วิถีชีวิต วฒั นธรรม อําเภอตากฟา จงั หวัดนครสวรรค ๓๕ วิถีชีวิต วัฒนธรรม อาํ เภอตากฟา จงั หวดั นครสวรรค
๓๔ วถิ ชี วี ิต วฒั นธรรม อําเภอตากฟา จังหวัดนครสวรรค
วิถชี วี ิต วฒั นธรรม อาํ เภอตากฟา จังหวัดนครสวรรค ๓๕ คาํ ปรารภ อธิบดีกรมสงเสริมวฒั นธรรม วัฒนธรรมเปนส่ิงที่แสดงถึงความเจริญงอกงาม ความเปน ระเบียบ เรียบรอย เปน มรดกทางสังคมไทย ที่บรรพบุรุษไดสรางสรรค และส่ังสมมาตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน ถายทอดจากรุนสูรุน มีขนบธรรมเนียมประเพณีอันเปนท่ียอมรับรวมกันในสังคมน้ันๆ ศิลปวัฒนธรรมของไทย มีความแตกตางกันในแตละทองถ่ิน ท้ัง ขนบธรรมเนียมประเพณี ภาษาพูด ภาษาเขียน การแตงกาย อาหาร วิถีชีวิต และความเชื่อ ซึ่งมีเอกลักษณเฉพาะที่บงบอกถึงคานิยม ความเช่ือ ศาสนา วิถีชีวิตความเปนอยู ตลอดจนสภาพแวดลอมของ ผูคนในทองถน่ิ แสดงใหเห็นถึงความเจริญรุงเรืองทางวัฒนธรรมทแ่ี ฝง ไปดวยภูมิปญญา และความเปนชาติที่มีอารยธรรมเกาแกมาชานาน จนกลายเปน รากฐานขององคค วามรทู างศลิ ปวฒั นธรรม และภมู ปิ ญ ญา ในดานตางๆ ท่มี ีคณุ คาของไทย ในการนี้ เพื่อประโยชนในการอนุรักษหรือฟนฟูจารีตประเพณี ภูมิปญญาทองถ่ิน ศิลปวัฒนธรรมอันดีงามของทองถ่ินและของชาติ และประสานการดาํ เนนิ งานวฒั ธรรมซง่ึ ภาคประชาสงั คม และประชาชน มสี ว นรว ม กรมสง เสรมิ วฒั นธรรม จงึ ไดใ หก ารสนบั สนนุ สภาวฒั นธรรม จังหวัดนครสวรรค ดําเนินการจัดทําหนังสือวิถีชีวิตวัฒนธรรมอําเภอ
๓๔ วถิ ชี วี ิต วฒั นธรรม อําเภอตากฟา จงั หวดั นครสวรรค ตางๆ ในจังหวัดนครสวรรค เพือ่ รวบรวมและเผยแพรขอมลู ซ่งึ เปนทุน ทางวฒั นธรรมของจงั หวดั นครสวรรค เพื่อใหเกิดประโยชนสําหรบั เด็ก เยาวชน และบุคคลท่ัวไป ไดศึกษาและรวมภาคภูมิใจในวัฒนธรรม ทองถน่ิ จนกอใหเกิดความรัก ความภาคภมู ิใจในมรดกทางวัฒนธรรม ของตน ตระหนักและเห็นคุณคาของวัฒนธรรมทองถิ่น ปลูกจิตสํานึก ความรักชาติ รักถ่ิน รักแผนดินนครสวรรค และรวมอนุรักษสืบสาน วฒั นธรรมเหลานี้ใหอนชุ นคนรุนหลังสืบตอไป (นายชาย นครชัย) อธิบดีกรมสงเสริมวัฒนธรรม
วิถีชวี ติ วฒั นธรรม อําเภอตากฟา จงั หวัดนครสวรรค ๓๕ คํานิยม ผวู าราชการจงั หวัดนครสวรรค การจดั ทาํ หนังสือ วิถีชีวิต วัฒนธรรมอําเภอตางๆ ของจังหวัด นครสวรรค เปนการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม เพ่ือใหเกิด การสบื สาน และการสรา งองคค วามรทู างดา นวฒั นธรรมนบั เปน พนั ธกจิ ที่สําคัญของงานวัฒนธรรม การที่กรมสงเสริมวัฒนธรรม สนับสนุน ใหส ภาวฒั นธรรมจงั หวดั นครสวรรคร ว มกบั สาํ นกั งานวฒั นธรรมจงั หวดั นครสวรรค ดําเนินการจัดทําหนังสือวิถีชีวิต วัฒนธรรมอําเภอ ๑๕ อาํ เภอ ในจงั หวดั นครสวรรค เพอ่ื ดแู ลรกั ษา สบื สานมรดกทางวฒั นธรรม และเผยแพรขอมูล ซ่ึงเปนทุนทางวัฒนธรรมของจังหวัดนครสวรรค ขอมูลดังกลาวไดมาจากการสังเคราะหและเรียบเรียงเนื้อหาจาก คณะกรรมการสภาวฒั นธรรมจงั หวดั นครสวรรค นกั วชิ าการสาํ นกั งาน วฒั นธรรมจงั หวดั นครสวรรค และผมู คี วามรทู หี่ ลากหลาย โดยรวบรวม ประวัติ ตํานาน ชุมชนด้ังเดิมโบราณสถาน-โบราณวัตถุ ศาสนา และความเช่ือ บุคคลสําคัญทางศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรมทองถ่ิน รุกขมรดก แหลงทองเท่ยี วเชิงวฒั นธรรม บคุ คลผูทาํ คณุ ประโยชนดาน วฒั นธรรมทค่ี วรยกยอ งอนั สะทอ นถงึ วฒั นธรรมของจงั หวดั นครสวรรค ซึ่งจะเปนประโยชนตอการสืบคน การเก็บรวบรวมเรื่องราวตางๆ ใน รปู แบบหนงั สือ บนั ทึกลงแผนซีดี และจัดทํา QR Code
๓๔ วถิ ชี วี ติ วฒั นธรรม อําเภอตากฟา จงั หวัดนครสวรรค ในนามของจังหวัดนครสวรรค ขอแสดงความชื่นชมและขอ ขอบคุณคณะกรรมการสภาวัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค นักวิชาการ วัฒนธรรม สํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค และผูเก่ียวของ ทไี่ ดทุมเทแรงกาย แรงใจในการจดั ทาํ หนงั สือวิถีชีวิต วฒั นธรรมอาํ เภอ ๑๕ อาํ เภอ จงั หวดั นครสวรรค เพอื่ อนรุ ักษและเผยแพรขอมูล อนั จะ เปนประโยชนตอคนรุนหลังตอไป (นายอรรถพร สิงหวิชัย) ผูวาราชการจังหวดั นครสวรรค
วิถชี ีวติ วฒั นธรรม อําเภอตากฟา จงั หวัดนครสวรรค ๓๕ คํานิยม วฒั นธรรมจงั หวดั นครสวรรค หนงั สือวิถีชีวิต วฒั นธรรมของแตละอาํ เภอนี้ เปนการรวบรวม ขอมลู ความรตู างๆ ทเ่ี ปน เรอ่ื งราวของทองถนิ่ ทมี่ ีมาอยางยาวนาน ดาน ศิลปะและวัฒนธรรม วิถีชีวิต ประเพณี ชุมชนดั้งเดิม โบราณสถาน โบราณวตั ถุ ความเปน อยทู ส่ี อ่ื การรกั ษาอารยธรรมของบรรพบรุ ษุ ทเ่ี ปน เอกลักษณของแตละอําเภอไว เพื่อใหคนรุนหลังไดเรียนรู ไดสืบทอด และตอยอดทางวัฒนธรรม กระผมตองขอขอบคุณและช่ืนชมนักวิชาการวัฒนธรรม ผูประสานงานประจําอําเภอทุกทาน ผูเกี่ยวของทุกฝายทุกทานท่ีไดให ขอมูล คําแนะนํา ขอเสนอแนะ ท่ีเปนประโยชนในการจัดทําหนังสือ ในครง้ั นี้ เพอ่ื เกบ็ รวบรวมขอ มลู จนสาํ เรจ็ ตามวตั ถปุ ระสงคข องโครงการ ทายนี้หวังเปนอยางย่ิงวาหนังสือเลมนี้จะเปนประโยชนในการ ศึกษาคนควา สําหรบั นักเรียน นกั ศึกษา ประชาชน และผูสนใจท่ัวไป และขอใหทุกทานรวมอนุรักษสืบสานวัฒนธรรม ประเพณีของทองถิ่น นั้นไวใหคงอยูกบั ลกู หลานสืบไป (นายประสิทธ์ิ พุมไมชัยพฤกษ) วัฒนธรรมจังหวดั นครสวรรค
๓๔ วถิ ชี วี ิต วฒั นธรรม อําเภอตากฟา จังหวัดนครสวรรค
วถิ ชี วี ิต วฒั นธรรม อําเภอตากฟา จังหวัดนครสวรรค ๓๕ คาํ นํา ประธานสภาวฒั นธรรมจังหวดั นครสวรรค วัฒนธรรม หมายถึงวิถีการดําเนินชีวิต ความคิด ความเชื่อ คานิยม จารีตประเพณี พิธีกรรม และมรดกภูมิปญ ญา ซึ่งกลุมคนและ สังคมไดรวมกันสรางสรรค ส่ังสม ปลูกฝง เรียนรู สืบทอด ปรับปรุง เปลี่ยนแปลง เพ่ือใหเกิดความเจริญงอกงาม ทั้งดานจิตใจและวัตถุ ใหเกิดสันติสุขและความยัง่ ยืนสืบไป หนังสือวิถีชีวิต วัฒนธรรมเลมน้ี มาจากการสังเคราะหและ เรยี บเรยี งเนอ้ื หาจากนกั วชิ าการสาํ นกั งานวฒั นธรรมจงั หวดั นครสวรรค และคณะกรรมการสภาวัฒนธรรมจังหวัดนครสวรรค ซ่ึงแบงออก เปน เลม เลมละ ๑ อาํ เภอ รวม ๑๕ เลม ๑๕ อาํ เภอ เนื้อหาไดแก ประวตั ิ ตํานาน สภาพปจจบุ ัน ชมุ ชนด้ังเดิม ศิลปะทองถิน่ วัฒนธรรมทองถน่ิ แหลงทองเทย่ี วเชิงวัฒนธรรม บคุ คลผูทําคุณประโยชนดานวฒั นธรรม ที่ควรยกยองในอําเภอตางๆ ของจังหวัดนครสวรรค จัดทําในรูปแบบ หนงั สอื แผน ซดี ี และจดั ทาํ QR Code ทงั้ นไี้ ดร บั การสนบั สนนุ งบประมาณ จากกรมสงเสริมวัฒนธรรม โดยความรวมมือของจังหวัดนครสวรรค เปนอยางดียง่ิ หวังเปนอยางยิ่งวา หนังสือวิถีชีวิตวัฒนธรรมอําเภอเลมน้ี จะเปนประโยชนแกนักเรียน นักศึกษา ประชาชนท่ัวไป และขอใหเรา
๓๔ วถิ ชี วี ติ วฒั นธรรม อาํ เภอตากฟา จงั หวดั นครสวรรค ชวยกันสงเสริม อนรุ ักษ วัฒนธรรมใหเจริญงอกงามยง่ิ ขึ้น ขอขอบคณุ ผูเกี่ยวของ ที่ใหขอมูลทุกทาน ลวนเปนผูกอใหเกิดความสําเร็จใน การจัดทําหนังสือในครั้งนี้ หนังสือวิถีชีวิตวัฒนธรรม เลมนี้จึงถือไดวา มีคุณคาอยางย่งิ เปน สมบัติของเราชาวจงั หวัดนครสวรรคตอไป (นายนทั ธี พคุ ยาภรณ) ประธานสภาวฒั นธรรมจังหวัดนครสวรรค
วิถชี ีวติ วฒั นธรรม อําเภอตากฟา จังหวดั นครสวรรค ๓๕ สารบญั หนา เร่ือง ๑ ๓ บทที่ ๑ ประวัติ ตาํ นาน คําขวัญและสภาพปจ จบุ ัน ๔ ประวัติ ๙ ตํานาน คาํ ขวัญ ๑๑ สภาพปจ จุบนั ๑๓ บทท่ี ๒ ชมุ ชนดั้งเดิม ๒๒ ชุมชนด้ังเดิม ๓๓ บทที่ ๓ ศาสนาและความเชอ่ื ๓๖ ศาสนสถาน บุคคลสาํ คญั ทางศาสนา บทที่ ๔ ศิลปะทอ งถิ่น ประติมากรรม การละเลนพื้นบาน
๓๔ วถิ ชี วี ติ วัฒนธรรม อาํ เภอตากฟา จังหวดั นครสวรรค ๓๙ ๔๑ บทท่ี ๕ วฒั นธรรมทองถ่นิ ๔๒ วิถีชีวิต ๔๓ การแตงกาย ๔๕ อาชีพ มรดกภูมิปญญาทองถิ่น รุกขมรดก บรรณานุกรม ภาคผนวก
วถิ ชี วี ติ วฒั นธรรม อาํ เภอตากฟา จังหวัดนครสวรรค ๓๑๕ ๑บทท่ี ประวัติ ตํานาน คาํ ขวัญ และสภาพปจ จบุ ัน ประวตั ิอาํ เภอตากฟา ความเปนมาของอําเภอตากฟา เริ่มเกิดขึ้นอีกครั้งเม่อื ผูคนเริม่ เขา มาจบั จองทที่ าํ กนิ เมอ่ื หลายสบิ ปท ผี่ า นมา พนื้ ทอ่ี าํ เภอตากฟา ในชว ง น้ันเปน ปาดงดิบ มีสตั วปาชกุ ชมุ มาก เปน แหลงลาสตั วของพรานปา มี โจรคอยดักปลนฆาผูสัญจรไปมา โรคภัยไขเจ็บมากมาย ตอมาอําเภอ ตากฟา กลายเปน ตาํ บลหนงึ่ ซงึ่ อยใู นเขตปกครองของอาํ เภอตาคลี จงั หวดั นครสวรรค ประมาณป พ.ศ. ๒๔๙๖ ทางราชการไดตดั ถนนผาน คือ
๓๔๒ วิถชี ีวิต วัฒนธรรม อําเภอตากฟา จังหวัดนครสวรรค ถนนประชาธิปตย (ตอมาเรียกวาถนนพหลโยธิน) มีประชาชนเขามา จับจองทด่ี ินทาํ กินกันมากขึ้น ในป พ.ศ. ๒๔๙๘ กรมประชาสงเคราะห ไดจัดตั้งนิคมสรางตนเองตาคลีขึ้น และมีประชาชนอพยพเขามาทํากิน เพิม่ ขึ้นทกุ ๆ ป พ.ศ. ๒๕๐๔ อาํ เภอตาคลีไดแยกนิคมสรางตนเองตาคลี เปน นิคมสรางตนเองตากฟา ตําบลตากฟา ไดแยกการปกครองออกจาก อาํ เภอตาคลี โดย ยกฐานะเปน อําเภอตากฟาตามพระราชกฤษฎีกา ลงวันที่ ๑๓ ตลุ าคม ๒๕๑๓ อยูในเขตปกครองของจังหวัดนครสวรรค โดยมิไดต้ังเปนก่ิง อําเภอมากอน มีนายชัยศรี นุตาลยั มาดํารงตําแหนงนายอําเภอคน แรก โดยใชอาคารเงินปยะชนของโรงเรียนบานตากฟา เปนท่ีทําการ อําเภอช่ัวคราว ตอมาทางราชการไดจดั สรางที่วาการอําเภอแลวเสรจ็ ในป พ.ศ. ๒๕๑๕ ใชเปน ท่ที ําการอําเภอตากฟามาจนถึงปจ จบุ ัน พื้นท่ี เปน ทรี่ าบลมุ สลบั เนนิ เขาเตย้ี ๆ ไมม แี มน าํ้ มแี ตล าํ หว ยไหลผา น ลกั ษณะ ดินเปนดินเหนียว เนื้อท่ี 26,564 ไร เขตพืน้ ท่ี • ทิศเหนือ ติดตอกับอาํ เภอพยหุ ะคีรีและอาํ เภอทาตะโก • ทิศตะวนั ออก ติดตอกับอําเภอทาตะโกและอําเภอไพศาลี • ทศิ ใต ตดิ ตอ กบั อาํ เภอหนองมว ง (จงั หวดั ลพบรุ )ี และอาํ เภอ ตาคลี • ทิศตะวันตก ติดตอกบั อาํ เภอตาคลี
วถิ ชี วี ติ วัฒนธรรม อาํ เภอตากฟา จงั หวดั นครสวรรค ๓๕ อาชีพ อาชีพหลกั ทาํ ไร ทําสวน เลี้ยงสัตว อาชีพเสริม ทําหตั ถกรรม ตํานานอาํ เภอตากฟา เดิมอําเภอตากฟาเปนปาดงดิบ มีตนไมปกคลุมโดยทั่วไป มีลานวางซงึ่ มีแสงแดดสองถึง ไกฟาชอบมาเลนแสงแดด พวกพรานปา เห็นจึงเรียกบริเวณลานวางนี้วา “ลานไกฟา” และเม่ือชาวบานเขามา อาศัยอยูบริเวณนี้ ไดนําผาไปตากท่ีลานเพราะมีแสงแดดสองถึง เลย เรียกติดปากวา “ลานตากผา” และเมื่อเวลาผานไปช่ือเรียกดังกลาว กก็ ลายเปน ลานตากฟา จนในทส่ี ดุ จงึ ไดช อ่ื วา “ตากฟา ” มาจนถงึ ปจ จบุ นั ตําบลตากฟาเปนตําบลหน่ึงในอําเภอตากฟา จังหวัดนครสวรรค มีท้ังหมด 8 หมูบาน คือ บานตากฟา บานชุมพลสามคั คี บานถนนโคง บา นพนุ มิ ติ บา นไผน าเรงิ บา นธารเกษตร บา นหนองบวั งาม บา นมะขามงาม ความเปนมาของอาํ เภอตากฟา เริ่มเกิดขึ้นอีกคร้ังเม่อื ผูคนเริ่ม เขามาจับจองท่ีทํากินเมื่อหลายสิบปที่ผานมา พื้นที่ของอําเภอตากฟา ในชวงน้ันเปนปาดงดิบ มีสัตวปาชุกชุมมาก เปนแหลงลาสัตวของ พรานปา มีโจรคอยดักปลนฆาผูสัญจรไปมา โรคภัยไขเจ็บมากมาย ตอ มาอาํ เภอตากฟา กลายเปน ตาํ บลหนง่ึ ซง่ึ อยใู นเขตปกครองของอาํ เภอ
๓๔ วถิ ีชีวติ วัฒนธรรม อําเภอตากฟา จงั หวัดนครสวรรค ตาคลี จังหวัดนครสวรรค ประมาณป พ.ศ. ๒๔๙๖ ทางราชการได ตัดถนนผาน คือถนนประชาธิปตย (ตอมาเรียกวาถนนพหลโยธิน) มีประชาชนเขามาจับจองที่ดินทํากินกันมากขึ้น ในป พ.ศ. ๒๔๙๘ กรมประชาสงเคราะหไ ดจ ดั ตง้ั นคิ มสรา งตนเองตาคลขี นึ้ และมปี ระชาชน อพยพเขามาทํากินเพ่ิมขึ้นทุกๆ ป พ.ศ. ๒๕๐๔ อําเภอตาคลีไดแยก นิคมสรางตนเองตาคลีเปนนิคมสรางตนเองตากฟา คาํ ขวัญอําเภอตากฟา หัตถกรรมผา ทอ หลวงพอ ตากฟา ถนิ่ ลือชาพืชไร งานใหญสลากภตั เที่ยววัดถํ้าพรสวรรค หตั ถกรรมผาทอ
วถิ ีชวี ิต วฒั นธรรม อําเภอตากฟา จังหวดั นครสวรรค ๕๓๕ อําเภอตากฟามีกลุมทอผาฝายดวยมืออยูมากมาย และเปน ของฝากทขี่ นึ้ ชอ่ื ของอาํ เภอตากฟา โดยเฉพาะผา ฝา ยทอบรสิ ทุ ธทิ์ บ่ี รษิ ทั ยงสุวัฒนเมลด็ พนั ธ จํากดั เปน ผูคิดสายพันธฝาย “ ตากฟา ๒ ” เปน ผูทอ และผูจําหนาย ประการสําคญั อาํ เภอ ตากฟาเปน แหลงปลกู ฝายแหลงใหญ จึงทําใหตนทุนการผลิตตา่ํ ชาวตากฟาหลายๆหมูบาน จึงต้ังกลุมทอผาขึ้น โดยใชวสั ดุท่มี ีในทองถน่ิ หลวงพอ ตากฟา หลวงพอหิน เปนพระพุทธรูป เปนที่ยึดเหน่ียวจิตใจของชาว ตากฟา คาํ วาหลวงพอตากฟามีความหมาย ๒ ประการ ประการแรก
๓๖๔ วถิ ีชวี ติ วัฒนธรรม อําเภอตากฟา จงั หวดั นครสวรรค หมายถึง หลวงพอหินพระพุทธรศู กั ด์ิคูบานคูเมืองตากฟา ชาวตากฟา เรียกติดปากวา “ หลวงพอตากฟา ” ประการที่ สองหมายถึง หลวงพอ สุรินทร เจาอาวาสวัดตากฟา เปนพระเถระที่ชาวตากฟาเคารพนับถือ ทานเปยมดวยเมตตา ชาวตากฟาตางเรียกทานวา “ หลวงพอตากฟา ” ดวยเชนกัน ถิน่ ลือชาพืชไร อําเภอตากฟาเปนเมืองเกษตรกรรม ชาวตากฟาสวนใหญ มอี าชพี เกษตรกรรม โดยเฉพาะการปลกู พชื ไร ไมว า จะเปน ขา วโพด ออ ย มนั สาํ ปะหลงั ฝาย ฯลฯ
วถิ ีชวี ติ วัฒนธรรม อําเภอตากฟา จงั หวดั นครสวรรค ๗๓๕ งานใหญสลากภตั อํ า เ ภ อ ต า ก ฟ า มี ง า น ใ ห ญ ท่ี สํ า คั ญ คื อ งานประเพณบี ญุ สลากภตั ซง่ึ เปน งานใหญข องอาํ เภอ ตากฟา เปนประเพณีท่จี ดั ขึ้นเปนประจําทุกป และ มีกิจกรรมในงานที่แปลกไมเหมือนทใ่ี ด และมีการจัดงานท่หี ลากหลาย ในแตละป เชน การประกวดสํารบั สลากภัต มีขบวนแหสลากภัต และ การประกวดเทพีสลากภัต เท่ยี ววดั ถา้ํ พรสวรรค ต้ั ง อ ยู ที่ ตํ า บ ล ลําพยนต อําเภอตากฟา บริเวณมีพระพุทธปางตางๆ ประดิษฐานไวตามเชิงเขา มี ศาลาสมภพปลกู สรา ง ๓ ชน้ั อยางทันสมัย ขางหลังวัดมี ถ้ําพรสวรรค เปนที่บรรจสุ งั ขารพระครนู ิมิตสิทธิการ หรือหลวงพอเปา เขมกาโม ทน่ี กั ทอ งเทย่ี วนยิ มไปกราบไหว ภายในถาํ้ แบง ออกเปน ๒ ตอน
๓๘๔ วิถชี วี ิต วฒั นธรรม อําเภอตากฟา จังหวดั นครสวรรค ตอนแรกเปนหองเล็ก ตอนท่ีสองเปนหองใหญ มีพระพุทธรูปและ สงิ่ กอสรางทนั สมยั อยูมาก มีนํ้าตกจาํ ลอง มีสระนํ้าตรงกลางถาํ้ พื้นถา้ํ เทคอนกรีตหมด บรรยากาศเยน็ สบาย ไมมีคางคาวอาศยั อยู ภายในถา้ํ ตดิ ตงั้ ระบบไฟฟา และประปาอยา งพรอ มมลู มคี วามเงยี บสงบ เหมาะกบั นกั ทองเทย่ี วทช่ี อบความสงบ และตองการคนหาปริศนาธรรม ดานขาง ปากทางเขาถ้ํามีพระพทุ ธบาทเกือกแกวประดิษฐานอยู ความเปนมาของวัดถํ้าพรสวรรค เดิมเปนถํ้าที่มีสภาพรกราง เต็มไปดวยปาไมและสัตวปา ในป พ.ศ.๒๕๐๗ พระครูนิมิตสิทธิการ หรือ หลวงพอเปา เขมกาโม มาจําพรรษาที่บริเวณถํ้าเขาตะบองนาค มีพุทธศาสนิกชนเล่ือมใสศรัทธาชวยกันปรับปรุงภายในถ้ําและนอกถ้ํา และบริจาคจตุปจจัย หลวงพอไดนํามาใชในการพัฒนาถ้ําและสราง ถาวรวตั ถุ เริม่ ตนดวยการสรางบอนา้ํ สรางบนั ไดทางเขาถํ้า สรางกุฏิ โบสถ ศาลา พ.ศ.๒๕๓๗ พระสมพงษ ทองแฉลม (พระครูใบฎีกา สมพงษ กิตติสจโจ) ไดปรบั ปรงุ สภาพวดั โดยเทพื้นปหู ินออนเพอ่ื พฒั นา ใหเ ปน แหลง ทอ งเทยี่ วเชงิ อนรุ กั ษ จดั สรา งพพิ ธิ ภณั ฑส ตั วน า้ํ จดื นา้ํ ทะเล และจัดประเพณีลอยกระทงในถ้ําโดยใชวัสดุธรรมชาติ ใชดอกไมสด ในวันเขาพรรษา จัดกิจกรรมปลูกปาอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ เปน ประจาํ ทุกป การเดนิ ทาง วดั ถาํ้ พรสวรรคต งั้ อยทู ตี่ าํ บลลาํ พยนต ถนนลาดยาง หางจากตัวจังหวัด ๑๐๕ กิโลเมตร หางจากที่วาการอําเภอประมาณ ๑๐ กโิ ลเมตร ตามทางหลวง หมายเลข 1 สายตากฟา -โคกสาํ โรง กโิ ลเมตร ที่ ๒๒๔ วดั อยทู างซา ยมอื
วถิ ชี ีวติ วัฒนธรรม อําเภอตากฟา จังหวัดนครสวรรค ๙๓๕ สภาพปจ จบุ นั ภาพแผนท่แี สดงทต่ี งั้ อาํ เภอตากฟา ทว่ี า การอาํ เภอตากฟา
๓๑๐๔ วถิ ชี ีวติ วัฒนธรรม อําเภอตากฟา จงั หวัดนครสวรรค อําเภอตากฟาตั้งอยูทางทิศตะวันออกเฉียงใตของจังหวัด มีอาณาเขตติดตอกับเขตการปกครองขางเคียงดงั ตอไปนี้ • ทิศเหนือ ติดตอกบั อาํ เภอพยุหะคีรีและอาํ เภอทาตะโก • ทิศตะวนั ออก ติดตอกบั อําเภอทาตะโกและอาํ เภอไพศาลี • ทศิ ใต ตดิ ตอ กบั อาํ เภอหนองมว ง (จงั หวดั ลพบรุ )ี และอาํ เภอ ตาคลี • ทิศตะวันตก ติดตอกบั อําเภอตาคลี การปกครองสวนภูมิภาค อําเภอตากฟาแบงพื้นที่การปกครองออกเปน ๗ ตําบล ๗๖ หมูบาน
วิถชี ีวิต วัฒนธรรม อําเภอตากฟา จงั หวัดนครสวรรค ๑๓๕๑ ๒บทท่ี ชมุ ชนดง้ั เดิม ๑.ชุมชนกอนประวตั ิศาสตร (ยุคหินเกา ) ชุมชนท่ีอยูอาศัยในเขตอําเภอตากฟาในระยะแรกเปนชุมชน กอนประวัติศาสตร(ยุคหินเกา) คือยุค ๔,๕๕๐ ปท่ผี านมาทั้งนี้ ปรากฏ หลักฐานโบราณวัตถุประเภท เคร่ืองมือ เครื่องใชและเคร่ือง ประดับที่ฝงไวรวมกับศพคนตาย ความเชื่อในเรื่องชีวิตหลังความ ตายตามความเชื่อในเรื่องชีวิต หลังความตายของชุมชนยุคหินเกา จะพบไดจากแหลงโบราณคดีบาน พขุ าม (บา นคลองใหมใ นปจ จบุ นั ) ตาํ บลพนุ กยงู อาํ เภอตากฟา จงั หวดั นครสวรรค ๒. ชมุ ชนกอนประวัติศาสตร ตอนปลาย(ยุคโลหะ) ชมุ ชนอาํ เภอตากฟา ไดอ าศยั อยอู ยา งตอ เนอ่ื งมาเขา สชู มุ ชนกอ น ประวัติศาสตร ตอนปลาย หรือยคุ คือยุค ๓,๕๐๐ป ทผ่ี านมาเปน ชมุ ชน
๑๓๒๔ วถิ ีชีวติ วฒั นธรรม อาํ เภอตากฟา จังหวดั นครสวรรค ที่รูจักการถลุงเหล็ก ซึ่งจะเห็นไดจากกอนแรเหล็กและตะกรันท่ีขุดคน พบท่ีแหลงโบราณคดีบานหนองใหญ และวัดคีรีวงค ตําบลเขาชายธง อาํ เภอตากฟา จังหวดั นครสวรรค ชมุ ชนกอ นประวตั ศิ าสตร ตอนปลายเชนน้ี มักพบท่ัวไปใน จังหวัดนครสวรรค จังหวัด เพชรบรู ณ และจงั หวดั ลพบรุ ี โดย ลักษณะการต้ังถ่ินฐานมักอยูใน พนื้ ทท่ี เี่ รยี กวา ทร่ี าบลอนลกู คลน่ื โดยอาศยั แหลง นาํ้ ขนาดเลก็ ในการดาํ รงชวี ติ ซงึ่ ชมุ ชนกอ นประวตั ศิ าสตร ตอนปลายรวมสมัยเดียวกันท่ีอยูใกลเคียงกันไดแก แหลงโบราณคดี บานหวยถั่วใต อําเภอหนองบัว จังหวัดนครสวรรค แหลงโบราณคดี บา นบอ ดนิ ขาว อาํ เภอตาคลี จงั หวดั นครสวรรค แหลง โบราณคดบี า นโปง บญุ เจริญ อาํ เภอบึงสามพัน จงั หวัดเพชรบรู ณ เปน ตน ชุมชนอําเภอตากฟากอนประวัติศาสตร ตอนปลายนั้นไดมี การตดิ ตอ สมั พนั ธก บั ชมุ ชนภายนอกดว ย จากหลกั ฐานทคี่ น พบในแหลง โบราณคดีบานพเุ มน ตําบลพุนกยงู อําเภอตากฟา ไดพบลูกปด อาเกต และ ลูกปดท่ีใชเทคนิคการฝงเสนสีซึ่งเปนของที่ไมมีในทองถิ่น เช่ือวา นาจะเปน ผูคนทอ่ี ยูแถบตะวนั ออกกลาง อินเดีย และเมดิเตอรเรเนียน โดยมาทางเรือมาขึ้นฝงทีจ่ ังหวัดทางภาคใตของประเทศ
วิถีชีวติ วัฒนธรรม อําเภอตากฟา จงั หวดั นครสวรรค ๓๑๓๕ ๓บทท่ี ศาสนาและความเชอ่ื ศาสนสถาน วัดตากฟาพระอารามหลวง ประวัติวัดตากฟา แตเดิมที ไดต้ังเปนเพียงท่ีพักสงฆ เม่ือ ป พ.ศ. ๒๔๙๘ โดยสมยั นนั้ ยงั สงั กดั อยกู บั คณะสงฆอ าํ เภอตาคลี ตอ มา ไดอาศัยศรัทธาจากชาวบานซ่ึงสวนใหญมีอาชีพกสิกรรมเพาะปลูก
๑๓๔ วิถีชีวิต วฒั นธรรม อาํ เภอตากฟา จังหวดั นครสวรรค พืชไรไดรวมใจกันสรางเสนาสนะและศาลาเพ่ือเอาไวบําเพ็ญกุศลใน พระพทุ ธศาสนาและอกี ประการหนง่ึ บรเิ วณตลาดตากฟา ทา นแรก คอื นายบนั ลอื รตั นมงคล ไดเ ปน ผดู าํ เนนิ การเรอ่ื งสถานทก่ี อ สรา งวดั เพราะ ที่ดินบริเวณวัดนั้นเปนที่ของนิคมสรางตนเอง พรอมกันนั้นก็ไดอาศัย ผูใหญสมจิตร พิมพาภรณ นายสิงห สมศรี พรอมดวยชาวบานตากฟา เปนผูดาํ เนินการสรางวัด ทางดานฝายคณะสงฆนั้นก็ไดรับความสนับสนุนจาก พระครู นิพัทธศีลคุณ (ทอง) อดีตเจาคณะอําเภอตาคลี และพระครูนิยม ธรรมภาณ (บก) เจา คณะตาํ บลในขณะนน้ั ไดช ว ยสง พระมาเปน ผปู กครอง สํานักสงฆ โดยลําดบั และเพอ่ื เปนเกียรติท่พี ระครนู ิยมธรรมภาณไดให ความอุปถัมภแกสานักสงฆ ชาวบานท่ัวไปจึงเรียกกันวา “วัดตากฟา นิยมธรรม” โดยเอาชือ่ ทายของราชทินนามของหลวงปูบก มาตอสรอย ขางทาย และในป พ.ศ. ๒๕๐๔ คณะกรรมการก็ดําเนินการจึงทําเรือ่ ง ขอตั้งเปนวัด หลงั จากนนั้ ในป พ.ศ. ๒๕๐๗ พระอาจารยบ ญุ สง ซง่ึ เปน ผดู แู ล สํานักสงฆวัดตากฟานิยมธรรมเปนรูปสุดทายก็ไดลากลับไปจําพรรษา อยู ณ วัดสวางวงษ อําเภอตาคลี ตามเดิม ตอมาในป พ.ศ. ๒๕๐๘ คณะกรรมการวัดจึงไดไปขอพระภิกษุที่จะมาเปนผูนําจากหลวงพอ พระครวู สิ ยั จรยิ คณุ (โอด) ทวี่ ดั จนั เสน อาํ เภอตาคลี เพอื่ มาดแู ลสาํ นกั สงฆ ตอไป ขณะนนั้ พระสุรินทร จนทฺ โชโต (ตอมาไดรับพระมหากรณุ าธิคณุ
วถิ ชี ีวิต วฒั นธรรม อําเภอตากฟา จงั หวัดนครสวรรค ๓๑๕ โปรดเกลา ฯ พระราชทานสมณศกั ดใิ์ หเ ปน พระครนู ภเขตคณารกั ษ) ทา น กาํ ลงั มาลาหลวงพอ พระครวู สิ ยั จรยิ คณุ เพอ่ื จะไปจาํ พรรษา ณ วดั ปากนา้ํ จงั หวดั ระนอง หลวงพอ พระครวู สิ ยั จรยิ คณุ จงึ ไดข อใหท า นมาจาํ พรรษา อยูท่ีสํานักสงฆวัดตากฟานิยมธรรม เพ่ือมาเปนผูนําในการดูแลรักษา และบํารงุ รกั ษาวดั ในป พ.ศ. ๒๕๑๐ กรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ ดวย ความเหน็ ชอบของมหาเถรสมาคม จึงประกาศต้ังเปน วดั ขึ้นในพระพทุ ธ ศาสนา มีนามวา “วดั ตากฟา” เมอื่ วนั ท่ี ๗ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๑๐ และ ตอมาไดรบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา เมือ่ วันที่ ๑๔ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๑๐ ในป พ.ศ.๒๕๔๙ พระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วั ฯ มีพระบรม ราชานญุ าต สถาปนาวดั ตากฟา เปน พระอารามหลวง ชน้ั ตรี ชนดิ สามญั เนอื่ งในมหามงคลวโรกาสทรงครองสิริราชสมบตั ิครบ ๖๐ ป
๓๑๖๔ วิถีชวี ติ วฒั นธรรม อําเภอตากฟา จงั หวัดนครสวรรค วัดถํา้ พรสวรรค ตั้งอยูท่ีตําบลลําพยนต อําเภอตากฟา บริเวณมีพระพุทธปาง ตางๆ ประดิษฐานไวตามเชิงเขา มีศาลาสมภพปลูกสราง ๓ ชั้นอยาง ทนั สมยั ขา งหลงั วดั มถี าํ้ พรสวรรค เปน ทบี่ รรจสุ งั ขารพระครนู มิ ติ สทิ ธกิ าร หรือหลวงพอเปา เขมกาโม ที่นกั ทองเท่ยี วนิยมไปกราบไหว ภายในถาํ้ แบงออกเปน ๒ ตอน ตอนแรกเปนหองเล็ก ตอนที่สองเปนหองใหญ มีพระพุทธรูปและสง่ิ กอสรางทันสมยั อยูมาก มีนํ้าตกจําลอง มีสระนาํ้ ตรงกลางถาํ้ พื้นถํ้าเทคอนกรีตหมด บรรยากาศเยน็ สบาย ไมมีคางคาว อาศยั อยู ภายในถา้ํ ตดิ ตง้ั ระบบไฟฟา และประปาอยา งพรอ มมลู มคี วาม เงียบสงบ เหมาะกับนักทองเท่ียวที่ชอบความสงบ และตองการคนหา
วิถีชวี ิต วฒั นธรรม อําเภอตากฟา จงั หวัดนครสวรรค ๓๑๗๕ ปรศิ นาธรรมดา นขา งปากทางเขา ถาํ้ มพี ระพทุ ธบาทเกอื กแกว ประดษิ ฐานอยู ความเปนมาของวัดถํ้าพรสวรรค เดิมเปนถํ้าที่มีสภาพรกราง เต็มไปดวยปาไมและสัตวปา ในป พ.ศ.๒๕๐๗ พระครูนิมิตสิทธิการ หรือหลวงพอเปา เขมกาโม มาจําพรรษาที่บริเวณถํ้าเขาตะบองนาค มีพุทธศาสนิกชนเลื่อมใสศรัทธาชวยกันปรับปรุงภายในถ้ําและนอกถํ้า และบริจาคจตุปจจัย หลวงพอไดนํามาใชในการพัฒนาถํ้าและสราง ถาวรวัตถุ เริม่ ตนดวยการสรางบอนา้ํ สรางบนั ไดทางเขาถ้ํา สรางกฏุ ิ โบสถ ศาลา พ.ศ.๒๕๓๗ พระสมพงษ ทองแฉลม (พระครูใบฎีกา สมพงษกิตติสจโจ) ไดปรับปรุงสภาพวดั โดยเทพื้นปหู ินออนเพอ่ื พฒั นา ใหเ ปน แหลง ทอ งเทยี่ วเชงิ อนรุ กั ษ จดั สรา งพพิ ธิ ภณั ฑส ตั วน า้ํ จดื นาํ้ ทะเล และจัดประเพณีลอยกระทงในถ้ําโดยใชวัสดุธรรมชาติ ใชดอกไมสด ในวันเขาพรรษา จัดกิจกรรมปลูกปาอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ เปน ประจําทกุ ป ความโดดเดนของวัดแหงนี้อยูท่ีถ้ําพรสวรรค ซึ่งเปนที่บรรจุ สงั ขารพระครนู มิ ติ สทิ ธกิ าร หรอื หลวงพอ เปา เขมกาโม บคุ คลทน่ี กั ทอ ง เทย่ี วนิยมเดินทางเขามากราบสกั การะ โดยภายในถํ้าแบงเปน ๒ สวน ดว ยกนั กลา วคอื สว นแรกเปน หอ งเลก็ ๆ และสว นทสี่ องเปน หอ งใหญข น้ึ ท่มี ีพระพทุ ธรปู วางอยูมากมาย ภายในถํ้ามีนํ้าตกจาํ ลอง วางสระนํ้าไว ตรงกลาง และติดตั้งระบบไฟฟาประปาอยางพรอมูล บรรยากาศเงียบ สงบเหมาะสาํ หรบั การปฏิบัติธรรมเปน อยางย่งิ
๑๓๔๘ วถิ ีชีวิต วฒั นธรรม อาํ เภอตากฟา จังหวดั นครสวรรค วดั ถาํ้ ผาสวรรค วดั ถาํ้ ผาสวรรค (ถาํ้ คหู าโสภณ) อยใู นเขตตาํ บลขาชายธง หมบู า น หนองสะแก หมทู ี่ ๔ ตาํ บลเขาชายธง อาํ เภอตากฟา จงั หวดั นครสวรรค ภายในถาํ้ จะมพี ระพทุ ธรปู ใหญช าวบา นเคารพนบั ถอื ซง่ึ สรา งมานานแลว และมรี ปู หลอ รปู เหมอื นหลวงปมู น่ั ภรู ทิ ตั โตและไดอ ญั เชญิ พระธาตขุ อง หลวงปมู น่ั จากวดั ปา สธุ าวาส จงั หวดั สกลนครมาบรรจทุ อี่ งคร ปู เหมอื นดว ย จะมีชองทางเดินภายในถํ้าติดตอกบั ถํ้าอ่นื ๆอีกหลายถํ้า และมีคางคาว อาศยั อยมู ากมาย ชาวบา นนยิ มมาเกบ็ ขค้ี า งคาวไปขาย และบางฤดกู าล ก็จะมีพระธุดงคนั่งวิปสสนาในถ้ํา มีนักทองเท่ียวท่ีชอบธรรมชาติ การเดินเขา และความสงบรมเย็นนิยมมาทองเที่ยวกันเปนระยะๆ
วิถีชวี ิต วัฒนธรรม อําเภอตากฟา จงั หวดั นครสวรรค ๓๑๕๙ วัดเขาชายธง วัดเขาชายธง สถานท่ีตั้ง หมูท่ี ๒ บานหนองเสลา ตําบล เขาชายธง อําเภอตากฟา จังหวัดนครสวรรค การคมนาคม สะดวก มถี นนลาดยางจากจงั หวดั ถงึ วดั ระยะทางประมาณ ๘๓ กม. เปน วดั ใหญ อยตู ดิ ถนนสายพหลโยธนิ อ.ตาคล-ี ตากฟา บรเิ วณวดั มีเนื้อทป่ี ระมาณ ๓๐๙ ไร มีภเู ขา ๒ ลกู คือภูเขาชายธงและภูเขาขาด มีถ้าํ ๓ ถาํ้ คือ ถ้ําสองพน่ี อง ถ้ําทิพยวิมาน อยูในบริเวณเขาชายธง และถํ้าวิมตุ ิสุขอยู บริเวณเขาขาด สาํ หรบั สงิ่ ทเ่ี ปน ทยี่ ดึ เหนยี่ วจติ ใจของชาวอาํ เภอตากฟา นอกจาก หลวงพอตากฟาแลวยังมี เจาพอ-เจาแมที่ประดิษฐานไวในศาลเจามี ๓ แหง ซ่งึ เปนที่เคารพบชู าของชาวตากฟามาตั้งแตในอดีต มีดังนี้
๓๒๔๐ วิถชี ีวิต วัฒนธรรม อําเภอตากฟา จังหวัดนครสวรรค ศาลเจาพอดาบทอง ศาลเจา พอ ดาบทองเปน ศาลเจา ทช่ี าวตลาดตากฟา เคารพนบั ถอื และศรทั ธาเปน อนั มากเนอื่ งจากความเชอื่ ในการขอสงิ่ ใดกบั เจา พอ แลว ไดสมหวงั เกือบทกุ ราย จึงมีชาวบานท้ังชาวไทยและชาวไทยเชื้อสายจีน นําพวงมาลัย ดอกไมมาถวายเจาพอเปน จํานวนมาก บางรายถึงกับเอา ภาพยนตรมาฉายถวายเจาพอกม็ ี เมือ่ สิง่ ทีข่ อนั้นสมหวงั ศาลเจา พอ ดาบทอง ตง้ั อยบู รเิ วณหนา โรงพยาบาลตากฟา ทดี่ นิ บริเวณท่ีตั้งศาลเปนท่ีดินของนิคมสรางตนเองตากฟา โดยจะมีผูดูแล ทําความสะอาดบริเวณศาลเจาเปนอยางดี และทุกๆวันก็จะมีชาวบาน นาํ พวงมาลยั มาถวายมไิ ดข าด และจะมงี านฉลองเจา พอ ทกุ ป มมี หรสพ คืองิ้ว ภาพยนตร ลิเก เปน ตน
วถิ ีชีวิต วฒั นธรรม อําเภอตากฟา จังหวัดนครสวรรค ๒๓๑๕ ศาลเจาพอเจาแมเ กษตรชัย ในป พ.ศ.๒๕๐๐ ชาวตลาดเกษตรชัยท่ีสวนใหญเปนชาวจีน ไดอ พยพมาจากตาํ บลทาํ นบ ตาํ บลสาํ โรงชยั (แตก อ นเปน ตาํ บลทขี่ น้ึ อยู กับอําเภอทาตะโก แตตอมาไดมาขึ้นอยูกับอําเภอไพศาลี) ไดรวมกัน วางแผนท่ีจะจัดสรางศาลเจาขึ้นในหมูบาน โดยการนําของกิมหยูกับ เจกแดไดไปใหเจาพอปากคลอง ตําบลบางประมุง อําเภอโกรกพระ ซึ่งผูทเ่ี ปน รางทรงคือคุณเตียเชียงชือ เปนผูทรงเจา ก็บอกวา ควรสราง ศาลเจา ไวท บี่ รเิ วณเชงิ เขาเกษตรชยั ( เขาทางแยก ) จงึ ดาํ เนนิ การกอ สรา ง โดยในระยะแรกสรา งดว ยไมเ ปน ศาลเจา เลก็ ๆ แตต อ มาบา นเมืองเจรญิ ขึ้น จึงไดกอสรางศาลเจาดวยปูนซีเมนต เจาพอ-เจาแมเกษตรชัยเปนท่ีเคารพนับถือของชาวตลาด เกษตรชัยเปนอยางมาก ของที่เปยจากงานฉลองเจาพอ-เจาแม ชาวตลาดเกษตรชัยเชอ่ื วาเปน ของมงคล ผูใดไปกราบไหวบูชา จะเปน ศิริมงคลแกตนเองและครอบครวั ศาลเจา พอ โชคสิงหชยั - เจา พอ โกมินทร ศาลเจาพอโชคสิงหชัย- เจาพอโกมินทร ต้ังอยูบริเวณริมถนน สายตากฟา-ทาตะโกใกลศูนยเกษตร-วิศวะ ตาํ บลอดุ มธัญญา อําเภอ ตากฟา จงั หวดั นครสวรรค ชาวบานอดุ มธญั ญาใหความเคารพนบั ถือ เปนอันมาก ผูท่ีมีความเดือดรอนทุกขใจในเร่ืองใดๆ ก็มาบอกกลาว ท่ีศาลเจาพอโชคสิงหชัย-เจาพอโกมินทร ก็จะสมหวังเกือบทุกราย สวนใหญจะบอกกลาวดวยพวงมาลยั ดอกไมสด
๓๒๒๔ วิถชี วี ิต วัฒนธรรม อาํ เภอตากฟา จังหวัดนครสวรรค บุคคลสาํ คญั ทางศาสนา พระครูนภเขตคณารกั ษ (สุรินทร จนทโชโต เฉลิมพันธ) พระครูนภเขตคณารักษ (สรุ ินทร จนทโชโต เฉลิมพันธ อดีต เจาอาวาสวดั ตากฟา หลวงพอตากฟา เจาคณะอําเภอตากฟา จังหวัด นครสวรรค ทช่ี าวตากฟาเคารพนับถือ
วถิ ชี ีวิต วัฒนธรรม อาํ เภอตากฟา จงั หวัดนครสวรรค ๒๓๕ ชาติภูมิ พระครนู ภเขตคณารกั ษ นามเดมิ สรุ นิ ทร นามสกลุ เฉลมิ พนั ธ เกิดเมอ่ื วันที่ ๑๖ เดือนพฤศจิกายน พ.ศ๒๔๘๐ ตรงกบั วนั องั คาร ขึ้น ๑๐ คํา่ เดือน ๑๒ ปฉลู ณ บานหมูท่ี ๙ ตาํ บลทบั กฤช อําเภอ ชุมแสง จังหวัดนครสวรรค บิดาช่อื นายออด เฉลิมพนั ธ มารดาช่ือ นางชั้น เฉลิมพนั ธ การศึกษา พระครูนภเขตคณารักษ เรียนจบช้ันประถมศึกษาปท่ี ๔ ท่ี โรงเรียน บานพานทอง ตําบลสายทอง อําเภอปาโมก จังหวัดอางทอง เมื่อ พ.ศ. ๒๔๙๔ บรรพชาอปุ สมบท อปุ สมบท ณ พทั ธสมี า วดั พนั ลาน ตาํ บลโคกหมอ อาํ เภอชมุ แสง จังหวัดนครสวรรค โดยมี พระครูนิพัทธศีลคุณ วัดหัวเขาตาคลี อาํ เภอตาคลี จงั หวดั นครสวรรค เปน พระอปุ ช ฌาย พระอธกิ ารพวง เปน พระกรรมวาจาจารย พระอาจารยเปนพระอนสุ าวนาจารย สมณศักด์ิ พ.ศ. ๒๕๐๙ เปนฐานานุกรมของเจาคณะอําเภอตาคลีที่ พระใบฎีกา พ.ศ. ๒๕๑๗ เปนพระครูสัญญาบัตรเจาคณะตําบลชั้นตรีท่ี พระครนู ภเขตคณารกั ษ
๓๒๔ วถิ ชี ีวิต วฒั นธรรม อําเภอตากฟา จังหวดั นครสวรรค พ.ศ. ๒๕๑๘ เปนพระครูสัญญาบัตรเจาคณะตําบลช้ันโทท่ี พระครูนภเขตคณารักษ พ.ศ. ๒๕๒๓ เปนพระครูสัญญาบัตรเจาคณะตําบลช้ันเอกท่ี พระครนู ภเขตคณารักษ ผลงานดา นสาธารณปู การ พระครูนภเขตคณารักษ ไดดําเนินการกอสรางกุฏิทรงไทย ประยกุ ต ๒ ชนั้ สรางอโุ บสถวัดตากฟาลกั ษณะเปน ทรงไทยหลังคาลด ๒ ชั้น สรางศาลาการเปรียญวัดตากฟา สรางกุฏิทรงไทยประยุกตลกั ษณะสงู ๓ ช้ัน สรางหอระฆงั สรางกําแพงบริเวณหนาวดั ตากฟา สรางท่เี กบ็ น้ําประปา สรางเมรุ ลกั ษณะทรงไทยประยกุ ตยอดเปนมณฑป ฯลฯ
วถิ ีชวี ิต วฒั นธรรม อําเภอตากฟา จงั หวัดนครสวรรค ๒๓๕ มรณภาพ พระครูนภเขตคณารักษ เปนพระเถระผูมีความเครงครัดใน พระธรรมวนิ ยั ความเปน อยเู รยี บงา ย ยดึ พรหมวหิ ารธรรมและสงั คหวตั ถุ ธรรม เปนหลักปฏิบัติบําเพ็ญศาสนกิจอันเปนหิตานุหิตประโยชน เพ่ือ ความเจรญิ รงุ เรอื งของพระพทุ ธศาสนาและชาตบิ า นเมอื ง โดยปกตเิ ปน ผมู สี ขุ ภาพแขง็ แรง จะมอี าการปว ยไขบ า งกเ็ ปน ธรรมดา ทา นเรมิ่ อาพาธ เม่ือตนป พ.ศ. ๒๕๓๓ จึงเขารักษาท่ีโรงพยาบาลพรอมมิตร แพทย วินิจฉยั วาเปนโรคไต และไดทําการผาตดั เปล่ยี นไตเมอ่ื ป พ.ศ.๒๕๓๔ อยูไดประมาณปเศษ อาการอาพาธก็ทรุดลงอีกรางกายออนเพลีย ไมมีกําลังเดินไมได ฉันอาหารนอยลง จึงไดนําสงโรงพยาบาล อานันทมหิดลจงั หวดั ลพบรุ ี เมือ่ วันท่ี ๒๔ มกราคม พ.ศ.๒๕๓๕ แตยัง ไมถึงโรงพยาบาลทานไดมรณภาพ เม่ือเวลา ๐๗.๕๐ น. แพทยวินิจฉัย วามรณภาพดวยอาการไตวายเรื้อรงั สิริรวมอายุ ๕๔ ป ๒ เดือน ๘ วนั อปุ สมบทได ๓๕ พรรษา
๒๓๖๔ วถิ ีชีวิต วัฒนธรรม อาํ เภอตากฟา จงั หวัดนครสวรรค หลวงพอเปา เขมกาโม (พระครูนิมิตสิทธิการ อดีตเจาอาวาส วัดถา้ํ พรสวรรค) หลวงพอเปา เขมกาโม (พระครูนิมิตสิทธิการ) เกิดเม่อื ๑๐ มิถุนายน ๒๔๕๙ ตรงกบั แรม ๔ คํา่ วันจันทรเดือน ๗ ปมะโรง เวลา ประมาณ เวลาประมาณ ๖.๐๐ น. ณ หมทู ี่ ๑ ตาํ บลตะเคยี นเลอ่ื น อาํ เภอ เมือง จังหวัดนครสวรรค บิดา ชอ่ื นม่ิ มารดา ชอ่ื ยิ้ม ทองแฉลม
วถิ ีชวี ติ วฒั นธรรม อําเภอตากฟา จังหวัดนครสวรรค ๒๓๕๗ การศกึ ษาเบอ้ื งตน สาํ เรจ็ ชนั้ ประถมปท ี่ ๔ เมอื่ พ.ศ.๒๔๗๐ จาก โรงเรียนทาทรุด ตาํ บลบางละมงุ อาํ เภอโกรกพระ จังหวดั นครสวรรค อปุ สมบทเมอื่ วนั พฤหสั บดที ี่ ๑๘ พฤษภาคมพ.ศ. ๒๕๐๔ ตรงกบั ขน้ึ ๔ คา่ํ ปฉลู ( เม่อื บวช หลวงพออายุได ๔๖ ป ) ณ วดั ลาดยาว อําเภอลาดยาว จังหวัดนครสวรรค สรา งปา ใหเ ปน วดั บรเิ วณชงิ เขาและถาํ้ เขาตะบองนาคนอ้ี ยหู า ง จากถนนพหลโยธนิ ประมาณหนงึ่ กโิ ลเมตรเศษ สมยั กอ นหา งจากชมุ ชน ตาํ บลลาํ พยนต อาํ เภอตากฟามาก นอกจากคนมาทําไรแถบนั้นเชามา เยน็ กลบั ถงึ แมน จะทาํ ไร แถบนนั้ กท็ าํ คนละฟากถนนกบั เขาตะบองนาค ซึ่งเปนที่ตั้งวัดแหงนี้ ฉะนั้น กอนหนาที่หลวงพอจะเขาไปอยูไมปรากฎ วา มใี ครเคยเขา ไปอยมู ากอ น เพราะเปน ปา รกทบึ ไมม คี วามสวยงามหรอื นาทองเท่ียวแตอยางใด ในทางตรงกันขามกลับจะดูนากลัวมากกวา ประกอบกับสถานท่นี ี้หางไกลผูคน หากหลวงพอไมมาพบเขาก็นากลัว วาจะเปนถํ้ารกรางวางเปลาเปนท่ีอยูของคางคาวแดละงูตอไปอีกนาน แตห ลงั จากหลวงพอ เขา อยบู าํ เพญ็ สมณกจิ ณ ทแี่ หง นแ้ี ลว ไดม ผี ศู รทั ธา มาชว ยกนั ปรบั ปรงุ ทงั้ ภายในและภายนอกถา้ํ เรม่ิ ตน ดว ยการสรา งบอ นาํ้ สรางบันไดทางเขาถ้ําหลวงพอและลูกศิษยไดรวมกันสรางกุฎิ โบสถ ศาลา การกอสราง ศาสนสถานเหลานี้หลวงพอไมเคยออกปากรบกวน ใหลูกศิษยลําบากใจเลย สวนใหญมีศรัทธาเองท้ังสิ้น เม่ือผูคนศรัทธา ตอหลวงพอเพ่มิ มากขึ้น จึงไดรวมกนั บริจาคจตปุ จจยั เพอื่ ใหทานสราง
๒๓๘๔ วิถชี วี ติ วฒั นธรรม อําเภอตากฟา จงั หวดั นครสวรรค ถาวรวตั ถขุ ึ้นอีกหลายอยาง เชน สรางบนั ไดขึ้นถ้าํ สรางกุฏิวิปสสนากรรมฐาน สรางกุฏิทรงไทยประยกุ ต สรางศาลาการเปรียญ สามช้นั สรางโบสถ สรางเมรุ ฯลฯ หลวงพอไดรับสมณศักด์ิเปนพระครูสัญญาบัตรที่ “ พระครู นิมิตรสิทธิการ ” เม่ือ พ.ศ. ๒๕๒๓ เปนเจาอาวาสวัดถํ้าพรสวรรค ตลอดมา เปนเจาคณะตําบลลําพยนตดวย วัดนี้ไดพัฒนาไปมาก ปจจุบันนี้ทางจังหวัดไดประกาศใหเปนสถานที่ทองเที่ยวของจังหวัด นครสวรรค จงึ เปน ทพ่ี กั ผอ นของชาวบา น อกี ทงั้ ยงั เปน สถานทปี่ ระกอบ ศาสนกจิ ของสงฆแ ละชาวบา น ทง้ั ใชเ ปน ทลี่ อยกระทง ( ในถา้ํ ) ในวนั เพญ็ เดือนสิบสอง และท่ีสําคญั เปน สถานท่ฝี กอบรม “ วิปส สนากรรมฐาน ” แกประชาชนทัว่ ไป อีกไมนานจะเปนท่ีประกอบฌาปนกิจของคนทุกชนั้ หลวงพอมีเจตนาไววาใครก็ไดจะมาใชเมรุแหงนี้ คนจนก็จะทําพิธีทาง ศาสนาใหเ หมอื นๆกนั ไมเ ลอื กมี เลอื ดจน คา ใชจ า ยในการนจ้ี ะถวายกไ็ ด ไมถ วายกไ็ ด ทา นสรา งเพอ่ื ประโยชนข องคนทง้ั หลาย เพอ่ื ไมใ หเ กดิ ความ เดอื ดรอ นตอ งหา ฌาปนสถานไกลๆ อนั เปน การสน้ิ เปลอื งคา ใชจ า ยและ
วถิ ชี วี ิต วฒั นธรรม อาํ เภอตากฟา จงั หวดั นครสวรรค ๓๒๕๙ ใหเกิดความสะดวกโดยถวนหนากัน เชน บางแหงไมมีเมรุก็กองฟนสูง ทวมหัวแลวเอาศพตั้งเผาบนกองฟนนั้นถาพอจะมีฐานะบางก็มีโลงไม ถา ยากจนกเ็ อาเสอ่ื สาดหอ ศพ ดเู ปน ทอี่ จุ าดตานา สงั เวชยง่ิ นกั การสรา ง เมรุคร้ังนี้มีเจตนาจะชวยคนตายไดรับการฌาปนกิจอยางดี ไมวาคนๆ น้ันจะม่ังมีหรือยากจน โดยไมตองกังวลตอรายจายท่ีจะตองใหกับวัด ทง้ั นแ้ี ลว แตจ ะศรทั ธา จะเหน็ ไดว า จากถา้ํ ทไี่ มม ใี ครเคยยา งกรายเขา ไป หลวงพอ ไดน าํ ชาวบา นและลกู ศษิ ยช ว ยกนั พฒั นาจนเปน ทท่ี ท่ี กุ คนเขา ไป แลว สบายทั้งใจและสบายท้ังกายหลวงพอปรารภวาไมประสงคสิง่ ใด อีกแลวในชีวิตนี้ นอกจากไดมีโอกาสเห็นลูกศิษยและชาวบานอยูเย็น เปน สขุ มคี วามสามคั คกี นั รจู กั อภยั อโหสซิ งึ่ กนั และกนั และมคี วามเมตตา ตอกัน ภายใตรมธงธรรมจักรของวัด ถํ้าพรสวรรคน้ีเทานั้นพอแลว สาํ หรบั หลวงพอ ทา นมรณภาพเมอื่ วนั ที่ ๒ พฤษภาคม ๒๕๓๖ รวมอายุ ๗๖ ป
๓๐๔ วถิ ีชีวิต วัฒนธรรม อาํ เภอตากฟา จังหวัดนครสวรรค หลวงพอหิน หลวงพอ หนิ (หลวงพอ ตากฟา ) พระพทุ ธรปู ศกั ดส์ิ ทิ ธท์ิ ช่ี าวบา น นับถือเปนพระพุทะรูปโบราณแกะสลักจากหินทรายทั้งกอน ฝมือชาง สกุลทวาราวดีอายุประมาณ ๑,๒๐๐ ปโดยประมาณลักษณะเปน พระพทุ ธรูปปางมารวิชัยเดิมอยูเมืองเกาไพศาลี อาํ เภอไพศาลี จงั หวัด นครสวรรค สาเหตทุ ม่ี าประดษิ ฐานอยูณวดั ตากฟา นนั้ คอื เมอ่ื พ.ศ.๒๕๐๕ ไดป ระดษิ ฐานอยู ณ วดั หนิ ปก ทงุ อาํ เภอบา นหม่ี จงั หวดั ลพบรุ ี หมบู า น เกดิ นา้ํ ทว มตดิ กนั ๔ ป หลวงพอ พระครจู ร เจา อาวาสหนิ ปก ทงุ ในขณะนนั้ สงสารชาวบานทท่ี าํ นาไมไดขาว จึงถวายใหมาอยูที่สํานักสงฆตากฟา
วถิ ชี วี ติ วฒั นธรรม อาํ เภอตากฟา จังหวัดนครสวรรค ๓๕๑ เพราะวา หลวงพอ นนั้ ไดช อ่ื วา ศกั ดสิ์ ทิ ธใ์ิ นการทาํ ใหฝ นฟา ตกอดุ มสมบรู ณ โดยการนาํ ของอาจารย ขนุ ทอง อรญิ ชโย พรอ มดว ย ทายกสงิ ห สมศรี ทายกจดั กลนิ่ บญุ ทายกเชญิ ประทมุ วนั และคณะไดร ว มเดนิ ทางไปรบั โดยรถ ๑๐ ลอ ตงั้ แตน นั้ มาหลวงพอ กไ็ ดม าประดษิ ฐานอยู ณ วดั ตากฟา ตง้ั แต พ.ศ. ๒๕๐๕ เปน พระศกั ดส์ิ ทิ ธปิ์ ระจาํ อาํ เภอตากฟา เมอ่ื ใดกต็ าม ท่ีฝนฟาไมตกตองตามฤดกู าล ชาวไรก็พากนั มาบูชาหลวงพอขอฝนให ฝนฟาตกก็สมปรารถนาทุกคร้ังไป และเปนเร่ืองซ่ึงนาอัศจรรย เม่ือใด ก็ตามที่นําหลวงพอออกมาพนชายคาแดดก็จะรมจะคร้ึมถานํามาไว นานๆ ฝนจะตก เรอื่ งตา งๆนเี้ ปน เรอ่ื งทท่ี ราบโดยทวั่ กนั ของชาววดั ตากฟา และชาวบา นตากฟา สาํ หรบั การบชู าหลวงพอ นน้ั ชาวบา นจะนาํ พวงมาลยั มาถวายอยูโดยไมขาด ปจจุบันนี้หลวงพอตากฟาประดิษฐานที่มณฑป เฉลิมพระเกียรติ ๕๐ ป ครองราชย
๓๒๔ วถิ ีชวี ิต วฒั นธรรม อําเภอตากฟา จังหวัดนครสวรรค
วิถชี วี ติ วฒั นธรรม อาํ เภอตากฟา จงั หวดั นครสวรรค ๓๕๓ ๔บทท่ี ศิลปะทอ งถิน่ ประติมากรรม พระพทุ ธรปู ปางหามญาติ ประตมิ ากรรมอาํ เภอตากฟา มที น่ี ยิ มจดั สรา งแลว นาํ มาประดบั ไวตามวัดตางๆ คือ พระพุทธรูปปางตางๆ เชน พระพุทธรูปปนู ปน ทว่ี ัด ถํ้าพรสวรรค ตําบลลาํ พยนต อําเภอตากฟา
๓๔ วิถีชวี ติ วฒั นธรรม อาํ เภอตากฟา จงั หวดั นครสวรรค นอกจากนั้น ก็ยังมีศิลปะปูนปนเปนรูปปริศนาธรรม เพื่อส่ัง สอนประชาชนใหประพฤติธรรมอีกทางหน่ึงไดแก รูปปนปริศนาธรรม วันถํ้าพรสวรรค นอกจากประติมากรรมที่เปนสิ่งศักดิ์สิทธิ์ท่ีจัดทําข้ึนเม่ือไมก่ีป กย็ งั มปี ระตมิ ากรรมพระพทุ ธรปู ทมี่ คี วามเกา แกแ ละเปน ทเี่ คารพสกั กา ระของชาวตากฟาทกุ คน น่ันคือ หลวงพอหิน ( หลวงพอตากฟา ) สถาปต ยกรรมทม่ี คี วามสวยงามของอาํ เภอตากฟา แหง หนง่ึ กค็ อื มณฑป เฉลิมพระเกียรติ ๕๐ป ครองราชย ซึ่งกอสรางในวัดตากฟา อําเภอ ตากฟา จังหวัดนครสวรรค โดยทานพระศรีสุทธิเวที เจาคณะอําเภอ ตากฟาเปนผูควบคุมการกอสรางดวยตนเองจนแลวเสร็จเม่ือ ป พ.ศ. ๒๕๔๔
วิถชี ีวิต วัฒนธรรม อาํ เภอตากฟา จงั หวัดนครสวรรค ๓๕ ภาษาและวรรณกรรม การละเลนพ้ืนบาน ประชาชนท่ีอพยพเขามาอาศัยอยูในเขต อาํ เภอตากฟา สว นใหญเ ปน ประชาชนทมี่ าจากจงั หวดั และอาํ เภอใกลเ คยี ง ภาษาที่ใชก็จะใชภาษาไทยภาคกลางเปนสวนใหญ แตจะมีบางกลุม ที่เปนคนไทยภาคอีสานท่ีอพยพเขามาอาศัยอยูในเขตอําเภอตากฟา ในชว งทมี่ กี ารตดั ออ ย กจ็ ะนาํ ภาษาอสี านเขา มาใชด ว ย แตเ ปน สว นนอ ย สําหรับคําพูดที่ถือวาเปนเอกลักษณของอําเภอตากฟาท่ีมักใชพูดกัน บอยๆ จนคนตางถ่นิ ไดยินแลวสามารถบอกไดวาเปนคนอําเภอตากฟา และมีบางคาํ กม็ ีใชในอาํ เภออน่ื ๆในจังหวดั นครสวรรคดวย เชน ๑. คําวา “ แงะ” มีความหมายวา “ เหรอ” เชน เมือ่ มีคนบอก วา “ ฉันไปเทย่ี วกรงุ เทพ ฯมา สนกุ มากเลย ” ชาวตากฟาจะตอบกลบั ไปวา “ แงะ” ๒. คําวา “ แหงะ ” มีความหมายวา “ หันมามอง” เชน “ เธอ ไมแ หงะมามองกนั บา งเลย ” ซง่ึ คาํ วา “แหงะ” จเปน กริ ยิ าทา ทางในการ เคลื่อนไหวรางกายในการหนั มามอง ๓. คําวา “ ปลาเห็ด ” หมายถึง อาหารชนิดหน่ึงท่ีนําปลา มาบดผสมกบั เครอ่ื งแกง ทาํ เปน แผนกลมเลก็ พอคาํ ทอดในนํ้ามนั หรือ ภาษาไทยกลางทวั่ ไปเรียกวา “ ปลาทอดมนั ”
๓๖๔ วถิ ีชีวิต วัฒนธรรม อําเภอตากฟา จังหวัดนครสวรรค ๔. คําวา“ ทุม ” มีความหมายเดียวกับคาํ วา “ ทุม ” หมายถึง คาํ ท่ีใชเรียกเวลา เชน ๑ ทุม ๒ ทุม ซึง่ หมายถึง ๑ ทุม ๒ ทุม เปนตน ๕. คาํ วา “ แจม ” มีความหมายเดียวกบั คําวา “ สวาง ” เชน ไฟ ไมคอยแจมเลย ซ่งึ หมายถึง ไฟไมคอยสวางเลย น่นั เอง การละเลนพ้นื บาน การละเลนพื้นบานของเด็ก อําเภอตากฟามีอยูมากมายหลาย ชนิด และก็เปนการละเลนที่คลายๆกันทุกอําเภอในจังหวัดนครสวรรค เชน กระโดดเชือก
วิถีชวี ติ วัฒนธรรม อาํ เภอตากฟา จังหวัดนครสวรรค ๓๗๕ กาฟกไข ก๊งิ กอง แกว
Search