้ของผู้เรียนได้จริง ในที่นี้หมายรวมถึงการที่ผู้เรียนสามารถเรียกดูเนื้อหาได้ตามความ สะดวกของ ผู้เรียน (2) มัลติมีเดีย (multimedia) หมายถึง บทเรียนออนไลน์ต้องมีผสมผสานส่ือต่างๆที่ใช้ สาํ หรบั การนาํ เสนอเนอ้ื หาโดยใช้ประโยชน์จากส่ือประสม เพื่อชว่ ยในการประมวลผลสารสนเทศของผ้เู รียน ให้ เกิดความคงทนในการเรียนรู้ได้ดีขึ้น (3) ไม่ใช่เส้นตรง (non-linear) หมายถึง บทเรียนออนไลน์ สําหรับการ เรยี นร้แู บบท่คี วรตอ้ งมีการนําเสนอเนอ้ื หาในลกั ษณะทีไ่ ม่เปน็ เชิงเส้นตรงกลา่ วคอื ผู้เรยี น สามารถเข้าถึงเน้ือหา ตามความต้องการในแต่ละบทเรียนออนไลน์จะต้องจัดหาการเชื่อมโยงที่ยืดหยุ่น แก่ผู้เรียน (4) ปฏิสัมพันธ์ (interaction) หมายถึง บทเรียนออนไลน์ต้องมีการเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ มีปฏิสัมพันธ์กับเนื้อหา หรือผู้ที่มี ความต้องการเข้าถึงข้อมลู อื่นไดก้ ล่าวคือบทเรียนออนไลน์ควรต้องมี การออกแบบกิจกรรมซึ่งผู้เรียนสามารถ โต้ตอบกับเน้อื หา รวมท้งั มกี ารจดั เตรยี มแบบฝึกหัด และ แบบทดสอบให้ผู้เรียนสามารถตรวจสอบความเข้าใจ ด้วยตนเองได้บทเรียนออนไลน์ควรต้องมีการ จัดทําเครื่องมือในการให้ช่องทางแก่ผู้เรียนในการติดต่อสื่อสาร เพือ่ การปรึกษา สนทนา อภปิ ราย ซกั ถามแสดงความคิดเหน็ กับผ้สู อน วทิ ยากร ผู้เชีย่ วชาญ หรอื เพ่อื น ๆได้เปน็ อย่างดี (5) การ ตอบสนองแบบทันทีทนั ใด (immediate response) หมายถงึ บทเรียนออนไลน์ควรตอ้ งมีการ ออกแบบให้มีการทดสอบ การวัดผลและการประเมินผล ซึ่งให้ผลตอบกลับโดยทันทีแก่ผู้เรียนไม่ว่าจะ อยู่ใน ลักษณะของแบบทดสอบก่อนเรียน (pre-test) หรือแบบทดสอบหลังเรียน(post-test) เป็นต้น องค์ประกอบ ของบทเรียนออนไลน์ สนุ นั ท์ สังขอ์ อ่ ง (2549, หนา้ , 7-8) กลา่ วถึงบทเรียนออนไลนว์ ่ามี องค์ประกอบหลาย ๆ ดา้ นได้แก่ (1)วธิ ีสอน (pedagogy) หมายถงึ วธิ กี ารนาํ เสนอการใหผ้ เู้ รยี นมสี ่วน รว่ มการเรยี นการใชแ้ รงเสริม แรงจูงใจ การจัดระบบการมอบหมายงาน การให้ข้อมูลป้อนกลับ การ วัดผล และการบูรณาการกับหลักสูตร (2) การประเมินผล (assessment) ถ้าเป็นการสอนปกติครูจะ เก็บข้อมูลจากการวัดผลด้วยคะแนนหรือจาก วธิ กี ารสังเกต เพอ่ื ตดั สินว่าผเู้ รยี นมพี ัฒนาการอย่างไร ใน การเรียนแบบบทเรยี นออนไลน์ จะใชว้ ธิ ีประเมนิ แบบ ไม่เป็นทางการไม่ได้เนื่องจากยากที่จะวัดได้การ ประเมินผลจะต้องมกี ารวางแผนอย่างรัดกมุ ชัดเจนเพ่ือมุ่งวัด สมรรถภาพที่เกิดขึ้น มีการให้ข้อมูล ป้อนกลับ และมีการตัดสินคะแนน การประเมินผลในบทเรียนออนไลน์มี ความจําเป็นมากกว่าการสอน ปกติ เนื่องจากผูเ้ รียนและผูส้ อนไม่ไดพ้ บกนั แบบหน้าตอ่ หน้า การประเมินแบบ ไม่เป็นทางการ เช่น การสังเกต การซักถาม จึงทําไม่ได้ในบทเรยี นออนไลน์ดังนั้นจึงต้องมีการประเมนิ บอ่ ย ๆ และประเมิน ทุกขณะของการเรียนรู้ (3) เนื้อหา (content) ตามทฤษฎีเนื้อหาควรสัมพันธ์กับวิธีสอนหรือวิธี เรียนจึง ยังคงมีคําถามที่ต้องวิจัยว่าเนื้อหาที่ใช้สอนในบทเรียนออนไลน์ให้ประสบความสําเร็จควรมีลักษณะ เช่นไร (4) การนําเสนอเนื้อหา (instruction delivery)วิธีการที่ใช้ในการนําเสนอการเรียนแบบ ออนไลน์ มี ความสําคัญยิ่งในการเรียนแบบบทเรียนออนไลน์(5) การบริหารการเรียนการสอน (instructional

management) มีสงิ่ สําคญั 2 อย่างคือ แหล่งความร(ู้ resource) และระบบ (systems) หมายถึง การจัดแหล่ง ความรู้ การให้ข้อมูลป้อนกลับ การจัดเก็บข้อมูลการประเมิน และ การสนับสนุนเกี่ยวกับสมรรถภาพผู้เรียน แหล่งความรู้ ข้อมูลระหว่างเรียนการออกแบบการเรียนงาน มอบหมาย และบันทึกระเบียบพัฒนาการ (6 ) มาตรฐานและเป้าหมาย(standard and policies) หมายถึง ความสามารถเข้าถึงได้(accessibility) ความ ยืดหยุ่น (felicity) การเรียนตามอัธยาศัย (asynchronous) บทเรียนออนไลน์และการจัดองค์ประกอบของ บทเรียนออนไลน์ต้องเปน็ ไปตาม มาตรฐานและเป้าหมายปัจจบุ ัน (7) รปู แบบบทเรียนออนไลน์ที่ใชก้ นั อยู่นน้ั ยัง ไม่มีข้อมูลเชิงวิจัย สนับสนุนวา่ แบบใดจะมปี ระสทิ ธภิ าพดีทีส่ ุด ดังนั้นจึงควรมกี ารศึกษาวิจัยเพื่อใช้เป็นข้อมลู พื้นฐานใน การทําให้บทเรียนออนไลน์เกิดประสิทธิภาพมากที่สุดรูปแบบการเรียนการสอนแบบออนไลน์ รูปแบบ การเรียนการสอนที่นําระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอน โดยแบ่งการ เรยี นการสอนเป็นแบบซงิ โครนสั (synchronous learning) และอะซงิ โครนัส(asynchronous learning) ทก่ี าร เรียนการสอนในยคุ สมยั ใหมไ่ มต่ อ้ งอาศัยตําราเพยี งอย่างเดยี ว ผู้เรียนทุกคนในชั้น เรยี นไม่ใชต้ ําราจากที่กําหนด โดยอาจารย์ผู้สอนเท่านั้น แต่สามารถแสวงหาแหล่งความรู้อื่นได้อีก มากมาย เช่น ห้องสมุดแบบดิจิทัล ท่ี เรยี กว่าขมุ ความรู้โลก บทบาทการสอนของอาจารย์จะเปล่ยี น จากการใช้ชอลก์ และกระดานดาํ มาเป็นการชี้นํา เพราะยืนเคียงข้างผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนได้แสวงหา ความรู้และเรียนรู้ตามการชี้แนะเป็นตัวของตัวเองในการ แสวงหาความรู้ มีความคิดริเริ่มในการเรียนรู้ สิ่งใหม่ ต้องเปลี่ยนสภาพการเรียนแบบนัง่ เรียนมาเป็นแบบการ เรียนรูท้ มี่ ีการใช้ปฏิสัมพันธ์โต้ตอบ มี การใชเ้ ทคโนโลยีประกอบการเรียนรู้ยังตอ้ งสร้างบทบาทท่ีให้เรียนรู้ด้วย ตนเองแบบอะซงิ โครนสั ได้ และทีส่ ําคัญการวัดการเรียนรคู้ งไมอ่ ย่ทู ่ีผลของคะแนนสอบแต่เพียงอย่างเดยี ว ต้อง เปลีย่ นสภาพการ เรยี นการสอนแบบเดิมมาสู่กระบวนการสร้างและสงั เคราะห์ความร้ไู ด้ รปู แบบของการเรียน การสอน แบบออนไลนส์ ามารถแบ่งออกเปน็ 3 รูปแบบคอื (1) การเรยี นดว้ ยตนเอง (self-directed) (2) แบบ ผสมผสาน (asynchronous) ที่มีการผสมผสานทั้งการเรียนด้วยตนเองกับการเรียนในชั้นเรียนมาไว้ บน เครือข่ายหรือบนอินเทอรเ์ น็ตเหมาะสําหรับการอภิปราย ถกปัญหาเป็นทีม ซึ่งลดข้อจํากัดเรื่อง เวลา สถานท่ี สามารถเรยี นรูไ้ ด้ทุกเวลา ซึ่งเปน็ การเรียนการสอนผา่ นทางเวบ็ มีการสรา้ งโฮมเพจ รายวิชา ทีใ่ ห้ผ้เู รียนสามารถ เรียนรู้ได้ตามอัธยาศัย (3) การเรียนแบบห้องเรียนเสมือนจริง (synchronous) มีข้อจํากัดที่ต้องกําหนดการ เรียน การสอนตามตารางสอนมีการใช้ห้องเรียนและต้องนัดเวลาเรียน และมีการจําลองสถานการณ์จริงของ ห้องเรยี นมาไว้บนเครือขา่ ยอนิ เทอรเ์ น็ตโดยใช้ศกั ยภาพของเครอื ข่ายและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อนํา บทเรียน ที่สอนบรรจุไว้บนเครื่องแมข่ ่าย สามารถผลิตสื่อการสอนด้วยระบบมัลติมีเดีย ภาพและเสียง ครบครัน รองรบั การสื่อสารในชั้นเรียนได้อย่างเต็มที่ นอกจากนั้นยังสามารถจัดการเกี่ยวกับการส่งต่อ องค์ความรู้ และการ จดั การความรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพซ่งึ จะสามารถนําให้บริการในการเรยี น การ สอนแบบด้วยตวั เองได้อย่างมี ประสิทธภิ าพข้อดีของบทเรียนออนไลน์ ข้อดจี ากการเรยี นการสอนแบบ บทเรยี นออนไลน์ มีดังต่อไปนี้(ถนอม พร เลาหจรัสแสง, 2545, หน้า, 18-20) (1) ช่วยให้การจัดการ เรียนการสอนมีประสทิ ธิภาพมากย่ิงข้ึน เพ่ือ การถ่ายทอดเนื้อหาผ่านทางมัลติมีเดีย สามารถทําให้ ผู้เรียนเกิดการเรียนรูไ้ ด้ดีกว่าการเรยี นจากสื่อข้อความ เพียงอยา่ งเดยี ว หรือจากการสอน โดยชว่ ยให้ ผเู้ รยี นเรียนรู้ไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพในเวลาที่เร็วกว่า (2)ช่วยทํา ใหผ้ สู้ อนสามารถตรวจสอบ ความก้าวหนา้ พฤตกิ รรมการเรยี นของผู้เรียนไดอ้ ย่างละเอียดและตลอดเวลา โดยมี

การจัดหาระบบ การจัดการรายวิชา (3) ช่วยให้ผู้เรียนสามารถควบคุมการเรียนของตนเองได้ เนื่องจากการ นําเอา เทคโนโลยผี สมผสานระหวา่ งส่อื หลาย ๆ ชนิด (hypermedia) มาประยกุ ตใ์ ช้ ซ่งึ มลี ักษณะการ เชอื่ มโยง ข้อมูลที่เกี่ยวเนื่องกันเข้าไว้ด้วยกันในลักษณะที่ไม่เป็นเชิงเส้นตรง (non-linear)ดังนั้นผู้เรียน สามารถเข้าถึง ขอ้ มลู ใดกอ่ นหลังก็ไดโ้ ดยไม่ตอ้ งเรยี งตามลาํ ดบั และเพม่ิ ความสะดวกในการเข้าถงึ ของ ผเู้ รียน (4) ช่วยให้ผเู้ รยี น สามารถเรยี นรไู้ ดต้ ามจงั หวะของตน (self-paced learning) ผเู้ รยี นสามารถ ควบคมุ การเรียนรู้ของตนในด้าน ของลําดับการเรียนได้ (sequence) ตามพื้นฐานความรู้ความถนัด และความสนใจของตน (5) ช่วยทําให้เกิด ปฏิสมั พนั ธร์ ะหวา่ งผู้เรยี นกบั ครผู ู้สอน และกับเพือ่ น ๆได้ เนือ่ งจากมีเคร่อื งมือท่เี อ้ือต่อการโต้ตอบที่หลากหลาย เช่น การพดู คุย กระดานสนทนา จดหมาย อเิ ล็กทรอนกิ ส์ เป็นต้น (6) ชว่ ยส่งเสรมิ ให้เกดิ การเรยี นร้ทู กั ษะใหม่ๆ รวมท้ังเนื้อหาทม่ี ีความทันสมัย และตอบสนองต่อเร่อื งราวตา่ ง ๆ ในปัจจบุ ันไดอ้ ย่างทนั ที (7) ทําให้เกิดรูปแบบ การเรียนท่ีสามารถ จัดการเรียนการสอนให้แก่ผูเ้ รียนในวงกว้างขน้ึ เนื่องจากไม่มีขอ้ จํากัดด้านเวลาและสถานที่ จึงสามารถ นาํ ไปใช้เพอ่ื การเรยี นรตู้ ลอดชีวิต 3. แนวคดิ ทฤษฎที ี่เก่ยี วข้องกบั การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษท่ี 21 eLearning การพฒั นาของโลกในยุคปจั จบุ นั มงุ่ สูท่ ศิ ทางของสังคมแหง่ การเรยี นรู้ วิธกี ารเรียนรขู้ อง มนุษย์จงึ ตอ้ งมี การปรับเปลย่ี นให้ทันยุคทันสมัยและเขา้ กันได้กับส่ิงแวดล้อมและทรัพยากรในปจั จุบัน ซง่ึ ในขณะน้ีเป็นช่วงยุค ดิจิตอลในศตวรรษที่ 21 หรือที่เรียกอีกอย่างหนึ่งว่ายุคสังคมสารสนเทศ ดังนั้น สื่ออิเล็กทรอนิกส์จึงถือว่ามี บทบาทสำคัญเป็นอย่างมากในการถ่ายทอดความรู้ด้วยกระบวนต่าง ๆ ท่ี หลากหลาย ไปสู่กลุ่มเป้าหมายที่มี ความต้องการต่างกัน นับตั้งแต่มีการพัฒนาอินเทอร์เน็ต การ ติดต่อสื่อสารระหว่างมนุษย์ก็เป็นไปด้วยความ สะดวกรวดเรว็ มากข้นึ รวมทั้งการเรียนการสอนและ การศึกษาหาความรูก้ ็สามารถทำไดอ้ ย่างไร้พรมแดนทำให้ เกิดคาว่า E-Learningหรือ Electronic Learning เป็นที่รู้จักกันไปทั่วโลก (ศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษา ; 8 มกราคม 2550)1. ความหมาย ของ E-learning คืออะไร ได้มีนักวิชาการหลายท่านได้ให้คานิยามคาว่าไว้ มากมาย เกี่ยวกับความหมายของ E-learning โดยขอสรุปว่า “E-Learning คอื กระบวนการ การเรียน การสอนผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ อื่นๆท่ี เหมาะสม ซ่ึงชว่ ยลดขอ้ จำกัดด้านเวลาและสถานท่ีระหว่างผเู้ รียนและผู้สอนช่วยให้ผ้เู รียน สามารถเรียนได้ตาม ความตอ้ งการและความจาเปน็ ของตนได้อย่างต่อเนื่องตลอดเวลา” 2. ประเภท ของการศึกษาพระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 15 การจัดการศึกษามี 3 รูปแบบ คือการศึกษาในระบบ การศึกษา นอกระบบ และการศึกษาตามอธั ยาศัย (1) การศึกษาในระบบ เป็นการศึกษาที่กาหนดจุดมุ่งหมาย วิธีการศึกษา หลักสูตร ระยะเวลา ของ การศกึ ษา การวัดและการประเมนิ ผล ซ่ึงเปน็ เงื่อนไขของการสำเร็จการศกึ ษาท่แี น่นอนศึกษา โดย มีการศึกษา ระดบั ปฐมวัย ประถมศึกษา มธั ยมศกึ ษาและระดบั การศึกษาอดุ มศกึ ษา (2) การศึกษานอกระบบ เป็นการศึกษาที่มีความยืดหยุ่นในการกาหนดจุดมุ่งหมาย รูปแบบ วิธีการ จัดการศึกษา ระยะเวลาของการศกึ ษา การวดั และประเมินผล โดยเนอ้ื หาและหลักสตู รจะตอ้ ง มีความเหมาะสม สอดคลอ้ งกับสภาพปัญหาและความต้องการของบคุ คลแตล่ ะกลมุ่

(3) การศึกษาตามอัธยาศัย เป็นการศึกษาที่ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเองตามความสนใจ ศักยภาพ ความพร้อมและโอกาส โดยศึกษาจากบุคคล ประสบการณ์ สภาพแวดลอ้ ม สงั คม สอื่ หรือ แหล่งความรอู้ ่นื ๆ ใน ที่นี้จะขอกล่าวถึงการใช้ e-learning ที่เข้ามามีบทบาทกับการศึกษาไทย ซึ่งจะ กล่าวถึงการศึกษาในระบบ เพราะจะเหน็ พฒั นาการเปล่ยี นแปลงทเี่ ดน่ ชัดทส่ี ุด E-learning กับการศึกษาในประเทศไทยประเทศไทยมีการนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์มาใช้ สนับสนุน การศึกษาอย่างเป็นทางการตั้งแตพ่ .ศ. 2498 เมื่อกระทรวงศึกษาธิการได้ก่อตั้งสถานี วิทยุกระจายเสียงเพอื่ การศกึ ษาข้นึ มาเปน็ ครั้งแรกหลงั จากนัน้ ไม่นานเมือ่ มกี ารจัดต้ังสถานีวิทยุ โทรทัศน์ขึ้น กระทรวง ศึกษาธิการก็มี โอกาสผลิตรายการเพ่ือการศึกษาออกอากาศไปสู่ประชาชน ทั่วไปอกี ชอ่ งทางหนึ่ง วิทยุกระจายเสียงและวทิ ยุ โทรทศั นจ์ งึ เปน็ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ทีม่ ีบทบาทในการ สนบั สนุนการศกึ ษามาเปน็ เวลานาน จนกระทั่งมีการก่อตั้ง สถานีวิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการขึ้นใน พ.ศ. 2537 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อ การศกึ ษาในประเทศไทย เริ่มตน้ ในระดับอดุ มศึกษาการใช้คอมพิวเตอร์เพอื่ การศึกษาในระยะแรกเป็นการใช้ใน รูปแบบของ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน(Computer-Assisted Instruction: CAI)ต่อมาเมื่อมีเทคโนโลยีเครือข่าย และ อินเทอร์เน็ตเกิดขึ้น จึงพัฒนาไปสู่การเรียนการสอนออนไลน์หรือ Web-Based Instruction (WBI)eLearning ในประเทศไทยเริ่มดาเนินการในปี พ.ศ. 2538 โดยรัฐบาลได้เปิดเครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อ โรงเรียนไทย เพื่อต้องการจะเชื่อมโยงโรงเรียนต่าง ๆ ในประเทศเข้าด้วยกันโดยผ่านเทคโนโลยี อินเทอร์เน็ต เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ ตลอดจนการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารทางการศึกษาร่วมกันบน เครือข่าย ต่อมา คณะรฐั มนตรไี ดใ้ ห้ความเห็นชอบเม่ือวันท่ี 5 ตุลาคม 2542 ใหข้ ยายเครอื ข่ายให้ ครอบคลุมโรงเรียนในระดับ ประถมศึกษามัธยมศึกษา และอาชีวศึกษาทัว่ ประเทศโดยความรับผดิ ชอบ ของเนคเทค ปัจจุบันเนคเทคได้ดา เนินกิจกรรมบนเครือข่ายหลายอย่าง ประกอบด้วยการจัดทำ เว็บไซต์ของโครงการเพื่อเป็นสื่อกลางในการ แลกเปลี่ยนความรู้และเรียนรู้ (เยาวลักษณพ์ ิพัฒนจ์ ำเริญ กุล ;11 กุมภาพันธ์ 2555)กระทรวงศึกษาได้มีการ รับรองการศึกษาทางไกลผา่ นอนิ เทอร์เนต็ อย่างเปน็ ทางการตั้งแต่ตน้ ปี 2549 จงึ ทำให้การเตบิ โตของหลักสูตร E-learning มีอัตราการเติบโตเป็นเท่าตัว เพราะการศึกษาทางไกลไม่เพียงจะอำนวยความสะดวกและเอื้อ ประโยชน์ตอ่ ผเู้ รยี นแล้วยังอำนวย ประโยชน์ใหก้ ับสถาบันการศกึ ษาในแง่ของการบริหารจดั การอีกดว้ ย คือ ทำ ใหต้ ้นทุนในการจัดการ หลกั สตู รต่ำลงดว้ ยรูปแบบการเรยี นการสอนในระบบทางไกลทน่ี ักศึกษาไม่ต้องเดินทาง มาเข้าชั้นเรียน และสามารถรองรับนักศึกษาได้อย่างไม่จำกัด เป็นช่องทางในการสร้างและขยายโอกาสทาง การศึกษา ให้เข้าถึงผู้ที่มีความต้องการในวงกว้างขึ้น โดยเฉพาะนักศึกษาที่อาศัยในต่างจังหวัดดังนั้น e- Learning จึงเป็นช่องทาง โอกาสและทางเลือกไม่เพียงแต่นักศึกษาเท่านั้นมหาวิทยาลัยทั้งภาครัฐและ ภาคเอกชนยังไดใ้ ห้ความสำคญั ดว้ ยเช่นกนั โดยในช่วง 2 ปีทผ่ี ่านมามหาวิทยาลยั ท้งั ภาครัฐและ ภาคเอกชนได้ มีการเปิดหลักสูตร e-Learning กันมากมาย เช่น หลักสูตรวิทยาศาสตร์บัณฑิต สาขา การพัฒนาซอฟต์แวร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์หลกั สูตรบริหารธรุ กจิ มหาบัณฑิตสาขาการ ทอ่ งเที่ยว มหาวิทยาลัยนเรศวร มหาวิทยาลัย หลักสูตรศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ ความรู้ คณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัย ศิลปากร เกิดขึ้นอีกอย่างต่อเน่ือง จะเห็นได้ว่าจากการขยายตัว ของหลักสูตรต่างๆ ที่เกิดขึ้นนั้นได้สะท้อนให้ เห็นแนวโนม้ ของe-Learning ทเี่ ขา้ มามีบทบาทสำคัญใน งานการศกึ ษา (อรวรรณ รักรู้ ; 6 กรกฎาคม 2550)

ต่อมาเมื่อเทคโนโลยกี ารสื่อสารแบบไร้สาย (wireless) ได้เริ่มเข้ามามีบทบาทและเติบโตอย่างมากในช่วงเวลา 2-3 ปีที่ผ่านมา อุปกรณ์แบบไร้สาย ต่างๆ ได้เข้ามาแทนที่อุปกรณ์แบบมีสาย (wired)ที่เราเห็นได้ชัดเจนคือ โทรศพั ท์มอื ถือ เมือ่ มกี าร พัฒนาอยา่ งรวดเรว็ ของเทคโนโลยแี บบไร้สายเทคโนโลยีสาหรับอุปกรณ์ไร้สายต่างๆ ก็ถูกพัฒนาตาม ขึ้นไปด้วย ซึ่งได้แก่ Bluetooth, WAP(Wireless Application Protocol) และ GRPS (General Packet Radio System) เม่ือเทคโนโลยไี ด้ก้าวหนา้ ไป วิธีการศึกษาหาความรู้กถ็ กู พฒั นาตามไปด้วย จึงเกิดขึ้น m-Learning ย่อมาจาก mobile learning ซึ่งเป็นการพัฒนาอีกขั้นของ e-Learning เป็น การ ผสมผสานท่ีลงตัวของการพฒั นาการศกึ ษาเรียนรู้ โดยใช้เทคโนโลยีทีท่ นั สมยั เขา้ มาชว่ ย เทคโนโลยีทก่ี ล่าวถึงน้ีก็ คือ เทคโนโลยีการสื่อสารแบบไร้สาย เราเรียกการเรียนแบบนว้ี า่ Wireless Learning , Mobile Learning หรอื m-Learning ดังนั้น m-learning คือ การศึกษาทางไกลผ่านทาง อุปกรณ์เคลื่อนที่แบบไร้สายต่างๆ เช่น โทรศัพท์มือถือ , PDA ,laptop computer,ipad, tablet เป็นต้น (ชนะศึก โพธิ์นอก ; 8 กันยายน 2554)ซึ่ง ในขณะนี้ในหลายๆ สถาบันก็ได้มีการมีการสอน แบบ e-learning ผ่านสื่อ m-learning เช่น ipad, tablet เหตผุ ลเน่อื งจากสะดวกแก่การเรียนการ สอน เพราะ ในมหาวทิ ยาลยั กม็ ีระบบ wifi อย่างทัว่ ถึง ทำให้การเรียน ผา่ น ipad, tablet ทำให้การ เรียนแบบ e-learning เป็นจริงและไดผ้ ลมากข้ึน เชน่ ไม่เพยี งแตอ่ าจารย์สามารถ ทำตาราเรียนเปน็ Power point ใหน้ กั ศึกษาดาวนโ์ หลดมาเรยี นได้ แต่ยังเพ่มิ ความสนกุ สนานในการเรียนมาก ขึ้นอีก ด้วย VDO Clip และ interactive ทำให้การเรียนมีชีวิตชีวามากขึ้น การใช้ชีวิตในการเรียนไม่น่าเบื่อ สรุปดังจะเห็นไดว้ า่ การเรียนการสอนแบบ e-learning นั้นได้เข้ามาเป็นสว่ นหน่ึงของการศกึ ษาไทย เป็นเวลา ช้านาน และ e-learning ก็ได้มีการเปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัยของเทคโนโลยีที่เปลี่ยนไป ทั้งนี้ก็เพื่อจะ ตอบสนองความตอ้ งการในการเรียนรู้ของผู้เรยี นและเพื่อตอบสนองนโยบายการเรียนรู้ เนือ่ งจากบุคลากรถือได้ ว่าเปน็ กำลงั สำคญั ในการขับเคล่อื นองค์กรใหก้ ้าวไปในทศิ ทางท่ีถูกต้อง เพือ่ พัฒนาประเทศให้เกิดการแข่งขันได้ กับประเทศอื่น ๆ จึงต้องการบุคลากรที่มีคุณภาพ โดยได้รับ การศึกษาที่เป็นระบบ มีประสิทธิภาพ และ สอดคล้องกับความสามารถของแต่ละคน ประกอบกบั ววิ ฒั นาการของเทคโนโลยีต่าง ๆ ที่เปล่ียนไปในทางที่ดี ข้นึ เร็วขึ้น ดังนัน้ ระบบการเรียนการสอน ทางไกลโดยใช้เครือข่ายอินเตอร์เน็ตในลกั ษณะของ e-Learning จึง เกดิ ขนึ้ เพ่อื ใชส้ นับสนุนการศึกษา และการฝกึ อบรมให้บุคลากรไดร้ บั การศกึ ษาอย่างต่อเน่อื งตลอดชวี ติ อันเป็น แนวทางทีส่ ำคญั ในการ พฒั นาประเทศ

บทท่ี 3 การดำเนนิ การวจิ ยั การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยในชั้นเรียนเพื่อการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ โดยใช้ ระบบห้องเรียนออนไลน์ google Classroom ระดับชั้น ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช. 2) รายวิชา คอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพื่องานอาชีพ เรื่อง องค์ประกอบของ ระบบคอมพิวเตอร์มีรายละเอียดการ ดำเนินการวิจยั ดงั น้ี 1. กลมุ่ เปา้ หมาย - กลุ่มเปา้ หมายท่ีใช้ในการวิจยั คร้ังน้ี คอื ประกาศนยี บัตรวชิ าชีพ (ปวช. 2) จำนวน ๑๔ คน 2. เครื่องมอื ทใ่ี ช้ในการวิจยั - เครื่องมือที่ใช้ในการวจิ ัย ได้แก่ บทเรียนออนไลน์ โดยใช้ระบบห้องเรยี นออนไลน์ Google Classroom และ แบบทดสอบกอ่ นเรยี นและหลงั เรียน บทเรยี นออนไลน์ บทเรียนออนไลน์ประกอบไปด้วย เนื้อหา ข้อสอบ และใบงาน เรื่ององค์ประกอบของระบบ คอมพิวเตอร์ 3. ขั้นตอนการดำเนินการวิจัย การวิจัยครั้งนี้เป็นการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ โดยใช้ระบบ หอ้ งเรียนออนไลน์ Google Classroom มขี ้นั ตอนการดำเนนิ การวิจัยดังนี้ ขั้นที่ 1 ผู้สอนสร้างห้องเรยี นออนไลน์โดยใช้ ระบบห้องเรียนออนไลน์ Google Classroom และ ใหน้ กั เรียนผเู้ รียนลงทะเบียนเขา้ มาเรยี นได้ ขั้นที่ 2 ผู้สอนพัฒนาการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ แบบออนไลน์ เรื่ององค์ประกอบของ ระบบ คอมพิวเตอร์ เช่น การทำแนบไฟล์ ใบความรู้ ทำข้อสอบ ทำใบงาน เป็นต้น แสดงไว้ใน ห้องเรียน ออนไลน์ ซ่ึงนกั เรยี นสามารถมาศึกษาข้อมูลได้ด้วยตนเองได้ ขั้นที่ 3 เมื่อผู้เรียนได้เข้ามาศึกษาเนื้อหาและ แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ ออนไลน์ แลว้ ผูส้ อนจะใหน้ กั เรยี นทำแบบทดสอบ และใบงานออนไลน์ เพ่อื เกบ็ คะแนน นกั เรียนในแต่ละหน่วย ย่อย พร้อมทัง้ บอกคะแนนทนั ที ขน้ั ที่ 4 หากนักเรียนทำแบบทดสอบไม่ผ่าน นักเรียนสามารถทบทวนบทเรยี นไดก้ าร 4. วเิ คราะห์ข้อมูล การวิเคราะหข์ อ้ มูล มกี ารดำเนนิ การ ดงั นี้ 1. วิเคราะหข์ ้อมลู โดยการหาประสิทธิภาพของบทเรยี นออนไลน์ 75/75 โดยใชส้ ถิติ คา่ เฉล่ีย และคา่ ร้อยละ ซง่ึ ดำเนนิ การดังน้ี คำนวณหาประสทิ ธภิ าพของบทเรียนออนไลน์โดยใชส้ ูตร E1 / E2

2. ข้อมูลจากแบบทดสอบก่อนและหลังเรียนออนไลน์โดยการใช้สถิตคิ ่าเฉล่ีย และค่าร้อยละ ซ่งึ ดำเนนิ การดงั น้ี 3.1 หาคา่ เฉล่ียแบบสงั เกตพฤติกรรมการเรยี นการสอนแบบออนไลน์ 3.2 หาคะแนนความกา้ วหนา้ หรอื คะแนนท่ีเพิม่ ขนึ้ 3.3 ค่าร้อยละความก้าวหน้าของผลสัมฤทธิ์การเรียนโดยใช้สูตรร้อยละ ของ ความก้าวหน้า

บทที่ 4 ผลการวิเคราะหข์ ้อมลู สำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลในงานวิจัยนี้จะแบ่งออกเป็น 3 ด้าน คือ ด้านการหาประสิทธิภาพของ บทเรียนออนไลน์ด้านการวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนที่เรียนแบบออนไลน์โดยใช้ระบบ ห้องเรยี นออนไลน์ Google Classroom และด้านการวิเคราะห์ความพึงพอใจของผู้เรียนท่ีมีต่อการ เรียนแบบ ออนไลนด์ งั แสดงในตารางที่ 1 ดังนี้ 1. สัญลักษณ์ทใ่ี ชใ้ นการเสนอผลการวิเคราะหข์ อ้ มูล 2. ลำดับขัน้ ตอนในการเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล 3. ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู สญั ลกั ษณท์ ีใ่ ชใ้ นการเสนอผลการวิเคราะหข์ ้อมลู ผศู้ ึกษาค้นคว้าไดก้ ำหนดความหมายของสญั ลกั ษณ์ทใี่ ชใ้ นการวิเคราะหข์ อ้ มูลดงั น้ี เมอื่ E1 แทน ประสิทธภิ าพของกระบวนการ X แทน คะแนนรวมของขอ้ สอบ A แทน คะแนนเต็มของขอ้ สอบ N แทน จำนวนผู้เรียน E2 แทน ประสทิ ธิภาพของผลลัพธ์  F แทน คะแนนรวมหลงั การการเรียนออนไลน์ B แทน คะแนนเตม็ ของการสอบหลงั การเรยี นออนไลน์ X1 แทน คะแนนเฉลี่ยก่อนการเรยี นออนไลน์ X2 แทน คะแนนเฉลยี่ หลังการการเรียนออนไลน์ ลำดบั ข้ันตอนในการเสนอผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ผู้ศึกษาคน้ ควา้ ได้วเิ คราะหข์ ้อมลู ตามลำดับขน้ั ตอนดงั นี้ ตอนที่ 1 วิเคราะห์หาประสิทธิภาพของบทเรียนออนไลน์ชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช. 2) ที่มี ประสิทธภิ าพตามเกณฑ์ 75/75 ตอนที่ 2 เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนระหว่างก่อนและหลังเรียนบทเรียน ออนไลน์ ตอนที่ 3 ความพงึ พอใจนกั เรียนท่มี ตี อ่ บทเรยี นออนไลน์

ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล ตารางท่ี 1 วิเคราะห์หาประสิทธิภาพของบทเรยี นออนไลน์ชน้ั ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช. 2) ท่ีมปี ระสทิ ธิภาพ ตามเกณฑ์ 75/75 ตาราง 4 - 1 แสดงค่าคะแนนเฉลย่ี จากการเรียนออนไลน์ ประกาศนียบตั รวชิ าชพี (ปวช. 2) (N= ๑๔) ลำดบั ชอ่ื - สกลุ กอ่ นเรยี น หลังเรียน 1 นายกันตภณ เพกิ โสภณ 15 18 2 นายคุณากร หาญสำโรง 14 16 3 นายจริ ศกั ด์ิ นคิ นธา 16 17 4 นายชุมชาย ยอดแกว้ 15 17 5 นายปฐมพร ปานเนยี ม 15 15 6 นายวรเดช โปษนานนท์ 16 18 7 นายสหรัฐ ใจทอง 14 16 8 นายสทิ ธพิ ล แจม่ จรูญ 15 17 9 นายสุเทพ รสโสภา 12 18 10 นายเสกสรร เดชมาก 16 15 11 นายอดศิ ร เทยี นชัย 12 18 12 นายอนุชา รอดภัย 14 18 13 นายอภิชาติ บุลา 13 17 14 นายประดษิ ฐ์ ลายคล้ายดอก 14 17 รวม ๒๐๒ ๒๓๗ x̅ 14.10 17.10 จากขอ้ มูลในตารางค านวณหาคา่ E1และ E2 ได้ดงั นี้ 395/14 E1 = [ 20 ]X 100 = 70.53 479/14 E2 = [ 20 ]X 100 = 85.53 จากตาราง 4 - 1 พบว่า เมื่อนักเรียนท าแบบทดสอบก่อนเรียน 20 คะแนน ได้คะแนนระหว่าง ระหว่างเรียนได้ค่าเฉลี่ย 14.10 คิดเป็นร้อยละ 70.53 และผลการทดสอบหลังเรียนออนไลน์ได้ ค่าเฉล่ีย 17.10 จากคะแนนเตม็ 20 คะแนน คิดเปน็ รอ้ ยละ 85.53

ตอนที่ 2 ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจต่อ การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์โดยใช้ระบบ ห้องเรียนออนไลน์ google Classroom ระดับชั้น ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช. 2) รายวิชา คอมพิวเตอร์ และสารสนเทศเพ่อื งานอาชพี ระดบั ความพงึ พอใจ . แปล รายการ 54321 รวม ������ ผล 1. นา่ สนใจดึงดูดใจกระตุน้ ใหเ้ กิดความ สนใจ 20 8 138 4.92 ดีมาก 2. ชว่ ยเสริมสร้างความเข้าใจในบทเรยี น 28 140 5 ดมี าก 3. มีการอัพเดตข้อมูลที่ทนั สมยั 28 140 5 ดีมาก 4. สามารถเขา้ ใช้งานไดต้ ลอดเวลา 28 140 5 ดมี าก 5.การออกแบบหนา้ จอเหมาะสม 15 13 127 4.53 ดีมาก 6.ลักษณะขนาด สีของตัวอักษร ชัดเจน สวยงาม 20 8 138 4.92 ดมี าก อา่ นงา่ ย และเหมาะสมกบั ระดับชน้ั ทีเ่ รยี น 7.ความเหมาะสมของสพี นื้ 17 6 5 124 4.42 ดี 8. ภาพ/ ภาพเคลื่อนไหว/ เสียง ที่ใช้ เหมาะสมกับ 26 1 1 137 4.89 ดมี าก การเรียนรไู้ ด้ดี 9. สอ่ื มีปฏิสมั พันธก์ ับผูเ้ รยี นอยา่ ง เหมาะสม 25 2 1 136 4.85 ดมี าก 10. ใหผ้ ลปอ้ นกลับ เสรมิ แรงและให้ ความช่วยเหลือ 28 140 5 ดมี าก เหมาะสม 11. สนองตอบตอ่ ความแตกต่างระหวา่ ง บุคคล 20 8 138 4.92 ดมี าก 12. บทเรียนมีความยืดหยุ่นมีเมนู/ ปุ่ม ให้ผู้เรียน 25 2 1 136 4.85 ดีมาก ควบคมุ บทเรียนได้สะดวก 13.การใชง้ านงา่ ยไม่ซบั ซอ้ น สะดวกตอ่ การใช้งาน 28 140 5 ดมี าก เฉลยี่ รวม 4.86 ดมี าก จากตารางพบวา่ ผู้ประเมนิ มีความคิดเห็นต่อบทเรยี นออนไลน์อยู่ในระดับดีมาก 12 รายการ คือช่วย เสริมสร้างความเข้าใจในบทเรียน มกี ารอพั เดตข้อมูลท่ีทนั สมัย สามารถเข้าใช้งานได้ตลอดเวลาให้ผลป้อนกลับ เสริมแรงและให้ความช่วยเหลือเหมาะสม และการใช้งานง่ายไม่ซับซ้อน สะดวกต่อการใช้ งาน (x̅= 5 ) น่าสนใจดึงดูดใจกระตุ้น ให้เกิดความสนใจ ลักษณะขนาด สีของตัวอักษร ชัดเจนสวยงาม อ่านง่าย และเหมาะสมกับระดับชั้นที่เรียน และ สนองตอบต่อความแตกต่างระหว่างบุคคล(x̅ =4.92 ) ภาพ/ ภาพเคลื่อนไหว/ เสียง ที่ใช้เหมาะสมกับการเรียนรู้ได้ดี(x̅ =4.89)สื่อมีปฏิสัมพันธ์กับผู้เรียนอย่างเหมาะสม และ บทเรียนมีความยืดหยุ่นมีเมนู/ ปุ่มให้ผูเ้ รียนควบคมุ บทเรียนได้สะดวก (x̅ =4.85) การออกแบบหน้าจอ เหมาะสม ( x̅=4.53) อยูใ่ นระดบั ดี 1 รายการ คอื ความเหมาะสมของสีพน้ื (x̅ = 4.42)

บทที่ 5 สรปุ อภปิ รายผลและขอ้ เสนอแนะ การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบออนไลน์ โดยใช้ระบบ ห้องเรียน ออนไลน์ Google Classroom โดยมีวตั ถุประสงคก์ ารวิจยั เพ่อื พฒั นาการจดั การเรียนการสอน ซึง่ กลุ่มเป้าหมาย ท่ีใชใ้ นการวิจัย ได้แก่ นกั เรียนช้นั ประกาศนียบตั รวิชาชพี (ปวช. 2) จำนวน 1 หอ้ ง จำนวน ๑๔ คน เครอื่ งมือ ทใ่ี ชใ้ นการวจิ ยั ได้แก่ บทเรยี นออนไลน์, แบบฝกึ หดั ก่อนเรยี นและหลัง ใช้เวลาในการจัดการ เรียนรู้ จำนวน 4 ชั่วโมงตามแผนการจัดการเรียนรู้จำนวน 2 แผน ได้แก่ แผนแนวคิดเชิงคำนวณ จำนวน 1 คาบ และแผน ตวั อย่างการแกป้ ญั หาโดยใช้แนวคิดเชิงคำนวณ จำนวน 3 คาบ การประเมนิ ผลการ พฒั นา วเิ คราะห์ข้อมูลโดย ใชส้ ถติ ิการหาคา่ เฉลยี่ รอ้ ยละ สรุปผลการวิจยั อภปิ รายผลและข้อเสนอแนะมี รายละเอยี ดดังนี้ สรุปผลการวจิ ัย ผลการเปรียบเทยี บก่อนและหลังเรียนออนไลนข์ องนักเรียนชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 2 พบวา่ 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรยี นระหว่างก่อนและหลังเรยี นบทเรียนออนไลน์มี ประสิทธิภาพ 70.53/83.5 ซึ่งสูงกว่าเกณฑท์ ่ีตงั้ ไว้ 2. ความพงึ พอใจของผู้เรยี นท่ีมีตอ่ การจดั กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียนแบบหอ้ งเรยี นกลับดา้ น ผ่าน Google classroom อภิปรายผลการวิจัย นกั เรยี นทท่ี ำคะแนนกอ่ นและหลังเรยี นออนไลน์เม่ือได้เรียนออนไลน์แลว้ จากการเปรยี บเทียบ ผลการ บันทึกคะแนนจากเกณฑ์ทีว่ ัดและหาค่าเฉลี่ยของความก้าวหน้าในการเรียนออนไลน์จะเห็นได้ว่า คะแนนหลงั เรียนสูงกว่าก่อนเรียนแสดงวา่ บทเรียนออนไลน์ทำให้นักเรียนมีพัฒนาการที่ดขี ึ้น เป็นเครื่องช้ี ชัดว่า บทเรียน ออนไลนม์ ีความเหมาะสม และกระตุ้นใหน้ กั เรียนอยากเรยี นมากขึ้น ขอ้ เสนอแนะ 1.1 ผู้สอนต้องศึกษาขั้นตอนของการจัด กิจกรรมเพื่อพัฒนาการเรียนรู้แบบออนไลน์ อย่าง ละเอียด เพ่ือใหเ้ ข้าใจบทบาทของตนเอง และ บทบาทของผู้เรียน เพื่อให้สามารถนำไปใชใ้ นการ จดั การ เรียนรู้ได้อย่าง ถูกต้องและมีประสิทธิภาพ ผ้สู อนควรใหผ้ ูเ้ รียนได้มอี ิสระทางความคิดในการ รังสรรค์ชนิ้ งาน 1.2 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบออนไลน์ ควรให้ผู้เรียนได้มบี ทบาทในการทำงานของ ตนเองมาก ทีส่ ุด ผสู้ อนควรสง่ เสริมให้ผเู้ รียนทำงาน รว่ มกันเป็นทมี ได้ ทำงานด้วยตนเองได้ 1.3 ผู้สอนควรมีสื่อที่หลากหลายเพื่อ กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความสนใจและสนองตอบความ แตกต่าง ระหว่างบคุ คลได้

บรรณานุกรม นิชาภา บุรีกาญจน์. (2556). ผลการจัดการเรียนรู้วิชาสุขศึกษาโดยใช้แนวคิดแบบห้องเรียนกลับ ด้านที่มีตอ่ ความ รับผิดชอบและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนมัธยมศึกษา ตอนต้น. สาขาวิชาสุขศึกษาและพล ศกึ ษา ภาควชิ าหลักสูตรและการสอน คณะครศุ าสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั . สุจติ รา ยอดเสน่หา. (2555). เส้นทางการพัฒนาห้องเรยี นออนไลน์มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราช มงคลธญั บุรี. รายงาน. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2553). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พุทธศักราช 2553. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์ครุ สุ ภา ลาดพรา้ ว. อพชั ชา ชา้ งขวญั ยืน และทพิ รัตน์ สทิ ธวิ งศ.์ (2559). การจดั การเรยี นการสอนแบบหอ้ งเรียนกลับ ด้านร่วมกับ การ เรียนรู้แบบโครงงานรายวิชาคอมพวิ เตอรส์ ารสนเทศขัน้ พ้ืนฐาน สำหรับนิสิตปริญญาตรี. นเรศวรวิจยั ครง้ั ท่ี 12: วจิ ัยและนวัตกรรมกับการพฒั นาประเทศ. มหาวทิ ยาลยั นเรศวร. หน้า 1344-1353 Google. ศนู ย์ช่วยเหลือของ Google Classroom, [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงจาก https://support.google.com/edu/classroom/?hl=th#topic=6020277 [2016,Jan 25] Google. ทำความเข้าใจเก่ียวกับงานของ Classroom, [ออนไลน์]. เขา้ ถึงจาก https://support.google.com/edu/classroom/answer/6020260?hl=th&ref_topic=602027 7 [2016,Jan 25] สสวท. แนวทางการจัดการเรียนการสอนดว้ ย GOOGLE CLASSROOM, [ออนไลน์] เขา้ ถงึ จาก http://oho.ipst.ac.th/google-classroom-learning-approach/ [2018, Feb 23]

ภาคผนวก

ภาระงานของครใู หน้ กั เรียนศกึ ษา

ภาระงานของครใู หน้ กั เรียนศกึ ษา

ผลคะแนนของนกั เรียน ในการใชง้ านบทเรยี นออนไลน์