Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ilovepdf_merged

ilovepdf_merged

Published by darees2563, 2020-04-28 22:18:54

Description: ilovepdf_merged

Search

Read the Text Version

ชื่อเรอ่ื ง การพัฒนาผลิตภัณฑ์ OTOP ความม่นั คง มัง่ คัง่ ย่งั ยืน (Sustainable) เจ้าขององค์ความรู้ นางสาวดารีซ๊ะ แบรอสะแม นักวชิ าการพัฒนาชมุ ชนชานาญการ สานักงานพัฒนาชมุ ชนอาเภอจะแนะ เศรษฐกิจฐานรากมั่นคงและชุมชนพึง่ ตนเองได้ภายในปี ๒๕๖๕ Change for Good

สานักงานพฒั นาชมุ ชนอาเภอจะแนะ จังหวดั นราธิวาส เศรษฐกจิ ฐานรากมั่นคงและชุมชนพึง่ ตนเองได้ภายในปี ๒๕๖๕ Change for Good

แบบบันทึกชดุ ความรรู้ ะดบั หน่วยงาน เรอื่ ง การพัฒนาผลิตภณั ฑ์ OTOP สู่ความมั่นคง มง่ั ค่ัง ยงั่ ยืน (Sustainable OTOP) นางสาวดารีซ๊ะ แบรอสะแม ตาแหนง่ นกั วิชาการพฒั นาชมุ ชนชานาญการ สานกั งานพัฒนาชมุ ชนอาเภอจะแนะ 1.ชอ่ื เรือ่ ง การพัฒนาผลิตภัณฑ์ OTOP สคู่ วามม่ันคง มง่ั คัง่ ยง่ั ยนื (Sustainable OTOP) 2.สว่ นราชการ สานกงานพฒั นาชุมชนอาเภอจะแนะ 3.องค์ความรู้ทบี่ ่งช้ี / หมวดท่ี 2 สง่ เสรมิ เศรษฐกิจฐานรากใหข้ ยายตวั อยา่ งสมดุล 4.ที่มาและความสาคัญในการจดั ทาองค์ความรู้ การพัฒนาประเทศในช่วงระยะเวลาของยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ.๒๕๖๑ – ๒๕๘๐) มุ่งเน้นการสร้างสมดุลระหว่างการพัฒนา ๓ ด้าน ได้แก่ เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม โดยเน้นการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ในการขับเคล่ือนพัฒนาประเทศไปสู่เป้าหมาย ให้ ประเทศชาติมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน ประชาชนมีความสุข เศรษฐกิจพัฒนาอย่างต่อเน่ือง สังคม เป็นธรรม ภายใต้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ดังนั้นยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี ยุทธศาสตร์ท่ี ๔ จึงได้กาหนดให้มีการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ประกอบ กับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ.2560-2564) ยุทธศาสตร์ ที่ ๓ การสร้างความเปน็ ธรรมและลดความเหลื่อมล้าในสังคมไทย เน้นการสนับสนุนในเรื่อง การสร้างอาชีพ รายได้และสนับสนุนการเพิ่มผลิตภาพ โดยส่งเสริมการประกอบอาชีพของ ผู้ประกอบการระดับชุมชน เพ่ือยกระดับรายได้ของคนในชุมชน และสร้างความเข้มแข็ง ให้ชมุ ชนพึ่งตนเองได้ กรมการพัฒนาชมุ ชน ไดก้ าหนดยทุ ธศาสตร์ ภายใต้วิสัยทัศน์” เศรษฐกิจฐานราก มั่นคงและชุมชนพึ่งตนเองได้ ภายในปี 2564” เน้นส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้และการมี ส่วนร่วม การพัฒนาอาชีพ ตลอดจนการพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากภูมิปัญญาท้องถ่ิน เพ่ือ สร้างงาน สร้างรายได้ให้แก่ชุมชน โดยในยุทธศาสตร์ท่ี ๒ ส่งเสริมเศรษฐกิจฐานรากให้ ขยายตัว ได้กาหนดให้มีการดาเนินงานโครงการหนึ่งตาบล หนึ่งผลิตภัณฑ์( One Tambon One Product : OTOP) ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2544 มีวัตถุประสงค์เพ่ือแก้ไขปัญหาความยากจน ให้กับประชาชนระดับรากหญ้า ซึ่งเป็นกลุ่มใหญ่ของประเทศ สนับสนุนให้ประชาชน ดาเนินการด้วยหลักการพ้ืนฐานสาคัญ 3 ประการคือ 1) ภูมิปัญญาท้องถ่ินสู่สากล 2) การ พึ่งตนเอง 3) การคดิ อยา่ งสรา้ งสรรคแ์ ละการสรา้ งทรัพยากรมนษุ ย์ จากการดาเนินงานที่ผ่านมาพบว่าการดาเนินงาน OTOPอได้ว่าประสบความสาเร็จ อย่างมาก เนื่องจากรัฐบาลให้ความสาคัญและประชาชนให้การยอมรับในผลิตภัณฑ์ OTOP ส่งผลใหย้ อดจาหน่ายสนิ ค้า OTO ในภาพรวมเพ่ิมข้ึนอย่างต่อเนื่อง แต่ยังมีกลุ่มผู้ประกอบการ OTOP และผลิตภัณฑ์ OTOP อีกจานวนมากที่ยังไม่ได้รับการพัฒนาศักยภาพกลุ่มและพัฒนา ผลิตภัณฑ์ให้มีมาตรฐาน ส่งผลให้กลุ่ม OTOPเหล่านั้นไม่สามารถพัฒนาศักยภาพกลุ่มให้มี ความต่อเนื่องและผลิตภัณฑ์ให้มีมาตรฐาน ตลอดจนไม่สามารถสร้างรายได้ให้เพ่ิมขึ้น ดังนั้น ข้าพเจ้าจึงได้จัดทาแนวทางการพัฒนาผลิตภัณฑ์ OTOPสู่ความม่ันคง ม่ังค่ัง ย่ังยืน (Sustainable OTOP)

-2- 5. รูปแบบ กระบวนการ จากสถานการณท์ างการตลาดปัจจบุ นั มีการแข่งขันกันสูงและความก้าวหนา้ ของเทคโนโลยีเป็นไปอย่างรวดเร็วทาใหผ้ ลิตภัณฑใ์ หม่ในตลาดจานวนมาก ส่งผลใหว้ งจร ผลติ ภณั ฑส์ นั้ ลง ผลิตภณั ฑใ์ หม่ ท่ีจะอยรู่ อดในตลาด จาเป็นตอ้ งมีการพฒั นาผลิตภณั ฑใ์ หม้ ี ความใหม่ แตกตา่ ง และเพ่ือใหเ้ ป็นผลิตภัณฑ์ ท่ีสอดคลอ้ งต่างกับลักษณะความตอ้ งการ ของผบู้ ริโภคอย่เู สมอ กลยทุ ธก์ ารพฒั นาสินคา้ ใหม่ การปรบั ปรุง ใหด้ ีขึน้ จึงมีความจาเป็นท่ี ผปู้ ระกอบการตอ้ งทา เช่นเดียวกนั จะเห็นไดว้ ่า ในการดาเนินงานโครงการหน่ึงตาบล หน่ึง ผลิตภณั ฑ์ (OTOP)กล่มุ ผผู้ ลิต ผปู้ ระกอบการ OTOP มีการจดทะเบียนจานวนมากขนึ้ ส่วน ใหญ่เป็นกล่มุ ใหม่ท่ีเพ่ิงจดทะ – 3 ดาว จึงทาใหก้ ล่มุ ยงั ไม่สามารถนาผลิตภณั ฑส์ ่สู ากลได้ เน่ืองจากกล่มุ เหล่านี้ ไม่เอาจริง เอาจงั ในการพฒั นากล่มุ สินคา้ หรือบริการไม่มีการพฒั นา รูปแบบ ไม่มีความหลากหลาย นวตั กรรมมีจานวนนอ้ ยมกั เกิดจากการลอกเลียนแบบ กล่มุ ไม่ มีความรูใ้ นการบริหารจดั การกลุ่ม ขาดทกั ษะเบียนตงั้ กลุ่มและบางกลุ่มท่ีอยู่ในระบบแลว้ ผผู้ ลิต ผปู้ ระกอบการ ยงั ไม่มีศกั ยภาพในการบริหารจดั การ การผลิต การตลาด การบริหาร จดั การทนุ กลมุ่ ดงั กลา่ วนีจ้ ดั เป็นกล่มุ OTOP อยใู่ นระดบั 1ประสบการณ์ ไม่ไดร้ บั การ สนับสนุนด้านความรู้ เทคโนโลยี แหล่งงบประมาณ ตลาดเป้าหมาย ดังนั้น เพ่ือให้การ ดาเนินงานของกล่มุ สินคา้ OTOP ในระดบั 1 – 3 ดาว มีประสิทธิภาพ สามารถจาหน่ายสรา้ ง รายได้แก่กลุ่มฯ ได้ตามเป้าหมาย มีการพัฒนาสู่มาตรฐานสากล จาเป็ นต้องมี กระบวนการพฒั นาบรหิ ารจดั การ เพ่ือเป็นการกระตนุ้ เศรษฐกิจฐานรากของชมุ ชน เพ่ิมรายได้ แก่ชุมชนและประเทศ โดยการส่งเสริมสนับสนุนกลุ่มผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP ให้มี คณุ ภาพ อาศยั กระกระบวนการพฒั นาของการทางานแบบมีสว่ นรว่ ม โดยอาศยั ภาคประชาชน ภาครัฐ และภาคเอกชน ร่วมกันขับเคล่ือน เพ่ือนาไปสู่เศรษฐกิจฐานรากม่ันคงและชุมชน พง่ึ ตนเองได้ 6.เทคนิคในการปฏบิ ตั ิงาน 6.1 การพฒั นาชมุ ชนย่งั ยืน เศรษฐกิจชุมชนคือ การดาเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจต่างๆ ทั้งด้านการเกษตรกรรม อุตสาหกรรม บริการทัง้ ในด้านการผลติ การบริโภค และการกระจายผลผลิตโดยให้คนในชุมชนมีส่วนร่วม ในการแก้ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจของชุมชน คือ ให้มีส่วนร่วม ร่วมคิด ร่วมทา ร่วมรับผลประโยชน์ บนรากฐานของความสามารถที่มีอยู่ จากการใช้ “ทุนของชุมชน” สมาชิกในชุมชนจะเป็นผู้ตัดสินว่า พวกเราจะผลิตอะไรได้บ้างตามศักยภาพและทุนประเภทต่างๆ ที่มีอยู่ เราจะผลิตอย่างไร โดยท่ีชุมชน สามารถ คิดเอง ทาเอง ไดเ้ อง 6.2 การพัฒนากลุ่ม การท่ีบุคคลต้ังแต่สองคนขึ้นไปมารวมกัน โดยมีการติดต่อสัมพันธ์กัน หรือปฏิสัมพันธ์ กันและมีจุดมุ่งหมายท่ีจะกระทากิจกรรมอย่างใดอย่างหน่ึงร่วมกัน และความสัมพันธ์น้ี จะช่วยให้สมาชิก กลุ่มอยู่ร่วมกันได้ในระดับที่พอดี ดังน้ันการดารงชีวิตของคนในสังคมจะอยู่คนเดียวไม่ได้ ทุกคนจะต้อง มีกลุ่มของตนเอง ไม่ว่าจะเป็นครอบครัว กลุ่มเครือญาติ กลุ่มชุมชน กลุ่มอาชีพ กลุ่มการศึกษา ฯลฯ การดาเนนิ กิจกรรมกลุม่ มีทั้งเป็นทางการและไมเ่ ปน็ ทางการ

-3- 6.๓ การยึดหลกั ธรรมมาภิบาล ธรรมาภิบาล (Good Governance) เป็นหลกั ท่ีนามาใชบ้ ริหารงานใน ปัจจบุ นั อยา่ งแพรห่ ลายดว้ ยเหตผุ ลเพราะชว่ ยสรา้ งสรรคแ์ ละสง่ เสริมองคก์ รใหม้ ีศกั ยภาพ และประสิทธิภาพ ประกอบดว้ ย 6 หลกั คือ 1. หลักคุณธรรม 2. หลักนิติธรรม 3. หลัก ความโปรง่ ใส 4. หลกั ความมีสว่ นรว่ ม ๕.หลกั ความรบั ผิดชอบ และ 6. หลกั ความคมุ้ คา่ 6.๔ สง่ เสริมการมสี ว่ นรว่ มของประชาชน การมีส่วนร่วมของประชาชนนั้น หมายถึง การเปิดโอกาสให้ประชาชนได้มี ส่วนรว่ มในการคิดริเริ่ม การพจิ าณา ตัดสินใจ การรว่ มปฏิบัติและร่วมรับผิดชอบในเร่ืองต่างๆ อันมีผลกระทบถึงประชาชน การที่สามรถทาให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนา ชนบท เพ่ือแก้ไขปัญหาและนามาซ่ึงสภาพความเป็นอยู่ของประชาชนที่ดีขึ้นได้น้ัน ผู้นาการ เปล่ียนแปลงต้องยอมรับปรัชญาการพัฒนาชุมชนท่ีว่า มนุษย์ทุกคนต่างมีความ ปรารถนาท่จี ะอยู่ร่วมกับผ้อู ่นื อย่างเป็นสุข ได้รับการปฏิบัติอย่างเป็นธรรม และเป็นท่ียอมรับ ของผู้อ่ืน พร้อมที่จะอทุ ิศเพื่อกิจกรรมของชมุ ชนขณะเดียงดนั ตอ้ งยอมรับความจริงที่ว่ามนุษย์ นั้นสามารถพัฒนาได้ถ้ามีโอกาสและได้รับการช้ีแนะท่ีถูกต้อง เพื่อให้การพัฒนาผลิตภัณฑ์ OTOP สคู่ วามม่นั คง ม่งั ค่งั ย่งั ยืน (Sustainable OTOP) 7.ปัญหาทพี่ บและแนวทางการแก้ไขปัญหา โดยภาพรวมปัญหาของ OTOP เกิดจากความไม่เอาจริงเอาจงั ในการ พฒั นาของคนในกลมุ่ OTOP เอง และสินคา้ หรือบริการท่ีมีความเป็นนวตั กรรมมีจานวน นอ้ ย ส่วนใหญ่มักจะเกิดจากการลอกเลียนแบบกัน นอกจากนนั้ ปัญหาท่ีสาคญั ในการ พฒั นาเพ่ือเพ่ิมศกั ยภาพ และขีดความสามารถในการแขง่ ขนั เพ่ือการส่งออก คือ ปัญหา ดา้ นการผลิต ปัญหาดา้ นบรรจภุ ณั ฑ์ ปัญหาดา้ นการตลาด สินคา้ OTOP ไมม่ ีการพฒั นา รูปแบบของบรรจภุ ณั ฑผ์ ลติ ภณั ฑไ์ ม ่่ไดร้ บั รอง ทาใหช้ อ่ งทางการจาหนา่ ยท่ียงั มีจากดั 8. ประโยชน์ขององคค์ วามรู้ 4.1. กลมุ่ ผผู้ ลติ ผปู้ ระกอบการ OTOP มีขีดความสามารถในการบรหิ าร จดั การกลมุ่ ตามหลกั ธรรมมาภิบาล ๖ก ๔.๒ ผลิตภณั ฑ์ OTOPไดร้ ับการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ให้มีมาตรฐาน 4.๓ กล่มุ ผู้ผลติ ผปู้ ระกอบการ OTOP มียอดจาหน่ายเพิม่ ขึ้น สร้างรายไดใ้ ห้ ชมุ ชน ประชาชนมีความสขุ และมคี ณุ ภาพชีวติ ที่ดีขนึ้ 4.4 กลมุ่ ผู้ผลติ ผู้ประกอบการไดร้ ับการพฒั นาขดี ความสามารถในการบริหาร จดั การกลมุ่ ตามหลกั ธรรมมาภิบาล ๖ก มีมาตรฐาน 4.5 พัฒนาผลติ ภัณฑม์ มี าตรฐาน ทาใหไ้ ดร้ ับการยอมรับจากประชาชน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook