Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานวิจัย-สิทธิของชุมชนชาวกะเหรี่ยง - อ.ไพสิฐ

รายงานวิจัย-สิทธิของชุมชนชาวกะเหรี่ยง - อ.ไพสิฐ

Published by E-books, 2021-03-02 07:11:40

Description: รายงานวิจัย-สิทธิของชุมชนชาวกะเหรี่ยง-ไพสิฐ

Search

Read the Text Version

คอยคุ้มครองดูแลเช่นกัน ทุกอย่างที่อยู่อยู่ตามธรรมชาติย่อมมีเจ้าของท้ังหมด ดังนั้นมนุษย์ไม่มีสิทธิ์ แม้แต่จะใช้คาพูดที่ไม่เหมาะสมหยาบคายต่อธรรมชาติหรือละเมิดสิทธิการดารงอยู่ของธรรมชาติ หากมนุษย์ละเมิดกฎดังกล่าวมนุษย์ต้องประกอบพิธีการขอขมาลาโทษและหากไม่ดาเนินการ มนุษย์ผู้ นน้ั จะได้รบั การลงโทษโดยธรรมชาติ ความเชื่อต่อธรรมชาติและเจ้าป่าเจ้าเขา หากเดินทางเข้าป่าเพื่อเก็บหาของป่าเป็นอาหาร ล่าสัตว์ ชาวบ้านจะประพฤติปฏิบัติอย่างระมัดระวังตัว เช่น ไม่พูดจาเสียดสี หยาบคาย ไม่หัวเราะ เสียงดัง ฯลฯ ชาวบ้านคิดว่าในป่ามีผีอาศัยอยู่มากมาย ผีแต่ละตัวมีจิตใจที่แตกต่างกันไป บางตัวอาจ มีจิตใจ ทีช่ ่วั รา้ ย หากมนษุ ยห์ วั เราะเสยี งดัง ผีตนน้นั อาจเขา้ ใจว่าหัวเราะเยาะเย้ยและสร้างความเลวร้าย ให้แก่มนุษย์ได้ ในการเลี้ยงผีป่า การเลี้ยงผีน้า หรือการเล้ียงผีฝายเป็นพิธีกรรมที่แสดงถึงกลไกการ จัดการทรัพยากรของบรรพบุรุษที่ยากจะเข้าใจ หากไม่มีการเรียนรู้อย่างแท้จริง ฐานที่สาคัญของภูมิ ปัญญา คือความเช่ือท่ีว่าทุกส่ิงในโลกมีเจ้าของคอยปกปักรักษา การใช้ประโยชน์ต้องได้รับการขอ อนุญาต ละเมิดหรือลบหลู่ จะได้รับความเดือนร้อนไม่ว่าจะเป็นคนท่ีทา ครอบครัว หรือชุมชน การ ปฏบิ ตั ิตามวถิ ที างการปฏบิ ัตขิ องบรรพบุรุษเป็นแนวทางทใี่ ห้การดแู ลจดั การป่าของชมุ ชนไดเ้ ปน็ อย่างดี ด้วยลักษณะพ้ืนที่หย่อมบ้านขนาดเล็ก ทาให้ยังคงความสัมพันธ์ในเชิงเครือญาติท่ีใกล้ชิดและแน่นแฟ้น มกี ารช่วยเหลอื ร่วมแรงร่วมใจกนั ในกิจกรรมตา่ งๆ ภายในชมุ ชน เช่น การเอามอื้ เอาวนั การลงแขก งาน ส่วนรวมของชุมชน เช่น การทาแนวกันไฟ การดับไฟป่าและงานที่เก่ียวข้องกับประเพณี พิธีกรรมต่าๆ ซ่ึงคนในชุมชนจะมีการนับถือศาสนาทั้งศาสนาพุทธและศาสนาคริสต์ แต่วิถีชีวิตไม่ได้เปลี่ยนแปลงมาก นัก โดยส่วนใหญ่ยังพึ่งพา ป่า และน้า ในการทานาและเล้ียงสัตว์และมีระบบการผลิตเพ่ิมข้ึน เช่น การ ปลกู พชื เศรษฐกิจ กฎระเบยี บสาคญั ของชุมชน ได้แก่ ๑. ตอ้ งควบคุมทกุ คร้งั ในการเผาไร่ ด้วยการทาแนวกันไฟ ๒. คณะกรรมการทกุ คนตอ้ งมสี ว่ นรว่ มในการตัดสินในเพ่ือส่วนรวมของชมุ ชน ๓. การตดิ ตามสถานการณ์ นโยบาย โดยชมุ ชนตอ้ งสง่ ตวั แทนเข้าร่วม ๔. การประชมุ ชาวบ้านทุกวนั ท่ี ๖ ของทุกเดือน อยา่ งนอ้ ยเดือนละ ๑ ครัง้ ๕. หา้ มขยายพืน้ ทีท่ ากินในเขตปา่ ชมุ ชนเด็ดขาด ๖. ห้ามนาสัตวป์ า่ ทุกชนดิ ออกจากชมุ ชน/ขาย ๗. บุคคลท่ีออกไปทางานรับจ้างข้างนอกเกินหนึ่งเดือนต้องมีการสมทบทุนของชุมชนต้องแจ้ง คณะกรรมการชุมชนให้ทราบก่อนเดินทาง ต้องแจง้ สถานทต่ี ดิ ต่อได้หรอื เบอร์โทรศัพท์ ซึ่งหากฝ่าฝืนจะมี บทลงโทษในการตอ้ งรับผิดชอบตอ่ สิ่งท่เี กดิ ขน้ึ การถกู ตักเตือนและยึดพน้ื ท่ีทากินคนื การเล้ียงชีพและวิถีการผลติ ทสี่ าคญั ไดแ้ ก่ การทานา : ชาวบ้านส่วนใหญ่มีอาชีพในการทานา ผลผลิตจากการทานาคิดจาก ข้าวที่นาไป ปลูก ๑ ถัง สามารถผลิตข้าวได้ถึงจานวน ๘๐ ถัง ซ่ึงขึ้นอยู่กับพันธุ์ข้าวด้วย เช่น พันธุ์ลาปาง พันธ์ุมูเซอ ซ่ึงในการผลิตขา้ วในแต่ละครั้งสามารถเกบ็ ไว้รับประทานได้ตลอดท้งั ปี การปลกู ขา้ วไร่ : แต่เดิมจะปลูกในไร่หมุนเวียน แต่ในระยะหลังเริ่มมีการปลูกข้าวโพดเพิ่มมาก ข้ึน เหลือเพียงไม่กี่ครอบครัวที่ยังมีการปลูกข้าวไร่อยู่ ซ่ึงส่วนใหญ่จะเป็นครอบครัวท่ีมีท่ีทานาน้อยและ ปลกู ขา้ วแลว้ ไมพ่ อกนิ จงึ ปลูกขา้ วไรเ่ สริม ๕๐

การทาไร่ข้าวโพด : เป็นระบบการผลิตรูปแบบใหม่ ตามกระแสทุน ที่เข้ามาในหมู่บ้าน เริ่มจาก ปี พ.ศ.๒๕๒๗ พ้ืนท่ีท่ีเคยปลูกข้าวไร่ ได้ปรับเปล่ียนมาปลูกข้าวโพดเล้ียงสัตว์แทนทั้งหมดทุกครัวเรือน ส่วนครอบครัวไหนท่ีไม่มีทุนในการเพาะปลูก นายทุนจ่ายเมล็ดพันธุ์ ค่าปุ๋ย และสารเคมี ยาฆ่าหญ้าให้ ก่อน พอเก็บเก่ียวผลผลิตจึงค่อยหักค่าใช้จ่ายคืนให้กับนายทุน ซึ่งชาวบ้านจะเป็นฝ่ายเสียเปรียบให้กับ นายทุนหรือพ่อค้าคนกลาง เพราไม่สามารถต่อรองราคาผลผลิตได้เป็นสาเหตุหนึ่งท่ีทาให้เกิดภาวะ หนี้สินในครัวเรือน ประกอบการการใช้สารเคมีในไร่ข้าวโพดส่งผลให้พันธุกรรมของพืชผักบางชนิดสูญ หายไป การเล้ียงสัตว์ : ชาวบา้ นมีการเลี้ยงสัตว์ด้วยวัตถุประสงค์หลกั ๒ ขอ้ คอื เลยี้ งเพือ่ ไว้บรโิ ภคหรือ ขายและการเลีย้ งเพ่ือประกอบพธิ ีกรรม สตั ว์ทเี่ ลีย้ ง เช่น วัว ควาย หมู ไก่ การหาของปา่ : ป่าเปน็ แหล่งอาหารท่ีสาคัญท่ีสดุ ของชุมชน ทกุ ครัวเรอื น ได้ใช้ประโยชน์จากป่า ท้ังการบริโภคและใช้สอย จะมีการขายบ้างเล็กน้อย เช่น หน่อไม้หก แต่ปัจจุบันไม่มีการขายเนื่องจาก เส้นทางคมนาคมไม่สะดวก ของป่าท่ีใช้เป็นอาหาร เช่น หน่อไม้ เห็ดและสัตว์ป่าบางชนิด การใช้สอย การนาไม้ใช้ก่อสร้างบ้านเรือน แต่จะต้องได้อนุญาตจากคณะกรรมการป่าชุมชนของหมู่บ้านเสียก่อน เพ่ือเปน็ การควบคุมการใชแ้ ละการหาของปา่ อย่างไม่มขี อบเขต สวนผสมผสาน : เป็นการปลูกพืชหลายๆ ชนิดในสวนเดียวกัน เช่น มะม่วง ลาไย ลิ้นจ่ี กาแฟ ต้นกล้าได้รับการสนับสนุนจากโครงการดอยเวียงผาพัฒนาบนพื้นท่ีสูง และมีการนาพันธ์ไม้อ่ืนๆ เข้ามา ปลูกเรื่อยๆ สวนชาและสวนกาแฟ : สวนชาเป็นสวนท่ีมีมาแต่ด้ังเดิม ส่วนกาแฟเริ่มปลูกตามโครงการดอย เวยี งผาฯ เขา้ มาสนบั สนุน ครอบครัวทีท่ าประมาณ ๓ ครอบครัว “หย่อมบ้านผาเยือง” ปัจจุบันบ้ายผาเยือง เป็นหมู่บ้านหนึ่งในหมู่ ๗ บ้านห้วยหินลาด ตาบลบา้ นโปง่ อาเภอเวียงปา่ เป้า จังหวดั เชยี งราย มีนายวะ คาออื เปน็ ผู้นาหมบู่ า้ น (หโี่ ข)่ และผู้นาทาง ศาสนา ได้รับการแต่งต้ังจากทางราชการเม่ือวันท่ี ๑๑ กันยายน ๒๕๔๓ ข้ึนเป็นหมู่บ้านห้วยผาเยือง ขณะนนั้ มี ๖ เลขทบ่ี ้าน ๘ ครอบครวั ประชากรท้ังหมด ๓๔ คน เปน็ ชาย ๒๐ คน เปน็ หญงิ ๑๔ คน คน ในชุมชนมีอาชีพหลักทาการเกษตรได้แก่ ทาไร่ ปลูกพืชหมุนเวียน ปลูกข้าว พืชผักสาหรับบริโภค และ ปลกู ชาเพอ่ื ขาย ทานา ๓ ครอบครัว เลี้ยงววั ทกุ ครอบครัว อาชีพรองทาการเกษตรผสมผสานในไร่ชา หา ของป่าเพ่อื บรโิ ภคและขาย เลย้ี งหมู ไก่ เป็ด เพ่อื บริโภค และใช้ในพิธีกรรม ช่อื หมู่บา้ นปัจจบุ นั เรยี กว่าบา้ นหว้ ยผาเยือง จากอดตี น้นั ไม่ทราบถ่นิ ฐานท่แี น่ชดั วา่ ชาวบา้ นกลุ่ม นี้มาจากท่ีใด แต่สันนิษฐานตามข้อมูลของนายเหว่คา ซึ่งเป็นบรรพบุรุษที่ล่วงลับไปแล้วน้ันเดินทางมา จากอาเภอเวยี งแหง จงั หวัดเชยี งใหม่ ไดม้ กี ารอพยพเข้ามาอยู่กอ่ นสมยั สงครามโลกคร้ังที่ ๒ มีผมู้ าตัง้ ถิ่น ฐานด้วยกนั ท่นี ีท่ ้ังหมดประมาณ ๑๕ ครอบครวั มนี ายพะลีหลวง เป็นผู้นาหมบู่ า้ น (ห่โี ข่) อยไู่ ดป้ ระมาณ ๕-๖ ปี เกิดการแตกแยกย้ายถิ่นฐาน โดยบางส่วนไปอยู่ที่แม่ปูนน้อย สาเหตุเนื่องจากว่าแดลอแมแพวปู แห่งนี้มีพ้ืนท่ีทาการเกษตรทาไร่น้อยไม่เพียงพอ นายพะลีหลวงและลูกน้องทั้งหมด ๕ ครอบครัวจึงย้าย มาอยู่แดลอไม้ตากวางโกล๊ะ ได้ต้ังถ่ินฐานอยู่ท่ีแห่งนี้ได้เพียง ๓ ปี นายพะลีหลวงจึงได้เสียชีวิตด้วย โรคชรา โดยชาวปกาเก่อญอเชื่อว่า ผู้นาหมู่บ้าน (ห่ีโข่) ซึ่งเป็นผู้ก่อต้ังถิ่นฐานดูแลความทุกข์สุขของ ชาวบ้าน ดาเนินวิถีชีวิต วัฒนธรรม ความเชื่อ เม่ือหี่โข่ถึงแก่กรรมที่น่ันจะต้องมีการเคล่ือนย้ายถิ่นหรือ บ้านเรือนออกจากที่เดิมและหลังจากที่นายพะหลีหลวงได้ถึงแก่กรรม ชาวบ้านอยู่ต่อไปก็ไม่มีความสุข มีเสือปา่ มาจับกนิ สัตวเ์ ลีย้ งของชาวบ้านแทบทกุ วัน ๕๑

ลักษณะทั่วไปของหย่อมบ้านผาเมือง ต่อมาชาวบ้านจึงได้ย้ายข้ามไปอยู่ฝ่งั (แดลอทีเปอคี) ในช่วงแรกมี ๕ ครอบครัว ต่อมาชาวบ้าน จากหว้ ยมะแขวน่ แม่ฉางขา้ ว เขา้ มาอาศยั อยดู่ ้วยเพม่ิ อกี ประมาณ ๑๒ ครอบครวั ซง่ึ นายเหว่คา ไดด้ ารง ตาแหน่งผู้นาหมู่บ้าน (หี่โข่) เมื่อนายเหว่คาเสียชีวิต ลูกหลานจึงอพยพย้ายบ้านเรือนข้ึนไปทิศเหนือไป อกี ประมาณ ๑๐๐ เมตร เมอื่ ไดผ้ นู้ าคนใหม่จึงเร่ิมมีการบุกเบิกขยายการทาไรช่ า เรมิ่ คา้ ขายกบั กลุ่มอ่ืนๆ เช่น ชาวจีนฮ่อ ชาวม้ง และเร่ิมค้าขายกับคนพ้ืนเมืองตาบลบ้านโป่ง ตาบลป่างิ้ว ตาบลเวียง เขตอาเภอ เวียงป่าเป้า เช่น ลูกชิด และช่วงประมาณ พ.ศ.๒๕๑๓ ชาวบ้านเร่ิมได้รับบัตรประชาชนและรับการโอน สัญชาติไทย โดยในระยะตอ่ มายงั มกี ารยา้ ยบ้านเรอื นของบางครอบครวั วิถีชีวิตของคนห้วยหินลาด ยังเน้นพ่ึงพาและผูกพันกับธรรมชาติ พื้นที่ป่าจึงมีความสาคัญ สาหรับการดารงชีพของชุมชน ป่าชุมชนตอบสนองความต้องการข้ันพ้ืนฐานของชุมชน ทั้งเป็นแหล่ง อาหาร เป็นแหล่งของยาสมุนไพรรักษาโรค เปน็ แหลง่ เชื้อเพลิงท่ีให้พลังงานและเป็นแหล่งผลติ เน้ือไม้ใน การก่อสร้างซ่อมแซมที่อยู่อาศัย นอกจากน้ันยังเป็นแหลง่ รายไดท้ ่ีสาคัญของชุมชนดว้ ย ดังนั้นการรักษา ป่าจึงทาให้ชีวิตของคนในชุมชนมีความมั่นคงและยั่งยืน ชุมชนห้วยหินลาดเป็นแหล่งผลิตชาช้ันดี ซ่ึงชา ส่วนใหญ่จะเป็นชาที่เกิดและเติบโตข้ึนเองตามธรรมชาติในป่าโดยชุมชนจะกันพื้นท่ีบางส่วนไว้เป็นสวน ชาเพ่ือเก็บใบชาขายเป็นรายได้หลักของชุมชน สวนชาจึงเป็นการใช้ประโยชน์จากป่าในรูปแบบวน เกษตร โดยสามารถเก็บใบชาออกขายได้ตลอดท้ังปี ชาแตล่ ะชนิดมีวธิ ีเก็บไม่เหมือนกนั เช่นชาเขียวที่จะ เกบ็ เฉพาะใบอ่อนสามใบจากยอด สาหรับชาขาวจะเกบ็ เพียงใบเดียว สว่ นที่เหลือจะขายเป็นชาจนี นอกจากการใช้ประโยชน์จากป่าในรูปแบบของสวนวนเกษตรท่ีเน้นรักษาสมดุลของระบบนิเวศ แล้ว การใช้ประโยชน์จากป่าในด้านอื่นๆ ก็มีการใช้อย่างระมัดระวัง อาทิ การใช้องค์ความรู้จาก การศึกษาและสังเกตวงจรชวี ิตและการเจรญิ เติบโตของหนอ่ ไผ่หก มากาหนดกติกาในการเก็บหน่อไผ่หก ให้เกิดความยง่ั ยืน โดยรายได้จากป่าส่วนหน่ึงจะถกู หักคนื เขา้ เป็นกองทนุ เพ่ือจดั การดูแลป่าซ่ึงถือเป็นอีก หน่ึงขอ้ ตกลงรว่ มของชุมชนและในชว่ งทม่ี ีไฟป่าระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ถงึ เดือนเมษายน ชาวบ้านจะทา แนวกนั ไฟและมีการจัดเวรยามออกสารวจเฝา้ ระวังและชว่ ยกันดับไฟป่าหากมีไฟป่าลุกลามเข้ามาในเขต ป่าชุมชน นอกจากนี้ได้มีการประสานความร่วมมือกับชุมชนใกล้เคียงเพื่อสร้างเครือข่ายระดับลุ่มน้าใน การคมุ้ ครองป่า ชาวบา้ นถอื วา่ พ้นื ท่บี ริเวณป่าต้นน้าเปน็ สถานท่ีศักดสิ์ ิทธิ์ตอ้ งปกปอ้ งไว้ไม่ยอมให้ใครเข้า ไปใช้ประโยชน์ เพราะเช่ือวา่ เป็นที่อยขู่ องผปี ่า สง่ิ ศักดิ์สทิ ธ์ิ การอนุรักษป์ ่าจงึ เป็นคุณคา่ อย่างหน่ึง ท่ี ชมุ ชนยดึ ถอื และสืบทอดกันมาจนถงึ ปัจจบุ ัน ๕๒

๔.๑.๒ ชมุ ชนบ้ำนกลำง ตั้งอยู่หมู่ ๕ ตาบลบ้านดง อาเภอแม่เมาะ จังหวัดลาปาง เป็นชุมชนกะเหร่ียง (โปว์) คนส่วน ใหญน่ บั ถอื ศาสนาครสิ ต์ การประกอบอาชีพส่วนใหญ่ คอื ทาไรห่ มนุ เวียน ทานาตามที่ราบลุ่มริมหุบเขา ทาสวนมะแขว่น เลี้ยงสัตว์ วัว ควาย หมู ไก่ เป็ด หาของป่าเพื่อนามาบริโภคและขายเป็นรายได้หลัก เช่น หนอ่ ไม้ (ไผ่หก) นา้ ผงึ้ เปน็ ต้น อาณาเขตติดตอ่ กบั ชุมชนใกล้เคยี ง ทางทิศเหนือ ติดหมบู่ า้ น แมส่ า้ น อาเภอแมเ่ มาะ จงั หวัดลาปาง ทางทศิ ใต้ ตดิ หมู่บ้านจาปยุ อาเภอแมเ่ มาะ จังหวัดลาปาง ทิศตะวนั ตก ติดหมบู่ า้ นป่จู ้อย อาเภอเมอื ง จงั หวัดลาปาง ทศิ ตะวันออก ตดิ กับหมบู่ ้านปงปางหละ อาเภองาว จงั หวดั ลาปาง ลักษณะทางกายภาพสภาพทั่วไปเป็นภูเขาสูงสลับซับซ้อน สภาพป่าเป็นป่าเบญจพรรณ สลับ กับป่าเต็งรังและมีพ้ืนที่ราบตามหุบเขาและเชิงเขา เพียงร้อยละ ๕ ของพื้นที่ท้ังหมด ชุมชนบ้านกลาง ตั้งอยู่สูงกว่าระดับน้าทะเลปานกลาง ประมาณ ๕๐๐–๖๐๐ เมตร ลักษณะที่ตั้งของหมู่บ้านอยู่กลางหุบ เขาหินปูน ล้อมรอบด้วยภูเขา ๗ ลูก ซ่ึงเป็นต้นน้าของลาห้วยเล็กๆ จานวน ๑๗ สาย ไหลลงสู่ห้วย แม่มายและห้วยแม่ตาและไหลลงสู่แม่น้ายม ปัจจุบันอยู่เขตอุทยานแห่งชาติถ้าผาไทและเขตป่าสงวน แหง่ ชาติ ด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ชุมชนเริ่มต้นการแบ่งเขตป่าอย่างชัดเจนเร่ิมเมื่อ ปี พ.ศ.๒๕๓๘ แตก่ ่อนหนา้ น้ันชมุ ชนได้ใช้ประโยชนจ์ ากป่าเหมือนปัจจุบนั แต่แบบแผนการดูแลรักษาป่า อยา่ งไม่ชัดเจนและไม่เป็นระบบหลังจากทชี่ ุมชนได้รบั ผลกระทบจากนโยบายของรัฐบาลในเรื่องของการ จัดการทรัพยากรและต้องการไล่คนออกจากป่าและขณะเดียวกันชุมชนถูกอุทยานประกาศทับพ้ืนจึง ก่อให้เกิดการต่ืนตัวและนาไปสู่การรวมตัวกันมีการแต่งตั้งคณะกรรมการป่าชุมชนบ้านกลางข้ึน เมื่อ พ.ศ.๒๕๓๘ เพ่ือเป็นคณะทางานในการดูแลจัดการป่าของหมู่บ้านพร้อมกับมีวางแผนกิจกรรมในการ ดแู ลป่า ทางชมุ ชนเหน็ ความจาเป็นในการแบ่งประเภทของป่าตามลักษณะการใช้ประโยชนป์ ่าเนื่องจาก ต้องการรักษาสมดุลของป่าและต้องการให้หน่วยงานหรือบุคคลภายนอกได้เห็นถึงกระบวนการในการ ดูแลจัดการป่าของชมุ ชน เกณฑ์ในการใช้แบ่งการใช้ประโยชน์จากป่าของชาวบ้าน แบ่งตามความคุ้นเคย รู้จักห้วยรู้จัก ดอย และก็ลักษณะของป่า การบอกกล่าวแก่คนภายนอกนั้นให้สังเกตลักษณะ สันห้วย และดอยสาคัญ เป็นหลัก ชุมชนจะรู้ว่าเขตป่าตรงไหนใช้ประโยชน์ด้านไหนและป่าท่ีใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ เช่น จะอนุรักษ์ตรงไหน ป่าหากินตรงไหนและใชส้ อยตรงไหน การแบ่งขอบเขตของป่าเป็นการควบคุมการใช้ ประโยชน์จากปา่ อย่างส้นิ เปลืองและทาใหก้ ารดูแลจัดการปา่ ของชมุ ชนง่ายข้นึ ชุมชนแบง่ ป่าออกเป็น ๔ ประเภท โดยให้ความหมายตามลักษณะการตามใช้ประโยชน์และการ ดูแลรักษา ดังนี้ ๑) ป่าชุมชนอนุรกั ษ์ เป็นป่าพ้ืนทก่ี วา้ งท่สี ุด หา้ มตัดไมล้ ่าสตั ว์ทุกชนิด ยกเวน้ หาสมุนไพร ต่าง ๆ และสามารถเก็บเอาหน่อไม้ได้ เพราะการเอาหน่อไม้สามารถทาให้แตกหน่อมากขึ้น เช่น ห้วยมะหลอด เป็นเขตท่ีชาวบ้านได้เข้าไปเอาหน่อไม้หกเป็นจานวนมาก ถือว่าเป็นแหล่งใหญ่ในการเอาหน่อไม้หก ถึงแม้จะมีทากเยอะ เพราะว่าชื้นมาก ช่วงที่มีการเข้าไปเอาหน่อไม้ ช่วงเดือนมิถุนายนถึงกันยายน ของทุกปี การตัดหน่อไม้เป็นข้อยกเว้นและทุกคร้ังท่ีคนอ่ืนถามหรือเจ้าหน้าที่ถามชุมชนต้องตอบและ ๕๓

อธิบายวิธีการเก็บหน่อไม้ไม่ให้กระทบต่อระบบนิเวศได้ ส่วนในกรณีการตัดไม้ในเขตหวงห้าม ต้ังแต่มี การตั้งกฎระเบยี บข้นึ ยังไมเ่ คยมีผู้ฝา่ ฝนื หรอื ละเมดิ กฎของชมุ ชน ๒) ป่าชุมชนหากิน เป็นป่าที่สามารถหาของป่าทุกชนิด ถึงแม้จะสามารถหาได้ทุกชนิดแต่การ เก็บของปา่ นน้ั จะตอ้ งอยู่ในขอบเขตท่ีชมุ ชนยอมรบั และไม่ทาลายระบบนิเวศ ๓) ป่าชุมชนใช้สอย สามารถใช้ประโยชน์ได้ตามความจาเป็นเช่น เอาฟืน เอาไม้สร้างบ้าน แต่ คนเอาได้เท่าที่จาเป็น การเอาไม้นั้นจะไม่เอาห้วยใดห้วย หน่ึง แต่จะเอาห้วยนั้นหน่ึงต้น ห้วยน้ีอีกหนึ่ง หรือ กระจายเพ่ือที่ในการตัดต้นไม้ เขตป่าใช้สอยของชุมชนน้ันกวา้ งมาก แต่ท่ีชาวบ้านใช้ประโยชนจ์ ริง นน้ั เปน็ เขตบริเวณท่ใี กล้ ๆชมุ ชน ไร่ นา หรือวา่ หาของป่าท่ีออกบรเิ วณ เฉพาะดอย เชน่ ผักหวาน หรือที่ ใกล้ ๆถนน ๔) หมู่บ้านสัตว์ของป่าชุมชน เป็นพ้ืนท่ีท่ีแบ่งเพื่ออนุรักษ์พันธ์ุสัตว์ป่าให้มีการแพร่กระจายมาก ขึ้น พื้นที่น้ีจะมีการใช้ประโยชน์ เช่น การหาเห็ด หรือดอกดิน เท่าน้ัน และพื้นน้ีจะมีการทาแนวกันไฟ ตลอดทัง้ ดอยมกี ารจัดเวรยามเดนิ ตระเวนตรวจไฟและบคุ คลภายนอกท่เี ข้ามาล่าสัตว์ จะเห็นได้ว่าป่าอนุรักษ์ท้ังส่ีประเภทแยกกันแทบไม่ออกเพราะมันผสมกันอยู่ทั้ งสามประเภท ไม่ได้แยกขาดกัน ป่าหากินบางส่วนลักษณะเหมือนป่าอนุรักษ์ หรือป่าใช้สอยท่ีอยู่ไกลๆ เหมือนป่า อนุรักษ์ ซ่ึงจะซ้อน กันอยู่ ส่วนไร่เหล่าถือว่าอยู่ในเขตของบริเวณเขตป่าใช้สอย ซึ่งทั้งหมดนี้อยู่ในเขต รังวัด นอกเขตรังวัดชาวบ้านไม่สามารถเข้าไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้ แต่ยกเว้นการหาหน่อไม้ การตัดไม้บริเวณ นจี้ ะไมม่ เี พราะอยู่ไกลจากชุมชนมาก กจิ กรรมสาคญั ดา้ นการดูแลทรพั ยากรธรรมชาติ ไดแ้ ก่ ๑. การทาแนวกันไฟ เป็นกิจกรรมท่ีมีการทาประจาทุกปี คนในชุมชน พ่อบ้าน แม่บ้านและ เยาวชน จะร่วมกันทาตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์–เมษายน อาทิตย์ละ ๑ คร้ัง ทุกครอบครัวต้องไปร่วมทาถ้า ไปไม่ได้ในอาทิตย์น้ี จะต้องทาในอาทิตย์หน้า บริเวณที่ทาแนวกันไฟ คือพ้ืนที่ป่าอนุรักษ์ ท้ัง ๔ ประเภท และชุมชนได้มีกฎระเบียบให้ทุกครอบครัวที่ทาไร่จะต้องทาแนวกันไฟก่อนเผาทุกครั้ง นอกจากการทา แนวกนั ไฟ ทกุ คร้ังที่เกิดไฟป่าทกุ คนจะตอ้ งในชมุ ชนจะต้องชว่ ยกันดบั ไฟปา่ ด้วย ๒. การลาดตระเวนตรวจป่า เป็นกิจกรรมที่ช่วงเดียวกับการทาแนวกันไฟ คณะกรรมการจะจัด เวรยามหมุนเวียนวันละ ๓ คน ตลอดระยะเวลา ๓ เดือน หน้าที่ของเวรยามคือเดินตรวจไฟป่าและคนที่ เข้ามาล่าสัตว์ หากพบบุคคลภายนอกท่ีเข้ามาล่าสัตว์ป่าในเขตป่าอนุรักษ์ หรือหมู่บ้านสัตว์ป่า คร้ังแรก จะตักเตือน คร้งั ที่สองปรับ คร้ังที่สามคาเนนิ คดีตามกฎหมาย ๓. การทาปา้ ยรณรงค์ ข้อความทีท่ าเปน็ ปา้ ยปา่ อนุรักษป์ ระเภทตา่ ง ๆ และคาขวัญหรอื ประโยค ท่ีเชิญชวนให้ร่วมอนุรักษ์ทรัพยากร เพ่ือติดตามเขตป่าต่างๆ เพื่อให้บุคคลท่ีพบเห็นรู้ว่าเป็นแนวเขตป่า ของบ้านกลาง ๔. จัดทาเขตอนุรักษ์พันธุ์ปลา มีวัตถุประสงค์เพื่ออนุรักษ์พันธุ์ปลาพ้ืนบ้านของชุมชน ไม่ให้สูญ พันธ์ุ ระยะเวลาในการอนุรกั ษ์แล้วแต่ชมุ ชนจะตกลงกัน หลังจากที่มีการอนุรักษ์พันธเ์ุ พ่ิมข้ึน นอกจากมี การกาหนดพ้ืนที่ในการอนุรักษ์แล้ว พ้ืนอ่ืนท่ีสามรถหาปลาได้ เคร่ืองมือที่ใช้ในการจับปลาต้องเป็น เครื่องมือที่ไม่ทาลายระบบนิเวศในน้า เช่น สวิง ไซฯ ห้ามใช้ไฟฟ้าซ๊อต หากฝ่าฝืนจะมีการตักเตือนหรือ รับโทษตามทชี่ มุ ชนกาหนด ๕๔

ทั้งน้ีการจัดการป่าโดยชุมชนเป็นการพ่ึงพาเก้ือกูลกันท่ีมีความสัมพันธ์และเชื่อมโยงต่อกัน ระหว่าง ป่า คนและแผนปฏิบัติของชุมชน อันถอื เปน็ การยกระดับการจดั การของชมุ ชนได้อย่าง มี ประสิทธิภาพโดยยังคงไว้ซึ่งจารีตดั้งเดิมของชุมชน ตลอดจนระบบเศรษฐกิจและแผนการผลิตที่ สอดคลอ้ งกับการจดั การป่า ซึง่ ความสามารถจากการจัดการป่านีจ้ ะเห็นได้จากความอุดมสมบูรณ์ของป่า ความหลากหลายของทรัพยากรธรรมชาตแิ ละความมน่ั คงทางอาหารของชุมชน แนวทางการจดั การทด่ี ินของชมุ ชนเพอื่ การแก้ไขปญั หา ไดแ้ ก่ ประสานงานกับชุมชนใกล้เคียงระดบั ตาบลเพื่อทาความเขา้ ใจเร่ืองแนวเขตการจัดการทดี่ ินและ ป่าชมุ ชนให้ชัดเจน รวมถงึ การจดั ต้ังเครอื ข่ายระดบั ตาบลรว่ มกับชุมชนอ่นื ๆ จัดทาเคร่ืองมือ กลไก การบริหารจัดการที่ดินโดยชุมชนท้ังระบบ เช่น แต่งตั้งคณะกรรมการ ที่ดินโดยชุมชน มีวาระ ๔ ปี ผลักดันโฉนดชุมชนเพ่ือใช้เป็นเอกสาร หลักฐานแสดงกรรมสิทธิ์การ ถือครองท่ีดินของชุมชนและจัดต้ังธนาคารท่ีดินชุมชนเพื่อเป็นกลไกในการป้องกันปัญหาท่ีดินหลุดมือ ออกนอกชุมชน พฒั นาปรับปรงุ กฎระเบยี บการบริหารจดั การทดี่ นิ ของชมุ ชน พฒั นา ยกระดับการใชเ้ ครอื่ งมอื เชน่ ขอ้ มูลรายครัวเรอื น ขอ้ มูลแผนที่ ๑ : ๔,๐๐๐ กฎระเบียบ การจดั การท่ีดนิ และทรัพยากร ฯลฯ และจัดเวทปี ระชาคมหมูบ่ ้านเพอื่ รบั รองสทิ ธิในทีด่ นิ ๕๕

แผนทแี่ สดงการจาแนกประเภทการใชท้ ่ดี นิ บ้านกลาง๒๑ ๒๑ เอื้อเฟ้อื ข้อมลู จากมูลนธิ พิ ัฒนาภาคเหนือ ๕๖

๔.๑.๓ บ้ำนแมอ่ มกิ ต้ังอยู่หมู่ท่ี ๔ ตาบลแม่วะหลวง อาเภอท่าสองยาง จังหวัดตาก ท่ีต้ังหมู่บ้านอยู่ห่างจากตัว จังหวัดตากประมาณ ๓๒๐ กโิ ลเมตร การเดินทางเขา้ หม่บู า้ นมี ๒ เสน้ ทาง คือ เสน้ ทางทห่ี นง่ึ ผา่ นอาเภอ มะสะเรียง อาเภอสบเมย จังหวัดแม่ฮ่องสอน เข้าสู่ตาบลแม่วะหลวง อาเภอท่าสองยาง ตามทางหลวง หมายเลข ๑๐๕ ระยะทางประมาณ ๔๖ กโิ ลเมตรถงึ หมบู่ ้าน เสน้ ทางท่สี องผา่ นอาเภอแมส่ อด อาเภอท่า สองยาง จงั หวัดตาก เขา้ สหู่ มบู่ ้านระยะทางประมาณ ๒๔๐ กโิ ลเมตร อาณาเขตติดตอ่ ทศิ เหนอื ติดตอ่ กบั บา้ นแมล่ าคี ทิศใต้ ตดิ ตอ่ กบั บ้านแม่ตะปู ทศิ ตะวันออก ติดต่อกับแม่นา้ เงา และบา้ นแม่หลุย ทิศตะวนั ตก ตดิ ต่อกับบ้านปางทอง ลักษณะท่ีตั้งชุมชนอยู่ในเขตภูเขาลอบรอบ ประกอบด้วยดอยสาคัญ ๑๐ ดอย คือ ดอยพาท่อ แม่ลู่ ดอยเกล่อเดโจ ดอยโทโจ ดอยเบอเก่อชอลู่ ดอยพอกอแมะโคล๊ะลู่ ดอยแม่เป่งลู่ ดอยซูลู่ ดอยเกอะเจอพะทอ ดอยพะกอแมคี และดอยพอซอเล เป็นต้นน้าของลาห้วยหลักท่ีหล่อเล้ียงชุมชน จานวน ๙ สาย ได้แก่ หว้ ยโอะ๊ พึโกละ๊ หว้ ยเครบโึ ค๊ะโกล๊ะ ห้วยละคลซี ูโกล๊ะ ห้วยหนอ่ ลอยโกละ๊ ห้วย แม่อมกิ หว้ ยทีเคลอโกล๊ะ หว้ ยแบกะแนะโกล๊ะ ห้วยแมค่ าและหว้ ยแม่ละออโกละ๊ ลกั ษณะทว่ั ไปบา้ นแมอ่ มกิ ในอดีตอาณาบริเวณของบ้านแม่อมกิเดิมเป็นท่ีอยู่อาศัยของชนเผ่าล๊ัวะมาก่อน (จะเห็นได้จาก ซากโบราณวัตถุและเจดีย์ที่ยังหลงเหลืออยู่) ต่อมาชาวล๊ัวะได้อพยพไปตั้งรกรากท่ีอ่ืน บรรพบุรุษของ ชาวบ้านแม่อมกิจึงได้ย้ายเข้ามาอยู่อาศัยแทน และได้อพยพย้ายถ่ินฐานไปมาในอาณาบริเวณนี้หลาย จนกระท้ังถึงช่วงอายุของผู้เฒ่าผู้แกใ่ นหมู่บา้ นท่ีจาความไดต้ ่อเลา่ ให้ฟงั ว่า ชว่ งแรกประมาณ พ.ศ.๒๔๖๖ พวกเขาไดต้ ัง้ บา้ นเรือนอยู่ที่แม่เปคี ดว้ ยกัน ๗ ครอบครวั ต่อมาเกดิ โรคระบาดคนในหมูบ่ า้ นลม้ ตายจึงได้ ย้ายมาอยู่ท่ีปิอิกาได้ ๒ ปีย้ายต่อไปอยู่น่อโค๊ะเบะ มีประชากรเพ่ิมข้ึนเป็น ๑๖ หลังคาเรือน อยู่ได้ ๓ ปี เ กิด ส ง คร า ม โ ล กครั้ง ที่ ส อง บริ เ วณที่ ต้ั งของ บ้ า นเ ป็ นเ ส้ นท า ง ผ่า นของ ท ห า รญ่ี ปุ่ นเ พื่ อเ ดิ น เท้ าเข้า ประเทศพม่า ชาวบา้ นกลัวจะถกู ทหารญี่ปนุ่ เกณฑ์ไปเปน็ แรงงานและยดึ ข้าวปลาอาหารและสัตวเ์ ล้ียงไป เป็นเสบียงจึงได้อพยพอีกครั้ง โดยส่วนหนึ่งย้ายไปสมทบกับชาวบ้านท่ีเยปู่ และยะโซะทะ อีกส่วนย้าย ๕๗

กลบั ไปแม่เปคี ภายหลังสงครามโลกเร่ิมสงบลง ประมาณ พ.ศ.๒๔๘๗ ชาวบ้านจึงย้ายกลับมารวมกันที่ เต่อพิหลู่ซ่ึงเป็นช่ือเรียกตามสันเขา มีสมาชิกอยู่ด้วยกัน ๒๐ หลังคาเรือนมีนายกวาแฮเป็นผู้นาชุมชน ชาวบ้านอาศัยทากินอยู่ได้ประมาณ ๕ ปี ก็ได้อพยพเคลื่อนย้ายถ่ินฐานอีกเป็นจานวน ๔ คร้ัง คือ ย้าย กลับไปท่ีน่อโค๊ะเบะ (เรียกตามช่ือหญ้าชนิดหน่ึงในไร่) เก่อเนเป่อ (เรียกตามชื่อของต้นผึ้ง) เก่อฮอปู่ (เรียกตามช่ือของต้นไม้ชนิดหน่ึง) และทีคอโคล๊ะ (มีความหมายว่าน้าเข้ารู) การตั้งถิ่นฐานในแต่ละแห่ง จะอาศัยอยู่ราว ๓-๕ ปี แล้วโยกย้ายตามพื้นที่ทากินไป จนกระท้ังประมาณ พ.ศ.๒๕๐๖ จึงได้ย้ายถิ่น ฐานมาอยู่ แม่อมกิ มีสมาชิกด้วยกัน ๓๐ หลังคาเรือน ช่วงเวลา ๒-๓ ปีหลัง จากนั้นทางการได้เข้ามา ออกสาเนาทะเบียนบ้านและบัตรประชาชนให้ นายกวาแฮซึ่งยังคงเป็นผู้นาชมุ ชนในขณะนั้นจึงเป็นผ้นู า ทางการคนแรกของหมู่บ้าน ปัจจุบันยังไม่สามรถระบุได้ว่าบรรพบุรุษของชาวบ้านแม่อมกิอพยพมาจากท่ีไหนและเมื่อไหร่ สามารถบง่ บอกได้เพยี งตงั้ แต่ช่วงระยะเวลาท่มี ีคนเฒ่าคนแก่ทย่ี งั มชี วี ติ อยู่และจาความไดเ้ ท่านั้นและการ ตั้งถ่ินฐานอยู่อาศัยของชาวบ้านกลุ่มน้ี ได้มีการโยกย้ายไปมาหลายครั้ง โดยมีสาเหตุหลักคือย้ายไปตาม พ้ืนท่ีการเพาะปลูก การหาฟืน ของป่า แหล่งน้าและประเพณีความเช่ือ ซึ่งแต่ละที่จะอยู่ในบริเวณรัศมี ประมาณ ๓ กิโลเมตรจากบ้านแม่อมกิปัจจุบัน สมัยก่อน พ.ศ.๒๕๐๐ ชาวบ้านจะอาศัยอยู่กันเป็น ครอบครัวใหญ่ ดังนั้นในแต่ละช่วงจะไม่เห็นความเปลี่ยนเกี่ยวกับจานวนบ้านเรือน เชื่อว่าในความเป็น จริงแล้วบรรพบรุ ุษของชาวบา้ นแม่อมกไิ ด้เข้ามาต้ังถ่ินฐานอยู่อาศัยก่อนอยา่ งยาวนาน ประวัติการโยกย้ายตั้งถิ่นฐานท่ีสาคัญเร่ิมจากบ้านแม่เปคี (ไม่แน่ชัดว่าเร่ิมก่อตั้งเมื่อใด) แต่มี ชาวบ้านอยู่อาศัยต่อเนื่องกันมาก่อนหน้าจนถึงประมาณปี พ.ศ.๒๔๖๖ จึงได้ย้ายไปต้ังหมู่บ้านใหม่ บุคคลท่ียังจาความได้และให้ข้อมูล คือนางปิ๊นิ ปัจจุบัน อายุ ๙๖ ปี เป็นคนที่เกิดที่หมู่บ้านนี้จนกระท่ัง อายุประมาณ ๑๐ ปีก่อนย้ายไปหมู่บ้านอื่น ขณะท่ีอาศัยอยู่หมู่บ้านน้ีผู้นาชุมชน (เก๊าผี) ช่ือ นายโตเชอ- มีชาวบ้านจานวน ๒๓ หลังคาเรือน ต่อมาย้ายจากบ้านแม่เปคีมาต้ังหมู่บ้านใหม่ท่ีบ้านแม่อมกิทั้งหมด เม่ือประมาณปี พ.ศ.๒๔๖๖–๒๔๖๘ โดยผู้นาชุมชนยังคงเป็นนายโตเชอ ในการย้ายมาคร้ังน้ีชาวบ้าน อาศัยอยู่ได้ราว ๒ ปีก็ย้ายไปยังบ้านปีฮิกละและย้ายไปอยู่ท่ีบ้านเหนาะโค๊ะเปะท้ังหมด เมื่อประมาณปี พ.ศ.๒๔๗๒-๒๔๗๗ มจี านวนชาวบ้านทอี่ ยู่อาศัยอยู่จานวน ๒๓ หลังคาเรอื น ต่อมาชาวบ้านประมาณ ๒๐ หลังคาเรือน ย้ายจากบ้านเหนาะโค๊ะเปะไปตั้งหมู่บ้านใหม่อยู่ที่ บ้านหย่าโซะโกละ เม่ือประมาณ พ.ศ.๒๔๗๗–๒๔๘๕ และท้ังหมดได้ย้ายไปอยู่รวมกันอีกครั้งท่ีบ้าน เคลอเยปู เมอ่ื ประมาณปี พ.ศ.๒๔๘๕–๒๔๘๗ เมื่ออยู่ได้ประมาณ ๒ ปี ในชว่ งทเ่ี กิดสงครามโลกคร้ังท่ี ๒ และทหารญ่ีปุ่นได้เดินทัพผ่านมาตามเส้นทางเข้าบ้านแม่อมกิ ทหารญี่ปุ่นได้เข้ามาตั้งค่ายพักชั่วคราว และเดินทางผ่านเข้าไปยังประเทศพม่าและอินเดีย ชาวบ้านจานวนมากจึงได้หนีกระจายตัวไปยังตาม บรเิ วณใกลเ้ คยี ง และมีบางสว่ นกลบั ไปอยูท่ ่หี มบู่ ้านเดมิ หลังจากที่ทหารญี่ปุ่นเข้ามารบกวนจนทาให้ชาวบ้านแตกกระกระจาย ส่วนหน่ึงได้หนีไปอยู่ที่ บา้ นแม่อมกิ และหลังจากท่ีสถานการณ์สงบแล้ว ชาวบ้านตา่ งกท็ ยอยไปอยู่รวมกนั ทบี่ ้านแม่อมกิ ใชเ้ วลา ประมาณ ๒ ปีชาวบ้านทั้งหมดก็มารวมตัวกันหมดอีกครั้ง เม่ือประมาณ พ.ศ. ๒๔๘๗-๒๔๙๑ ขณะน้ันมี ผนู้ าชุมชน คือ นายวาแฮ ต่อมาได้โยกยา้ ยจากบา้ นม่อมกิมาทบี่ ้านเหนาะโค๊ะเปะอกี ครั้ง เมือ่ ประมาณปี พ.ศ.๒๔๙๒ ซ่งึ อาศยั อยไู่ ด้เพยี งปเี ดยี ว ก็ได้ย้ายมาทบี่ า้ นกะแนเปอ เม่ือประมาณ พ.ศ.๒๔๙๒–๒๔๙๕ ๕๘

ในช่วงยุคสุดท้ายของการโยกย้ายนั้นได้ย้ายจากบ้านทีนึโค๊ะมาอยู่ที่บ้านแม่อมกิอีกคร้ัง เม่ือ พ.ศ.๒๕๐๖ ขณะน้ันชาวบ้านมี ๓๐ หลังคาเรือนและประชากรจานวนประมาณ ๘๕ คน ช่วงแรกท่ี เข้ามาผู้นายังคงเป็นนายวาแฮ (นายวาแฮเปน็ ผ้นู าชมุ ชนได้ประมาณ ๕๐ ปี และเป็นผู้นาคนแรกท่ีได้รับ การแต่งต้ังอย่างเป็นทางการจากทางราชการและได้รับเงินเดือน เดือนละ ๗๐ บาท) การย้ายที่ตั้ง หมู่บ้านคร้ังนี้เป็นคร้ังสุดท้าย หลังจากน้ันได้อยู่ที่หมู่บ้านน้ีต่อเน่ืองกันมาโดยตลอดต้ังแต่ พ.ศ.๒๕๐๖ จนถึงปัจจุบัน ๕๙

แผนที่แสดงการจาแนกประเภทการใชท้ ีด่ ินบา้ นแมอ่ มก๒ิ ๒ ๒๒ เอือ้ เฟ้อื ข้อมลู จากมูลนธิ พิ ัฒนาภาคเหนือ ๖๐

๔.๑.๔ บ้ำนข้มี ูกน้อย ต้งั อยู่หมทู่ ี่ ๑๓ ตาบลบ้านทับ อาเภอแมแ่ จ่ม จังหวัดเชยี งใหม่ ภมู ิประเทศสว่ นใหญาเปน็ ที่ราบ เชงิ เขาสลบั พนื้ ที่เนนิ เขา มถี นนลกู รงั ตดั ผ่านเลาะเลยี บไปตามไหล่เขา มีพ้ืนทีบ่ างส่วนเป็นที่ต้ังบ้านเรือน เป็นชุมชนท่ีอยู่ตอนกลางของพ้ืนที่ตาบ ลบ้านทับและเป็นอีกหนึ่งหมู่บ้านที่มีประวัติศาสตร์ชุมชน มา ยาวนาน เคยเปน็ หย่อมบา้ นของหมู่บ้านสองธาร กอ่ นจะแยกต้ังเป็นหม่บู ้านทางการ วิถีชวี ติ หลักในอดีต คือ การไร่หมุนเวียนที่มีรอบพักฟื้นระหว่าง ๗-๑๐ ปี ในสมัยน้ันถือว่าผืนป่ามีความอุดมสมบูรณ์มาก ประวัติศาสตร์สาคัญของพ้ืนที่ในช่วงต้นทศวรรษที่ ๒๔๙๐ คือ การผลิตฝิ่นท่ีเร่ิมแพร่หลายหลงั สงคราม มหาเอเชียบูรพา ซ่ึงส่งผลต่อการเปล่ียนแปลงระบบเศรษฐกิจในชุมชนที่เริ่มสัมพันธ์กับนโยบายรัฐและ พ่อค้าฝ่ิน นายทุนบริษัททาไม้ มากขึ้น ต่อมาเมื่อรัฐประกาศให้ฝ่ินเป็นพืชเสพติดและผิดกฎหมาย ชาวบ้านจึงเลิกปลูก ต่อมารัฐเริ่มมีการควบคุมการใช้ประโยชน์ของชุมชนจากทรัพยากรธรรมชาติใน พนื้ ทล่ี ุ่มนา้ แมแ่ จ่มมากข้นึ ด้วยกฎหมายดา้ นทรัพยากรธรรมชาติหลายระดบั แต่เดิมนั้นชาวบ้านแม่ข้ีมูกน้อยมีการทาไร่หมุนเวียนทุกครอบครัวและมีการแบ่งพ้ืนที่เป็นไร่ ส่วนรวมของชุมชนหรือ “ไร่หน้าหมู่” มีวิถีการทามาหากินไม่ต่างกับชุมชนกะเหรี่ยงท่ัวไปในภาคเหนือ จุดเปล่ียนสาคัญเกิดขึ้นในช่วงกลางทศวรรษที่ ๒๕๒๐ ถึงกลางทศวรรษที่ ๒๕๓๐ พื้นท่ีลุ่มน้าแม่แจ่มได้ กลายเป็นพื้นที่เป้าหมายของการพัฒนาโครงการพัฒนาของรัฐและองค์กรระหว่างประเทศ การส่งเสริม พืชเชิงเด่ียว อาทิ ถั่ว หอมแดง จนถึงยุคของข้าวโพดเล้ียงสัตว์ ได้สร้างการเปลี่ยนแปลงมหาศาลท่ีไม่ เพียงแต่ภูมิทัศน์ทางกายภาพ แต่รวมถึงวิธีคิดท่ีปรับสู่การผลิตพืชเชิงเด่ียวเพ่ือขายในระบบตลาด สมัยใหม่มากขึ้น เร่ิมเกิดการเปล่ียนแปลงในด้านการทามาหากิน การใช้ปุ๋ย สารเคมี และการ เปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศน์โดยรวมของอาเภอแม่แจ่มไม่เว้นแม้แต่หมู่บ้านแม่ข้ีมูกน้อย๒๓ การ ขยายตัวของพืชเศรษฐกิจเชิงเด่ียวส่งผลให้พ้ืนที่ไร่หมุนเวียนบ้านแม่ข้ีมูกน้อยทยอยลดหายไป จน ปจั จุบันพืน้ ท่ไี รห่ มนุ เวยี นแทบท้ังหมดได้กลายเปลี่ยนเป็นไร่ข้าวโพด ปัจจุบันบ้านแม่ข้ีมูกน้อย กาลังอยู่ในระหว่างการเปลี่ยนแปลงคร้ังสาคัญท่ีอีกครั้ง ภายใต้การ เข้าร่วมกับขบวนการเคลื่อนไหวเพื่อสร้างพื้นท่ีรูปธรรม (เชิงต้นแบบ) ในการปัญหาด้านที่ดินและ ทรพั ยากรธรรมชาติ โดยเฉพาะในกรณีปัญหาการสญู เสียพนื้ ทีป่ ่าจากการปลูกพืชเศรษฐกจิ เชิงเดี่ยวที่ได้ กลายเปน็ ประเดน็ ระดับชาติ ในนามของ “แม่แจม่ โมเดล” โดยมีกรอบแนวคดิ ทีส่ าคญั คอื ธรรมาภิบาล สงิ่ แวดล้อม (Environmental Governance) ซ่ึงจะต้องอาศัยกลไกที่สาคญั ๓ ระดับ คอื ๑) ระดับปฏิบัติการ ที่ต้องเชื่อมโยงความร่วมมือจากภาคีในหลายฝ่ายทั้งองค์กรชุมชน องค์กร ปกครองส่วนท้องถ่ิน กานัน ผู้ใหญ่บ้าน หน่วยงานราชการท่ีเก่ียวข้อง องค์กรพัฒนาเอกชน ภาคประชา สังคม ภาควิชาการ รวมถึงภาคธุรกิจ ในการร่วมคิด วางแผน ออกแบบ ให้เกิดแนวทางในการแก้ไข ปัญหาการจัดการทรัพยากรในระดับพื้นที่ โดยเฉพาะอย่างย่ิงภายใต้สถานการณ์การขยายตัวของพืช เชิงเดี่ยว รวมถึงระบบสิทธิในการใช้ประโยชนจ์ ากที่ดิน “แม่แจ่มโมเดล” ได้เชื่อมโยงบนฐานพัฒนาการ ที่ต่อเน่ืองของชุมชนในการจัดการทรัพยากร ที่อยู่บนพื้นฐานของการเคารพและการยอมรับถึงการมี ตัวตนของสิทธิชุมชน ท่ีดารงอยู่บนหลักการของเจตจานงร่วมของประชาชน รวมถึงองค์กร หน่วยงาน ตา่ งๆ ในพ้นื ท่ี ๒๓ โปรดดูเพม่ิ เตมิ ใน อานภุ าพ นุ่นสง. ความเปล่ียนแปลงในชนบทภาคเหนือ: ศึกษาการจัดการสมบตั ชิ มุ ชนของชมุ ชนและหยอ่ มบ้าน อาเภอแมแ่ จม่ จงั หวัดเชียงใหม่ พ.ศ.๒๕๐๐ – ๒๕๕๐” วทิ ยานพนธศ์ ิลปศาสตรม์ หาบัณฑิตสาขาประวตั ศิ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ ๖๑

๒) ในระดับกรอบกติกาของชาติที่สัมพันธ์กับมาตรการจากการจัดระเบียบโลก ได้เข้ามามี บทบาทท่ีสาคัญในการตัดสินใจในทางนโยบายของรัฐมากข้ึน Sustainable Development Goals (SDGs) หรือ เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน เป็นความต่อเนื่องของการกาหนดเป้าหมายการพัฒนา โดย อาศัยกรอบความคิดท่ีมองการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และส่ิงแวดล้อม ให้มีความเช่ือมโยงกัน โดยมี เป้าหมายคือการพิทักษ์ บูรณะ และส่งเสริมการใช้ประโยชนท์ ่ียั่งยืนของระบบนิเวศบนบก จัดการป่าไม้ อย่างยั่งยนื การหยดุ ยั้งและฟนื้ ฟคู วามเสอ่ื มโทรมของท่ีดนิ ทรัพยากรชีวภาพ ๓) ในระดับนโยบาย กฎหมาย ท่ีจาเป็นต้องเอื้ออานวยให้เกิดกระบวนการมีส่วนร่วม การตรวจสอบจากภาคประชาชน ข้อนี้เม่ือย้อนกลับไปมองกรอบกติกาในการบริหารประเทศก็ยังมี คาถาม โดยเฉพาะรา่ งรัฐธรรมนูญ ทจี่ ะนาไปสู่การทาประชามติ ในช่วงเดอื นสงิ หาคม 2559 บ้านแม่ขี้มูกน้อยเป็นหนึ่งในพื้นที่การดาเนินการท่ีได้เร่ิมกระบวนการกาหนดทิศทางในการ พัฒนาและบริหารจัดการท่ีร่วมกับกลไกภาคส่วนต่างๆ เกิดการสารวจข้อมูล การจัดทาประชาคม การ สอบทาน ร่วมกันในหลายๆ ฝ่ายท่ีเก่ียวข้อง ที่เข้ามาเป็นหลักในการกาหนดภาพรวมฐานข้อมูลของ อาเภอแม่แจ่ม ซ่ึงเกิดจากการจาแนกข้อมูลที่สารวจและกาหนดแนวทางในแต่ละเง่ือนไข อาทิ พ้ืนท่ีป่า ธรรมชาติ พื้นทใี่ ช้ประโยชนข์ องชุมชนแต่ละชว่ งปี พ้นื ท่ีขยายเพ่ิมเตมิ แต่ละชว่ งปี ๔.๒ ไรห่ มนุ เวียนกบั กำรเปล่ียนแปลงและกำรปรับตัวของชุมชน กรณี บ้านห้วยหินลาด กิจกรรมในไร่หมุนเวียนจะเริ่มข้ึนในเดือนกุมภาพันธ์ หลังจากท่ีได้เลือก พื้นที่ชาวบ้านจะทาการถางไร่และตัดต้นไม้ใหญ่ให้เหลือตอไว้สูงประมาณ ๕๐ เซนติเมตร เพ่ือให้ต้นไม้ สามารถแตกหน่อขึ้นมาทดแทนได้ภายหลังการเก็บเก่ียว จากน้ัน ชาวบ้านจะตากเศษไม้และวัชพืชให้ แห้งสนทิ แลว้ จึงทาการเผาไรช่ ่วงปลายเดือนมีนาคมถึงตน้ เดือนเมษายนก่อนฝนแรกของฤดจู ะย่างเข้ามา ๒-๓ วัน ก่อนจะเผาไร่ ชาวบา้ นจะช่วยกนั ทาแนวป้องกนั ไฟและเลือกทาการเผาไร่ในช่วงเวลาที่แสงแดด เร่มิ ออ่ นตวั ลง เศษไม้และวชั พชื ลกุ ไหม้ได้ดแี ละเปลวไฟไม่รนุ แรง การเผาจะเผาจากด้านบนของแปลงลง ส่ดู า้ นล่างตามทศิ ทางการไหมข้ องไฟและเผาจากด้านข้างท้ังสองเขา้ หาใจกลางไรเ่ พื่อลดความรนุ แรงของ เปลวไฟและเพื่อป้องกันมิให้ไฟลุกลามออกนอกแปลง ซึ่งในการเผาจะใช้เวลาเพียง ๑-๒ ช่ัวโมงเท่านั้น หลังจากเผาไร่เสร็จประมาณ ๑ สัปดาห์ ชาวบ้านจะทาการเก็บเศษไม้ที่เหลือออกจากไร่ จากนั้นจึงเร่ิม ปลูกพืชประเภท เผือก มัน ฟักทอง อ้อย ข้าวโพด ฯลฯ ก่อนการปลูกข้าว เพ่ือให้มีพืชอาหารไว้บริโภค ในชว่ งเพาะปลูกข้าว การปลกู ข้าวจะเริ่มข้ึนในเดือนพฤษภาคม ก่อนจะปลูกข้าวนัน้ ชาวบ้านจะทาพิธสี ู่ขวัญข้าวเพ่ือ เปน็ สิริมงคลและเพื่อใหผ้ ลผลิตอุดมสมบูรณ์ ในการเพาะปลูก ชาวบา้ นจะหยอดเมล็ดพนั ธุ์ข้าวกบั พืชผัก นานาชนิดในบริเวณเดียวกัน พืชผักแต่ละชนิดจะทยอยกันให้ผลผลิต ทาให้มีพืชผักจากไร่มาบริโภค ได้ตลอดทั้งปี ส่วนข้าวจะเก็บเกี่ยวช่วงปลายเดือนตุลาคมถึงต้นเดือนพฤศจิกายน ภายหลังการเกบ็ เกีย่ ว จะนาววั ควายมาเล้ยี งในไรป่ ล่อยให้กินเศษฟางขา้ วที่เหลือจากการเก็บเกี่ยวและพักพ้ืนท่ีให้ดนิ และป่าได้ ฟน้ื ตัวตามธรรมชาติ รอการหมุนเวียนกลับมาอีกครงั้ ในอกี ๖-๑๐ ปีขา้ งหนา้ ไร่หมุนเวียนของคนบ้านห้วยหินลาด คือ ความมั่นคงด้านอาหารและการสร้างสมดุลของระบบ นิเวศน์ วิถีการผลิตของชุมชนห้วยหินลาดเป็นการผลิตแบบผสมผสานระหว่างการผลิตเพื่อบริโภคและ การผลิตเพ่ือการสร้างรายได้ จากการศึกษา พบว่า แหล่งรายได้ของครัวเรือนในชุมชนมาจากการขาย ใบชา ผลิตผลจากป่า ข้าวโพด การขายสัตว์เลี้ยง และการรับจ้าง ส่วนภาวะหน้ีสิน ส่วนใหญ่เป็นหน้ีสิน มาบางจากการกู้เงินมาลงทุนด้านการเกษตรสมัยใหม่ท่ีต้องใช้เงินทุนและพ่ึงพาปัจจัยการผลิตจากนอก ๖๒

ชุมชน นอกจากน้ันกรณีการปลูกพืชเชิงพาณิชย์ของบ้านหินลาดนอกเป็นจุดเส่ียงต่อความไม่มั่นคงของ ชุมชนทั้งด้านเศรษฐกจิ และความมั่นคงทางอาหาร จากข้อมลู การบรโิ ภคอาหารภายในครวั เรือน พบว่า อาหารที่บริโภค ได้มาจากการผลิตได้เองและเก็บหาในชุมชน โดยเฉพาะข้าวซึ่งชุมชนสามารถผลิตได้ เพียงพอจากการทานาและไร่ ส่วนพืชผักที่นามาบริโภคพบว่ามีมากกว่า ๑๐๐ ชนิด ในจานวนนั้นเป็น พืชผักจากไร่หมุนเวียนกว่า ๙๐ ชนิด ส่วนเนื้อสัตว์มีมากถึง ๒๘ ชนิดที่หาได้ในชุมชน โดยมีแหล่งท่ีมา หลักจากพื้นท่ีนาและจากพ้ืนท่ีไร่หมุนเวียน ส่วนท่ีเหลือได้มาจากป่าและสวนชา สาหรับเนื้อสัตว์ ชาวบา้ นบรโิ ภคเนอ้ื สตั วท์ ่ีเลี้ยงไวแ้ ละหาไดใ้ นชุมชนเป็นสว่ นใหญ่ คนหว้ ยหินลาดกับการเกบ็ พืชผกั ในไร่หมนุ เวยี น กรณีบ้านห้วยหินลาด ประวัติศาสตร์ด้านทรพั ยากรธรรมชาติที่สาคัญ เร่ิมในช่วงปี พ.ศ.๒๕๒๙ เมื่อบริษัทเชียงรายทาไม้จากัด ได้รับสัมปทานการทาไม้ในพ้ืนที่ป่าดอยขุนแจ ทางสานักงานป่าไม้เขต เชียงรายได้ส่งเจ้าหน้าท่ีเข้ามาสารวจและตีตราไม้เม่ือท่ีจะทาการโค่นล้มไม้ ขณะน้ันชาวบ้านไม่มีสิทธิ และอานาจในการต่อรองกับป่าไม้จึงถูกตัดโค่นเกือบท้ังหมดและบริษัทได้ใช้รถแทรกเตอร์มาปรับพ้ืนท่ี ตามภูเขาเพื่อใช้เป็นเส้นทางรถยนต์สาหรับลาเลียงไม้ ทาให้สัตว์ป่าไม่มีท่ีอยู่และถูกล่าได้ง่ายขึ้น การสัมปทานป่าไม้ ทาให้สัตว์ป่าที่เคยอาศัยอยู่ เช่น ชะนี ไก่ฟ้า เสือ หมี เลียงผา ฯลฯ ได้สูญหายไป หลังจากนั้นหมู่บ้านได้รับการพัฒนาหลายด้าน เช่น มีการพัฒนาระบบน้าประปาภูเขา ถนนหนทาง สามารถสัญจรไปมาสะดวกขึ้น หลังจากหมดสัญญาการสัมปทานป่า ชาวบ้านได้ให้ความสนใจในการ ดแู ลป่าเพมิ่ มากขนึ้ แปลงไร่หมนุ เวียนของคนหว้ ยหินลาดท่ีทาประโยชนภ์ ายใตก้ ารจดั การของชมุ ชนจนถึงปัจจบุ นั ๖๓

การทาไร่หมุนเวียนของคนหินลาด แม้ในบางครอบครัวเร่ิมปรับเปลี่ยนไปสู่การปลูกเชิงเด่ียว มากขึ้นและปรับการใช้พ้ืนท่ีเพ่ือเน้นการผลิตเพื่อสนองตลาดมากขึ้น แต่โดยรวมยังเป็นไปในลักษณะ ท่ีรักษาสมดุลของระบบนิเวศและเน้นฐานความม่ันคงทางอาหาร ควบคู่ไปกับการจัดการให้เกิดความ ยั่งยืนของทรัพยากรในหลากหลายมิติ เช่น ใช้ความเชื่อ พิธีกรรม ภูมิปัญญาและกฎระเบียบข้อตกลง ร่วมของชุมชนเข้ามากากับ ซึ่งส่ิงเหล่าน้ีชมุ ชนได้ยึดถือเป็นแนวการดารงชีพมานับตั้งแต่อดีต หรือกล่าว ได้ว่าชุมชนมีการใช้การบริโภคทรัพยากรน้อยกว่าปริมาณทรัพยากรที่มีอยู่ ลักษณะการบริโภคดังนี้ จึงช่วยรักษาสมดุลของระบบนิเวศไม่ให้สูญเสีย ค่านิยมในการบริโภคอาหารภายในชุมชนมากว่าซื้อหา จากภายนอก (จากสัดส่วนการบริโภคอาหารในครัวเรือน) ทาให้ชุมชนยังคงบริโภคอาหารพ้ืนบ้านและ นาพืชผักท้องถ่ินมาประกอบเป็นอาหาร โดยพืชผักส่วนใหญ่ที่นามาบริโภคมาจากไร่หมุนเวียน ซ่ึงเป็น พนื้ ท่ีทีม่ ีชนิดของพชื ผักอาหารและความหลากหลายของพนั ธกุ รรมพื้นบ้านมากท่ีสุด นอกจากนั้นภายใต้นโยบายคณะกรรมการนโยบายที่ดินแห่งชาติ (คทช.) ของรัฐบาลปัจจุบัน มีแนวโนม้ ท่ีจะส่งผลกระทบต่อสิทธิการใช้ที่ดนิ ของชุมชนกะเหรี่ยงอีกละรอก ดงั กรณตี ัวอยา่ งของชุมชน ห้วยหินลาด ท่ีมีการเคลื่อนไหวเพ่ือติดตามนโยบายดังกล่าว โดยกลุ่มผู้นาชุมชนได้ทราบข่าวว่าทาง คณะอนุกรรมการนโยบายท่ีดินจังหวัดเชียงราย (คทช.จังหวัด) มีแผนงานท่ีจะดาเนินการจัดที่ดินทากิน ให้กับชุมชนบ้านห้วยหินลาดตามนโยบายของรัฐบาล (ในปีงบประมาณ ๒๕๕๙) คนในชุมชนจึงรู้สึก สับสนและเป็นกังวลเก่ียวกับการดาเนินการดังกล่าวที่อาจซ้าซ้อนและกระทบกับการดาเนินการแก้ไข ปัญหาที่ดินในรูปแบบโฉนดชุมชนซ่ึงคนห้วยหินลาดได้ดาเนินการมาอย่างต่อเน่ืองตั้งแต่ปี ๒๕๕๓ และ ทางชมุ ชนจึงได้ย่ืนหนังสือถึงนายกรัฐมนตรีในฐานะประธานคณะกรรมการนโยบายที่ดินแห่งชาติ ผ่าน ผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงราย พร้อมกับยื่นหนังสืออีกหนึ่งฉบับถึงประธานอนุกรรมการนโยบายที่ดิน จังหวัดเชียงราย (คทช.จังหวัด) เพื่อให้ชี้แจงความเป็นมาของการดาเนินการดังกล่าว “หลังจากที่ทางชุมชนได้รับทราบข่าวว่า คทช.จะเข้ามาดาเนินการในพื้นที่นั้น ตนและชาวบ้าน ทั้งสามหย่อมบ้านรู้สึกเป็นกังวลและเกิดความสับสนเป็นอย่างมาก มีคณะกรรมการโฉนดชุมชน หลายรายตัง้ คาถามวา่ ทาไมรฐั บาลไม่เดินหน้าหรือสานต่อนโยบายโฉนดชุมชน ซ่ึงมกี ารดาเนินงานอย่าง เป็นรูปธรรมชัดเจนอยู่แล้วและชุมชนเองก็มีความช่ือม่ันว่าหากมีการรับรองสิทธิชุมชนในการจัดการ ท่ีดินในรูปแบบโฉนดชุมชน จะสามารถสนับสนุนให้ชุมชนเข้าถึงและใช้ประโยชน์ในที่ดินอย่างมี ประสิทธิภาพ สามารถรักษาที่ดินให้สืบทอดไปจนถึงลูกหลาย โดยจะไม่มีการเปลี่ยนมือท่ีดินให้กับคน ภายนอกชุมชนเนื่องจากมีการจัดทาขอบเขตแผนที่กากับไว้อย่างชัดเจนทุกแปลงและยังมีกลไก คณะกรรมการ กฎระเบียบการจัดการที่ดินของชุมชนเป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการท่ีดินได้อย่างมี ประสทิ ธิภาพ”…ผนู้ าชมุ ชนทา่ นหนง่ึ กล่าวถึงถานการณ์ดังกลา่ ว กรณีบ้านกลาง การทาไร่หมุนเวียนต้ังแต่อดีตของชาวบ้านเป็นการผลิตหลักเพื่อผลิตข้าว พืช อาหาร สมุนไพร การเปลี่ยนแปลงเกิดข้ึนเม่ือประมาณปี พ.ศ.๒๕๑๖ ที่เร่ิมมีองค์กรต่างๆ อาทิเช่น กรมประชาสงเคราะห์ ศูนย์พัฒนาชาวเขา โครงการไทย-ออสเตรเลีย โครงการไทย-เยอรมัน และ โครงการไทย-นอรเ์ วย์ เขา้ มาสง่ เสรมิ ให้ชาวบา้ นบุกเบิกนาขนั บันได ทาสวนไม้ผลยืนต้น เชน่ กาแฟ ลน้ิ จี่ ลาไย มะม่วง ส้มโอ ข้าวบาร์เลย์ ถ่ัวเขียว ถั่วเหลือง ซ่ึงในสมัยนั้นการทานายังไม่เป็นท่ีนิยมมากนัก เนื่องจากสภาพความแห้งแล้งจากการทาลายป่าเมื่อครั้งสัมปทาน ที่ส่งผลให้น้าในลาห้วยแห้ง ไม่พอต่อ การทานาข้าว รวมถึงการปลกู ไม้ผลเศรษฐกจิ ในพืน้ ทไี่ ร่หมนุ เวียนที่พกั ไว้ (ไร่เหลา่ ) ใหผ้ ลผลิตนอ้ ยและมี ๖๔

ต้นทุนการผลิตสูง เช่น ค่าเช้ือพันธ์ุ ค่าปุ๋ย ค่าสารเคมี เมื่อทดลองปลูกมาซักระยะใหญ่ พบว่าได้ ผลตอบแทนไม่คุ้มค่ามากนักและเร่ิมมีแนวโน้มเรื่องปัญหาหน้ีสิน ทาให้ชาวบ้านส่วนใหญ่ตัดสินใจเลิก ปลูกพืชเศรษฐกิจและเริ่มฟ้ืนฟูป่าอีกระลอกใหญ่ภายหลังยุคขยายตัวของการปลูกพืชเศรษฐกิจ แม้ว่า ชาวบ้านจะนิยมทานามากข้ึน เพราะการทานาจะให้ผลผลิตข้าวมากและใช้ระยะเวลาส้ัน แต่ชาวบ้าน กลางส่วนใหญ่ยังคงยึดการทาไร่หมนุ เวียนเป็นหลักมาจนถึงปัจจุบัน ผสมผสานกับการปลูกไม้ผลเพ่ือทง้ั บริโภคและขายตามฤดูกาล บริเวณบา้ นกลางถอื ว่าเป็นอีกแหล่งที่มที รัพยากรป่าไม้อดุ มสมบรู ณ์ เปน็ พื้นทีเ่ ปา้ หมายของการ สัมปทานป่าในอดีตถึง ๓ คร้ัง ครั้งแรกประมาณปีพ.ศ.๒๔๙๓ โดยบริษัทบอมเบย์เบอร์มา ต่อมา ประมาณปี พ.ศ.๒๗๐๒ ใหส้ ัมปทานกับบรษิ ัทคนไทย และครัง้ ทีส่ ามประมาณปี พ.ศ.๒๕๑๔ ส่งผลให้ไม้ ขนาดใหญ่ถูกโคนจนแทบไม่เหลือและภายหลังการปิดสัมปทานป่าเม่ือ พ.ศ.๒๕๓๑-๒๕๓๒ ผืนป่า บริเวณบ้านกลางยังคงเผชิญกับขบวนการลักลอบตัดไม้เถ่ือนของนายทุนและผู้มีอิทธิพลอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้สภาพป่าท่ีเคยอุดมสมบูรณ์เสื่อมโทรมลงอีกเป็นทวีคูณ อีกท้ังสัตว์ป่านานาชนิดล้มตายและลด จานวนลง น้าในลาห้วยเริ่มแห้งขอด กระทบต่อผลผลิตข้าวและความเป็นอยู่ของคนในชุมชนเป็นอย่าง มาก “นาหนา้ หมู่” คนบ้านกลางและแปลงไรห่ มุนเวียนท่มี องเหน็ ร่องรอยการแบ่งพน้ื ท่ีเพือ่ พกั หมนุ แปลง พ.ศ.๒๕๓๔ กรมป่าไม้ได้ประกาศเขตอุทยานแห่งชาติถ้าผาไททับพื้นท่ีชุมชน ครอบคลุมพื้นท่ี อาเภอเมือง อาเภอแจ้ห่ม อาเภอแม่เมาะ และอาเภองาว จังหวัดลาปาง มีเนื้อท่ีท้ังหมดประมาณ ๗๕๘,๗๕๐ ไร่ หรือ ๑,๒๑๔ ตารางกโิ ลเมตร ส่งผลให้ชาวบา้ นกลางและชุมชนรอบข้างต้องเผชญิ กับการ ถูกจากัดสิทธิในการใช้ประโยชน์จากท่ีดินทากิน เกิดความขัดแย้งระหว่างเจ้าหน้าที่รัฐกับชาวบ้าน โดยเฉพาะกรณีการทาไร่หมุนเวียนตามวิถีด่ังเดิมของชุมชน รวมถึงนโยบายการอพยพย้ายคนออกจาก ป่า สถานการณ์เหล่านี้จึงเป็นแรงผลักดันให้คนในชุมชนลุกขึ้นมาต่อสู้เรียกร้องสิทธิและความเป็นธรรม จากภาครฐั ต่อมา พ.ศ.๒๕๓๘ ชาวบ้านกลางและชุมชนใกล้เคียงที่ได้รับผลกระทบจากการประกาศเขต อทุ ยานฯ รวมถงึ ปญั หาการประกาศเขตอุทยานฯ ได้รวมตวั เขา้ ร่วมกับเครือข่ายกลุ่มเกษตรกรภาคเหนือ หรือ คกน. เพ่ือเรียกร้องให้รัฐบาลในขณะน้ันลงมาดาเนินการแก้ไขปัญหาท่ีดินในเขตป่าร่วมกับกลุ่ม ๖๕

สมัชชาคนจน จนได้มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันท่ี ๑๗ และ ๒๙ เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๐ เป็นแนวทางในการ แก้ไขปัญหาท่ีดินในเขตป่าร่วมกับเจ้าหน้าท่ีอุทยานฯ โดยได้มีการสารวจรางวัดและกันพ้ืนที่ทากิน โดยเฉพาะพ้ืนท่ี ไร่หมุนเวียนของชาวบ้านออกจากพ้ืนที่อุทยานฯ จนกระท้ังกระบวนการตรวจสอบ พิสูจน์สิทธิ์ได้ผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการระดับอาเภอ เตรียมส่งต่อให้คณะกรรมการระดับ จังหวัดพิจารณา ต้องยุติลง เน่ืองจากรัฐบาลได้มีมติคณะรัฐมนตรี ๓๐ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๔๑ ที่เสนอ โดยกรมป่าไม้ ซึ่งมีแนวทางการแก้ไขปัญหาที่ดินในเขตป่าขัดแย้งกันแนวทางเดิมของเครือข่าย ผลจาก การร่วมรางวัดที่ดินในครั้งนั้นทาให้ชาวบ้านต้องสูญเสียพื้นที่ไร่หมุนเวียนไปกว่าครึ่งหน่ึงของท่ีเคยมีอยู่ และตอ้ งลดรอบการหมุนเวยี นพ้นื ท่ไี ร่ลงจากประมาณ ๗-๑๐ ปี เปน็ ๓-๕ ปเี ปน็ ส่วนใหญ่ ขบวนการต่อสู้เรียกร้องสิทธิในท่ีดินทากินของชาวบ้านยังคงดาเนินไปอย่างต่อเนื่อง ในปี พ.ศ. ๒๕๔๕ ได้ เข้าร่วมกับสหพันธ์เกษตรกรภาคเหนือ หรือ สกน เรียกร้องให้รัฐบาลแก้ไขปัญหาอีก ครง้ั การแก้ไขปัญหายังคงไมม่ ีความคบื หน้าและถูกยกเลิกอีกคร้งั เม่ือวันท่ี ๒๓ มีนาคม พ.ศ.๒๕๔๗ ช่วงประมาณปี ๒๕๕๐ เกิดปัญหาหมอกควันท่ัวพื้นที่ภาคเหนือและมีกระแสความตื่นตัวเร่ือง การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศ ทาให้เจ้าหนา้ ที่ป่าไม้เพมิ่ ความเข้มงวดในการควบคุมการเขา้ ทา ไร่ หมุนเวียนมากข้ึนอีก ปี ๒๕๕๓ ชาวบ้านกลางถูกเจ้าหน้าที่ยึดพ้ืนท่ีทากินและประกาศให้เป็นพ้ืนท่ีที่จะ ถูกดาเนินคดีหากผ้ใู ดเขา้ ไปทากินในพ้นื ท่นี จี้ ะถูกข้อหาทาลายป่าและทาให้อากาศร้อนขึน้ หรอื ทช่ี าวบ้าน เรียกกนั วา่ คดีโลกรอ้ น ความพยายามแก้ไขผลกระทบจากนโยบายการประกาศเขตป่าของรัฐซ้อนทับพื้นที่ของชุมชน ต้ังแต่ปี พ.ศ.๒๕๓๔ เป็นต้นมา ทาให้ชาวบ้านบ้านกลางและชุมชนรอบข้างถูกจากัดสิทธิ ในด้านต่างๆ อาทิ สิทธิในการใช้ประโยชน์จากท่ีดินทากิน ความขัดแย้งระหว่างเจ้าหน้าท่ีรัฐกับชาวบ้านกรณีการทา ไรห่ มนุ เวยี น สทิ ธใิ นการเขา้ ถึงการพัฒนาสาธารณูปโภคข้นั พนื้ ฐานทีจ่ าเปน็ ตลอดจนถึงนโยบายการยา้ ย คนออกจากป่า เป็นต้น แรงกดดันต่างๆ เหล่านี้ทาให้คนในชุมชนลุกขึ้นมาต่อสู้เรียกร้องสิทธิและความ เป็นธรรมจากรัฐ ในปี พ.ศ.๒๕๓๘-๒๕๔๐ ชาวบ้านได้เข้าร่วมการเรียกร้องให้รัฐบาลในขณะน้ันแก้ไข ปัญหาที่ดินในเขตป่าร่วมกับสมัชชาคนจน จนได้มติ ครม.๑๗, ๒๙ เมษายน ๒๕๔๐ เป็นแนวทางในการ แก้ไขปัญหาโดยร่วมกับเจ้าหน้าที่อุทยานฯ ทาการสารวจรังวัดพื้นที่ทากินโดยเฉพาะพื้นที่ไร่หมุนเวียน และผ่านความเหน็ ชอบของคณะทางานระดับอาเภอ ส่งต่อคณะกรรมการระดับจังหวัดเพื่อพจิ ารณา แต่ รฐั บาลได้ยกเลกิ มติดังกลา่ ว เพราะกรมปา่ ไมไ้ ด้เสนอมติ ครม.๓๐ มิถนุ ายน ๒๕๔๑ ซ่ึงเป็นปญั หาต่อการ แก้ไข กระบวนการดาเนินการทผ่ี า่ นมาจงึ ตอ้ งยุติลง พ.ศ.๒๕๓๘ นับเป็นจุดเริ่มต้นของกระบวนการอนุรักษ์ป่าของชุมชนบ้านกลาง มีการรวมตัวกนั เป็นคณะกรรมการป่าชุมชนบ้านกลาง ตั้งกติกาและกิจกรรมร่วมกันในการอนุรักษ์ป่าและสัตว์ ตาม วัฒนธรรมการจัดการป่าท่ีถ่ายทอดกันมาแต่เดิม นาหลักปฏิบัติทางศาสนาคริสต์ซึ่งเป็นศาสนาของ หมบู่ ้านมาใช้ในการอนุรักษป์ ่าไม้และสัตวป์ ่า เช่น การบวชป่า การห้ามล่าสตั ว์ป่า เปน็ ตน้ พ.ศ.๒๕๔๕ ได้ร่วมกับสหพันธ์เกษตรกรภาคเหนือ (สกน.) เรียกร้องให้รัฐบาล แก้ไขปัญหา แต่ ได้มีการยกเลิกคณะกรรมการฯ เม่ือ ๒๓ มีนาคม ๒๕๔๗ กระบวนการแก้ไขปัญหาจึงยุติลง จน พ.ศ.๒๕๔๙ เป็นหมบู่ ้านเปา้ หมายการแก้ไขปญั หาทีด่ ินภายใต้กลไกของรฐั บาล โดยไดด้ าเนนิ การสารวจ ท่ีดนิ ทากินรายแปลงในแผนที่อัตราส่วน ๑ : ๔,๐๐๐ มแี นวทางบรหิ ารจดั การทดี่ ินในรูปแบบโฉนดชุมชน มีกฎระเบียบการจัดการท่ีดินและคณะกรรมการที่ดนิ ระดับชุมชน จนมาถึงช่วง พ.ศ.๒๕๕๓ ได้มีการยื่น คาขอโฉนดชุมชนตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการจัดให้มีโฉนดชุมชน พ.ศ.๒๕๕๓ และได้ ๖๖

ผ่านการตรวจสอบพื้นท่แี ละไดร้ ับการอนุมตั ใิ ห้มีโฉนดชมุ ชนจากคณะกรรมการประสานงานจัดให้มีโฉนด ชุมชนขณะน้นั กรณีบ้านแม่อมกิ นับต้ังแต่รัฐบาลประกาศเขตป่าสงวนแห่งชาติท่าสองยางทับท่ีทากินของ ชุมชนในปี ๒๕๒๖ เร่ือยมาจนเตรียมประกาศเขตอุทยานแห่งชาติแม่เงาปี ๒๕๓๗ ครอบคลุมพื้นท่ี อาเภอสบเมย จงั หวัดแม่ฮ่องสอน และอาเภอท่าสองยาง จงั หวดั ตาก รวมเน้ือทส่ี องแสนส่ีหมื่นไร่ สง่ ผล ให้ชาวบ้านถูกจากัดสิทธิในการเข้าใช้ประโยชน์จากป่าและท่ีดินทากินของตนเอง จนกระท้ัง พ.ศ. ๒๕๔๗ เจ้าหน้าท่ีป่าไม้และนายอาเภอกดดันให้ชาวบ้านลดรอบการทาไร่หมุนเวียนลงจากรอบ หมุนเวียน ๗-๘ ปีเหลือรอบหมุนเวียน ๓ ปี ผลการลดรอบหมุนเวียนทาให้ชาวบ้านต้องกลับไปใช้พ้ืนท่ี ไร่เหล่าที่อายุน้อยเช่นเดียวกับกรณีชุมชนบ้านกลาง บ้านแม่อมกิมีแหล่งรายได้หลักสาคัญจากการขาย ผลิตผลจากไร่หมุนเวียน เช่น พริกกะเหรี่ยง แม้ว่าชุมชนจะมีรายได้จากการขายพืชผักผลผลิต แต่ ขณะเดยี วกนั วิถีการดารงชวี ิตสว่ นหน่ึงของสมาชิกในชุมชนท่มี ีการติดต่อสัมพนั ธ์กบั สังคมภายนอกทาให้ ชุมชนมีภาระค่าใช้จ่ายและหนี้สินจากกิจกรรมเหล่านั้นด้วย แหล่งท่ีมาของรายจ่ายของชุมชน อาทิเช่น ค่าอาหาร ของใช้เครื่องนุ่งห่ม ค่าใช้จ่ายด้านการศึกษา ค่าใช้จ่ายด้านการเกษตร ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ ยารกั ษาโรค ค่าใช้จา่ ยเก่ยี วกบั งานสงั คม ค่าโทรศัพท์และค่าเดนิ ทาง เป็นต้น คนนแมอ่ มกไิ ด้เข้าร่วมกบั เครือข่ายเกษตรกรภาคเหนือเรียกร้องใหร้ ัฐบาลลงมาแก้ไขปญั หาการ ต่อสู้เพ่ือเรียกร้องสิทธิในที่ดินทากินของชาวบ้านได้ดาเนินเร่ือยมา ตั้งแต่ พ.ศ.๒๕๔๒ ในประเด็นเร่ือง ที่ดินทากินในเขตป่า ต่อมา พ.ศ.๒๕๔๕ เข้าร่วมกับเครือข่ายป่าชุมชนภาคเหนือผลักดันให้มี พ.ร.บ.ป่าชุมชน เพ่ือคุ้มครองคนให้สามารถอยู่ร่วมกับป่าได้ แต่การแก้ไขปัญหายังคงไม่มีข้อยุติ จนกระ ทั้ง พ.ศ.๒๕๔๗ ชาวบ้านถูกเจ้าหน้าท่ีรัฐกดดันให้ลดรอบปีทาไร่หมุนเวียนจาก ๗-๘ ปี เหลือเพียง ๓ ปี มาถึงในช่วงระยะ ๑๐ ปีที่ผ่านมา ใน พ.ศ.๒๕๕๐ เกิดสถานการณ์ปัญหาหมอกควันท่ัว ภาคเหนือประกอบกับกระแสการเปลี่ยนแปลงสภาพภมู ิอากาศทาให้เจ้าหน้าทป่ี ่าไม้เข้มงวดเรื่องการเข้า ไปทากินในพ้ืนท่ีป่ามากขึ้น เม่ือ พ.ศ.๒๕๕๑ นายดีแปะโพ และนางหน่อแฮมุ้ย ถูกเจ้าหน้าที่จับกุม เนื่องจากเข้าไปเตรียมพืน้ ที่สาหรับทาไร่หมนุ เวียน ถูกฟ้องดาเนินคดีขอ้ หาบุกรกุ ป่าและเรียกค่าเสียหาย ที่มีสว่ นทาใหโ้ ลกร้อนข้นึ รวมกว่า ๕ ลา้ นบาท ปจั จุบนั ชาวบา้ นแม่อมกิสว่ นใหญ่ยังคงทาไรห่ มุนเวียนซง่ึ เป็นรูปแบบการผลติ หลักของชุมชนแต่ ดั้งเดมิ และดารงชพี โดยการพ่ึงพาอาศยั ป่า ประกอบกบั มกี ารตัง้ กฎระเบียบและจัดแบ่งประเภทป่าข้ึนมา เพ่อื ควบคมุ ดแู ลการใช้ประโยชนจ์ ากป่าให้มีประสิทธภิ าพมากข้ึนดว้ ย แตพ่ น้ื ที่บางสว่ นได้ถูกปรบั ให้เป็น ไรถ่ าวรปลกู พืชเศรษฐกจิ เพ่อื เล่ยี งการตัดฟนั ไม้และเผาไร่ซึ่งเป็นสาเหตใุ ห้ถกู จบั กมุ ดาเนินคดี กรณีของ บ้านแม่ขี้มูกน้อย แต่เดิมนั้นชาวบ้านแม่ข้ีมูกน้อยมีการทาไร่หมุนเวียนทุกครอบครัว และมีการแบ่งพื้นท่ีเป็นไร่ส่วนรวมของชุมชนหรือ “ไร่หน้าหมู่” มีวิถีการทามาหากินไม่ต่างกับชุมชน กะเหร่ียงท่ัวไปในภาคเหนือ จุดเปลี่ยนสาคัญเกิดขึ้นในช่วงกลางทศวรรษท่ี ๒๕๒๐ ถึงกลางทศวรรษที่ ๒๕๓๐ ในพื้นท่ีลุ่มน้าแม่แจ่มได้กลายเป็นพ้ืนที่เป้าหมายของการพัฒนาโครงการพัฒนาของรัฐและ องค์กรระหวา่ งประเทศ วธิ คี ิดเร่อื งสทิ ธกิ ารใชก้ ารอยรู่ ่วมกบั ป่าแตเ่ ดมิ เริ่มปรบั สู่การผลติ พืชเชงิ เด่ียวเพ่ือ ขายในระบบตลาดสมัยใหม่มากข้ึน เร่ิมเกิดการเปลี่ยนแปลงในด้านการทามาหากิน การใช้ปุ๋ย สารเคมี และการเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศน์โดยรวมของอาเภอแม่แจ่มไม่เว้ นแม้แต่หมู่บ้านแม่ข้ีมูกน้อย ๖๗

พืชเศรษฐกิจท่ีเข้ามา อาทิ ถั่วเหลือง ก็ต้องเผชิญกับปัญหาราคาตกต่าในปี ๒๕๔๒ ชาวบ้านจึง หันมาปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์และหอมแดง โดยมีการขยายพื้นท่ีปลูกกันมากข้ึน การขยายตัวของพืช เศรษฐกิจเชิงเด่ียวส่งผลให้พื้นท่ีไร่หมุนเวียนบ้านแม่ขี้มูกน้อยทยอยลดหายไป จนปัจจุบันพื้นที่ไร่ หมุนเวียนได้กลายเป็นไร่ข้าวโพดถาวร แม้ชุมชนจะมีการระบุกฎระเบียบเกี่ยวกับการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม เช่น ห้ามผู้ใดตัดต้นไม้ในเขตป่าอนุรักษ์ ห้ามจุดไฟเผาป่า ห้ามซ้ือ ขาย หรอื นาไม้แปรรูปออกจากพน้ื ท่ี หา้ มบคุ คลภายนอกเข้ามาบุกรุก แผว้ ถาง แต่สภาพท่ัวไปในปัจจบุ ัน พบวา่ พ้นื ที่สว่ นใหญ่ไดถ้ กู แบง่ เขตระหว่างพน้ื ทปี่ ่ากับพ้ืนท่ที ากนิ เอาไวช้ ัดเจน ความเปล่ียนแปลงท่ีเกิดข้ึนส่งผลให้วิถีชีวิตของชาวบ้านเข้าไปเกี่ยวข้องระบบตลาดมากข้ึน ความคิดเร่ืองพ้ืนท่ีหน้าหมู่เร่ิมลดหายไป มีการปฏิสัมพันธ์กับสังคมภายนอกชุมชนมากขึ้นอย่างเข้มข้น ด้านความสัมพันธ์ในครอบครัวเร่ิมปรับเปล่ียน ลูกหลานเดินทางไปร่าเรียนในเขตเมืองมากข้ึน รวมทั้ง ออกจากหมู่บ้านเพ่ือไปรับจ้างในเมืองเพ่ือสร้างโอกาสใหม่ให้กับชีวิต กล่าวได้ว่าวิถีการดารงชีพหลัก ไมไ่ ด้ผูกโยงกบั ด้านเกษตรกรรมเช่นในอดีตเพยี งด้านเดียวอีกต่อไป พ.ศ.๒๕๔๖ ชาวบ้านท่ีประสบปัญหาในแต่ละหย่อมบ้านในพ้ืนที่ตาบลแม่นาจร ตาบลบ้านทับ ตาบลปางหินฝน ตาบลกองแขก ซ่ึงส่วนใหญ่มีฐานการรวมกลุ่มด้านการจัดการทรัพยากรได้รวมตัวกัน ภายใต้ชื่อ \"องค์กรเครือข่ายลุ่มน้าแม่แจ่ม” (อ.ค.จ.) โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือเสริมสร้างความเข้มแข็งให้ เครือข่ายลุ่มน้าต่างๆ ในอาเภอแม่แจ่มให้มีอานาจและสิทธิในการจัดการทรัพยากรในแต่ละลุ่มน้า ร่วม แก้ไขปัญหาป่าไม้และที่ดินในเขตป่าและร่วมผลักดันกฎหมายป่าชุมชน ภารกิจสาคัญขณะน้ัน คือ เรียกร้องสิทธิในการจัดการทรัพยากรในแต่ละลุ่มน้า พร้อมกับการเคลื่อนไหวเรียกร้องให้รัฐสารวจเพื่อ จาแนกแนวเขตพ้ืนที่ป่ากับท่ีดินทากินและที่อยู่อาศัยของชาวบ้านให้ชัดเจน พร้อมสร้างความม่ันคงใน การรับรองสิทธิในที่ดิน ส่งผลให้หน่วยงานภาครัฐรับรองหลักการที่จะให้สารวจจาแนกแนวเขตที่ดิน แม้ในทางปฏิบัติจะเกิดข้อโต้แยง้ เกี่ยวกับแนวทางการสารวจแนวเขต การพิสูจน์และรับรองสิทธิ์ รวมท้ัง เกณฑต์ ่างๆ ทเี่ กีย่ วข้องในการจดั การ ในยุคปัจจุบันบ้านแม่ข้ีมูกกาลังปรับตัวภายใต้การเปลี่ยนแปลงของขบวนการเคล่ือนไหวท่ี เรียกว่า “แม่แจ่มโมเดล” ซึ่งเป็นขบวนการแก้ไขปัญหาที่มีพื้นฐานแนวคิดที่สาคัญ คือ ธรรมาภิบาล สง่ิ แวดล้อม ทอ่ี าศัยกลไกท่สี าคญั ๓ ระดบั ๒๔ ได้แก่ ๑) ระดับปฏิบัติการ ที่ต้องเชื่อมโยงความร่วมมือจากภาคีในหลายฝ่ายท้ังองค์กรชุมชน องค์กร ปกครองส่วนท้องถิน่ กานนั ผูใ้ หญบ่ ้าน หน่วยงานราชการท่ีเกีย่ วขอ้ ง องค์กรพฒั นาเอกชน ภาควิชาการ รวมถึงภาคธรุ กิจ ในการร่วมคิดวางแผนใหเ้ กิดแนวทางในการแกไ้ ขปัญหาการจัดการทรัพยากรในระดบั พื้นท่ี โดยเฉพาะอย่างยิ่งภายใต้สถานการณ์การขยายตัวของพืชเชิงเด่ียว รวมถึงระบบสิทธิในการใช้ ประโยชน์จากท่ีดินท่ีอยู่บนพื้นฐานของการเคารพและการยอมรับถึงการมีตัวตนของสิทธิชุมชน ที่ดารง อยบู่ นหลักการของเจตจานงรว่ มของประชาชนและหน่วยงานต่างๆ ในพน้ื ท่ี ๒๔ เอือ้ เฟอ้ื ข้อมูลจากมลู นธิ เิ พอื่ การพฒั นาท่ยี ง่ั ยนื ๖๘

กระบวนการกาหนดทิศทางในการพัฒนาและบริหารจัดการแม่แจ่มโมเดลได้อาศัยกลไกภาค ส่วนต่างๆ เข้ามาใช้ระบบฐานข้อมูล ที่เกิดขึ้นมาจากสารวจ การจัดทาประชาคม การสอบทาน ร่วมกัน ในหลายๆ ฝ่ายท่ีเก่ียวข้อง ที่เข้ามาเป็นหลักในการกาหนดภาพรวมฐานข้อมูลของทั้งอาเภอและได้ กาหนดแนวทางในแตล่ ะเง่อื นไขทแี่ ตกต่างกนั ออกไป ได้แก่ “ป่าธรรมชาติ” ท่ีมีพื้นท่ีประมาณ ๗๓ เปอร์เซ็นต์ ซึ่งอยู่ในพ้ืนที่อุทยานแห่งชาติและในเขตป่า สงวนแห่งชาติจะต้องมีการดาเนินการในการจัดการร่วมกันของหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องร่วมกับองค์กร ชาวบา้ น ในการอนรุ ักษแ์ ละใชป้ ระโยชน์อยา่ งเหมาะสม “พื้นท่ีท่ีชาวบ้านเข้ามาใช้ประโยชน์ก่อนปี ๒๕๔๕” ประมาณ ๑๒.๕ เปอร์เซ็นต์ จะนาไปสู่ กระบวนการจัดการในรูปแบบสิทธิ โดยที่หน่วยงานรัฐที่เก่ียวข้องต้องเข้ามาจัดการ หรือรับรองในทาง เอกสารทสี่ อดคล้องและเหมาะสม “พนื้ ท่ที ีม่ กี ารขยายออกในชว่ งระหว่างปี ๒๕๔๕-๒๕๕๔” ประมาณ ๙.๕ เปอรเ์ ซ็นต์ จะนาไปสู่ แนวทางการสร้างป่าสร้างรายได้ของชุมชน ผ่านการพัฒนาให้มีกลไกเชิงสถาบันในการเข้ามาบริหาร จัดการทรัพยากร ป่าไม้ ท่ีดิน โดยใช้อานาจขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการตราข้อบัญญัติ ท้องถิน่ ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม โดยขอ้ บญั ญัตทิ ้องถิน่ ดงั กล่าวทาหน้าทีใ่ นการ รบั รองกลไกเครอื ข่ายองค์กรชาวบ้านในระดับหมู่บ้านและตาบล ในการบริหารจัดการ ดแู ลรกั ษา รวมถึง การใช้ประโยชน์ทรัพยากร การพัฒนาระบบเศรษฐกิจในพื้นท่ีทากินของชุมชน การปลูกสร้างสวนป่า แบบผสมผสาน จัดทากฎระเบียบกติกาในการบริหารจัดการทรัพยากร ซ่ึงจะนาไปสู่การพัฒนาระบบ สิทธิและการใช้ประโยชน์ท่ีเหมาะสมกับภูมินิเวศวัฒนธรรม รวมทั้งตอบสนองระบบเศรษฐกิจท่ีพ่ึงพา การใช้ประโยชน์จากเนื้อไม้ ในมิติของนิเวศเศรษฐศาสตร์ (Ecological Economic) เพ่ือให้เกิดอนุรักษ์ ควบคู่ไปกับการใช้ประโยชน์ และ “พื้นท่ีที่มีการขยายหลังปี ๒๕๕๔” เป็นต้นไป ประมาณ ๕.๘ เปอรเ์ ซน็ ต์ จะนาไปฟ้นื ฟูให้เป็นพน้ื ท่ปี า่ เพอื่ พัฒนาใหเ้ ปน็ พน้ื ทีต่ ้นนา้ ๒) ในระดับกรอบกติกาของชาติท่ีสัมพันธ์กับมาตรการจากการจัดระเบียบโลก ได้เข้ามามี บทบาทที่สาคัญในการตัดสินใจในทางนโยบายของรัฐมากข้ึน Sustainable Development Goals (SDGs) หรือ เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน เป็นความต่อเนื่องของการกาหนดเป้าหมายการพัฒนา โดย อาศัยกรอบความคิดที่มองการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ให้มีความเช่ือมโยงกัน โดยมี เป้าหมายคือการพิทักษ์ บูรณะ และส่งเสริมการใช้ประโยชนท์ ่ียั่งยืนของระบบนิเวศบนบก จัดการป่าไม้ อย่างย่งั ยนื การหยดุ ย้งั และฟน้ื ฟูความเสื่อมโทรมของทีด่ ิน ทรพั ยากรชีวภาพ ๓) ในระดับนโยบาย กฎหมาย ที่จาเป็นต้องเอ้ืออานวยให้เกิดกระบวนการมีส่วนร่วมการ ตรวจสอบจากภาคประชาชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในระดับของรัฐธรรมนูญและกฎหมายระดับต่างๆ ท่ี เกี่ยวข้องกับประเด็นสิทธิชุมชน ท่ีต้องนาไปสู่การสนับสนุนการจัดการทรัพยากรอย่างเป็นรูปธรรม ในทางปฏบิ ัติและมกี ติกาทีส่ อดคลอ้ งและเหมาะสมกับบรบิ ทของแตล่ ะท้องถ่ิน ๖๙

บทที่ ๕ สรปุ ผลกำรศึกษำและขอ้ เสนอแนะ ๕.๑ สรุปผลกำรศึกษำ นโยบายรัฐที่ยังไม่เปล่ียนทิศทางและกฎหมายท่ีไม่เป็นธรรมและขัดแย้งกับวิถีชีวิตยังเป็น เง่ือนไขใหญ่และเป็นข้อจากัดด้านการทามาหากินและวิถีชีวิตความเป็นอยู่ที่ส่งผลให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงต่อภายในชุมชนกะเหรี่ยงเอง กลายเป็นปัญหาที่กระทบต่อชาวกะเหรี่ยงในรูปแบบต่างๆ โดยเฉพาะวิถีการผลิตอาหาร ที่ไม่สามารถเข้าถึงทรัพยากรได้เช่นในอดีต ข้อจากัดท่ีเกิดจากขนาดพื้นท่ี ทามาหากิน สิทธิการใช้ประโยชน์จากป่าเพื่อยังชีพและขนาดของพ้ืนท่ีป่าท่ีจากัดลงเมื่อเทียบกับอดีต ผนวกกับการใช้ทรพั ยากรในรปู แบบด่งั เดิมและความตอ้ งการใช้จากคนในท่เี พิ่มขน้ึ และคนนอกทมี่ ากขึ้น แม้ชุมชนกะเหร่ียงจะได้รับผลกระทบ แรงกดดัน การกีดกันรอบด้านทั้งนโยบายและกฎหมายระเบียบ ราชการและกระแสสังคมที่ยังไม่ยอมรับวฒั นธรรมการดารงชวี ติ ของคนกะเหร่ียงหรอื ปาเกอญอ ดังกรณีชุมชนบ้านแม่อมกิ จะเห็นได้จากคาพิพากษาท่ีสามารถตีความได้ว่าศาลยอมรับในวิถี ชุมชนและเจตนาของจาเลยทั้งสอง แตย่ งั คงใหจ้ าเลยทัง้ สองออกจากพื้นทดี่ ้ังเดิมของพวกเขา แมผ้ ลของ คดีจะเป็นเฉพาะตัวบุคคลแต่ในความเป็นจรงิ ได้สะท้อนประเด็นของชุมชนกะเหรี่ยงท้ังหมดในประเทศ ไทยรวมถึงกลุ่มชาติพันธุ์อ่ืนที่ยงั คงมีวัฒนธรรมเฉพาะ ที่ยังต้องตกอยู่ในสภาวะเสี่ยง สภาวะล่อแหลมใน ด้านสิทธแิ ละความมั่นคงในการดารงชวี ิตต่อไป ดังกรณตี วั อยา่ งจากนโยบายของคณะกรรมการนโยบาย ที่ดินแห่งชาติ (คทช.) ภายใต้การดาเนินงานของรัฐบาลปัจจุบัน ยังปรากฎแนวโน้มท่ีจะส่งผลกระทบตอ่ สิทธิการใช้ท่ีดินของชุมชนกะเหรี่ยงอีกละรอก ดังกรณีตัวอย่างของชุมชนห้วยหินลาดที่รู้สึกสับสนและ เป็นกังวลเก่ียวกับการดาเนินการดังกล่าวที่ซ้าซ้อนและกระทบกับการดาเนินการแก้ไขปัญหาท่ีดินใน รูปแบบโฉนดชุมชนเดิม ซ่ึงสถานการณ์ด้านนโยบายดังกล่าว เป็นสัญญาณเตือนต่อชุมชนกะเหร่ียงและ เครือข่ายชุมชนกะเหรี่ยงจึงมีความพยายามเคล่ือนไหวรณรงค์เพ่ือผลักดันการรับรองสิทธิของคน กะเหรยี่ งอย่างต่อเน่ือง โดยเฉพาะในกลุ่มชุมชนกะเหร่ียงที่ยงั คงยดึ วิถีไร่หมุนเวียนเป็นหลัก อาทกิ ารจัด กิจกรรมสาคัญในการผลักดันสิทธิและการคุ้มครองวัฒนธรรมกะเหร่ียง ณ ชุมชนบ้านกลาง เมื่อปี ๒๕๖๐ ภายใต้กิจกรรม “๓ ทศวรรษ สิทธิชุมชน: ชาติพันธ์ุและชนเผ่ากับการจัดการทรัพยากรอย่าง ย่ังยืน” โดยชมุ ชนบ้านกลางเปน็ พืน้ ท่ีนาร่องตามมติคณะรฐั มนตรี ๓ สิงหาคม ๒๕๕๓ เรื่อง แนวนโยบาย ในการฟ้ืนฟูวิถีชีวิตชาวกะเหร่ียงและเขตวัฒนธรรมพิเศษท่ีมีสิทธิในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ ท่ีดิน ตลอดจนมีส่วนร่วมในการป้องกันภัยคุกคามต่อทรัพยากรในพื้นท่ี กิจกรรมดังกล่าวนับเป็นสัญลักษณะ สาคญั ในการพยายามต่อสู้เรืองสิทธิชุมชนกะเหร่ียงและเป็นการสื่อสารปะเด็นดังกล่าวต่อหนว่ ยงานรัฐท่ี เกย่ี วข้องและผ้คู นในสังคม จากกรณีศึกษาทั้งสี่ชุมชน เป็นตัวแทนของชุมชนกะเหร่ียงท่ีล้วนผ่านประวัติศาสตร์การ เปลี่ยนแปลงของชุมชนอันเกี่ยวข้องกับเงื่อนไขต่างๆ ท่ีเข้ามาสัมพันธ์ ตั้งแต่ในยุคการอพยพโยกย้าย บ้านเรือนและการตง้ั ถ่ินฐานจนถูกผนวกเข้ากบั ระบบราชการอย่างเป็นทางการ ยุคนโยบายการสัมปทาน ป่าไม้ของรัฐไทย การประกาศเขตป่าตามกฎหมายทับซ้อนพ้ืนท่ีชุมชน การดาเนินนโยบายด้าน ทรัพยากรธรรมชาติท่ีได้สง่ ผลกระทบเข้มข้นต่อชุมชนกะเหร่ียงตั้งแต่อดีตจนถึงยุคปัจจุบัน นโยบายการ พัฒนาบนพ้ืนที่สูง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการส่งเสริมการเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจเชิงเดี่ยวท่ีสร้างการ เปลี่ยนแปลงมากกว่ามิติการใช้พ้ืนที่ของชุมชน แต่ได้ส่งผลให้วิธีคิดและวิถีการดารงชีวิตของชุมชน ๗๐

กะเหร่ียงเปล่ียนแปลงไปมหาศาล ดังกรณีบ้านแม่ขี้มูก รวมถึงประสบการณ์การเคลื่อนไหวเรียกร้อง การแกไ้ ขปัญหาและความเปน็ ธรรมของทุกชุมชน ท่ยี งั คงดาเนินอยมู่ าถงึ ยุคปัจจุบันในลักษณะทีแ่ ตกต่าง กันตามแต่ละชว่ งสถานการณ์ ลักษณะการเปล่ียนแปลงในระบบไร่หมุนเวียนของทั้งสี่ชุมชนกรณีศึกษามีลักษณะต่างกัน ออกไปตามระดับความเข้มข้นของเง่ือนไขท่ีเข้ามาสัมพันธ์ ซึ่งส่งผลต่อลักษณะการปรับตัวของแต่ละ ชุมชน กรณีบ้านห้วยหินลาด บ้านกลางและบ้านแม่อมกิ การทาไร่หมุนเวียนยังเป็นวิถีหลักท่ีสาคัญมี ความใกลเ้ คยี งกับในอดีตและยงั พยายามยังรกั ษาระบบรอบและการพักฟน้ื แปลงให้ไดร้ ะยะยาวท่สี ุด แม้ จะถูกกดดันจากนโยบายการจัดการทรัพยากรของรัฐและพยายามปรับตัวเพ่ือสร้างหลักประกันในสิทธิ การอยอู่ าศัย การใชป้ ระโยชนใ์ นพ้ืนท่ี กระบวนการสร้างกลไก เครือ่ งมือด้านการบริหารจดั การท่ดี ินและ ทรัพยากรธรรมชาติของแต่ละชุมชนและการเข้าร่วมกับเครือข่ายภายนอกชุมชนเพื่อผลักดันการ เปลยี่ นแปลงระดบั นโยบายเปน็ หนง่ึ ในกลยทุ ธ์สาคัญในการสรา้ งความชอบธรรมแก่ชมุ ชน ในประเดน็ สาคัญนั้น ได้ช้ใี ห้เหน็ ถึงสถานการณ์สาคัญหลายประการท่ีกาลงั ส่งผลกระทบด้านลบ ท้ังในระดับชุมชนท้องถ่ินและมีแนวโน้มจะขยายความรุนแรงในอนาคตหากไม่ได้รับการแก้ไขปัญหา อย่างจริงจังและถูกทาง ได้แก่ การลดลงของพื้นท่ีแปลงไร่หมุนเวียนและการเปล่ียนแปลงไปสู่เกษตร เชงิ เดยี่ วจะสง่ ผลให้พืน้ ทส่ี ีเขียนและความหลากหลายทางชีวภาพลดลงจนระบบนิเวศเสยี สมดุล เม่ือเป็น ไร่ถาวรมากข้ึน ดังตัวอย่างแปลงไร่ข้าวโพดท่ีกลายเป็นลักษณะดอยโล่งเตียนมีเพียงต้นหญ้า เผชิญกับ การเส่ือมสภาพของดิน ดินเสพติดปุ๋ยและสารเคมี หากไม่ใส่ปุ๋ยพืชท่ีปลูกจะไม่ได้ผล ทาให้เกิดส าร ตกค้างในดิน ปนเป้ือนสู่น้าในลาห้วยและยังเกิดปัญหาการตกตะกอนของดินในลาห้วย หน้าดินไหล พังทลาย ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงเส้นทางการไหลของน้า พันธ์ุพืชท้องถ่ินท่ีเคยปลูกในไร่หมุนเวียน เริ่มลดลงและหลายชนิดจะต้องสูญหายไปเนื่องจากพืชบางชนิดไม่สามารถปลูกได้ในพื้นท่ีถาวรได้ เช่น ห่อวอ แตงกวา พืชตระกูลถ่ัว เห็ดหลายชนิดที่เกิดขึ้นจากต่อไม้ รวมถึงกระทบต่อการเล้ียงสตั ว์ เช่น วัว ท่เี คยสามารถทาควบคู่กันได้ในบริเวณแปลงไรห่ มุนเวียน เสีย่ งตอ่ การกินหญา้ หรือพชื ทป่ี นเป้ือนสารเคมี และการพนื้ ทีเ่ ล้ยี งสัตว์ ตวั อย่างเชน่ เม่อื ไม่สามารถเลยี้ งวัวในไร่ข้าวโพดได้ จึงจาเป็นตอ้ งหาพน้ื ท่ีใหม่ ซึ่ง มักจะขยับขยายลึกเข้าไปตามแนวชายป่า นอกจากนั้น ยังต้องเผิชญกับปัญหาหน้ีสิน ดังกรณีการปลูก ขา้ วโพดมีความเส่ียงด้านราคา ต้นทุนการผลิตและวงจรการกยู้ ืมเงินจากแหล่งทุน จนไมส่ ามารถจ่ายหน้ี ไดใ้ นรอบระยะสนั้ ได้ สถานการณก์ าร “ลดรอบหมนุ ” และ “ลดพืน้ ท่ีแปลงไรห่ มนุ เวียน” เปน็ ประเดน็ สาคัญจากการ เผชิญข้อจากัดดา้ นการใช้พ้ืนที่ เห็นไดช้ ดั เจนในพ้ืนที่กรณีศึกษา ท่ตี อ้ งปรับตัวดว้ ยการลดรอบหมนุ เวียน ลงเท่าที่จะทาให้ระบบไร่หมุนเวียนยังคงดาเนินต่อไปได้ หรือเท่าท่ีเงื่อนไขของพ้ืนที่จะสามารถ เอื้ออานวย และดูเหมือนว่าการจัดการพื้นท่ีทาไร่หมุนเวยี นในลักษณะผืนใหญ่รวมกัน ซ่ึงชุมชนสามารถ เข้าไปจัดการรอบหมุนเวียนได้ขณะที่การทาไร่ลักษณะแปลงกระจาย การตัดสินใจเลือกพื้นท่ีไร่ซาก ขึ้นอยู่กับเง่ือนไขของครอบครัวด้วย ตัวอย่างกรณีชุมชนห้วยหินลาดท่ีส่วนใหญ่ได้ลดรอบหมุนเวียนลง เหลือเพียง ๗-๘ ปี จากเดิมท่ีมีรอบหมนุ ถึง ๑๕-๒๐ ปี รอบหมุนและพักที่ส้นั ลงกาลังส่งผลกระทบอยา่ ง สาคัญในหลายประการจากระยะการพักฟื้นของดินท่ีไม่เพียงพอ ดินจึงขาดความอุดมสมบูรณ์และเกิด หญ้าข้ึนจานวนมาก ผลผลิตข้าวที่ได้ลดลง พืชผักไม่งอกงามและความม่ันคงทางอาหารและความ หลากหลายของพันธ์ุข้าวและพืชผักลดลงและยังเกิดโรคระบาดในข้าวมากข้ึนและสิ่งท่ีคนในชุมชนท่ี กาลังมีการปรับเปล่ียนวิถีการผลติ ไปสู่แบบอื่นได้สะท้อนข้อกังวลในขณะน้ี คือ การใช้สารเคมีในการฆ่า ๗๑

หญ้ามากข้ึนจากสถานการณ์ลดรอบหมุนและเป็นประเด็นร่วมสาคัญของชุมชนกรณีศึกษาในงานชิ้นน้ี (ยกเว้นชุมชนบ้านแม่ข้ีมูกน้อย) โดยจะเห็นว่าแต่ละชุมชนมีการปรับลดรอบหมุนลงอย่างต่อเน่ืองแม้ใน ยุคปัจจุบัน คนในชุมชนสะท้อนถึงแรงกดดันสาคัญจากกฎหมายด้านทรัพยากรท่ีบังคับใช้ในพื้นที่ ประกอบกับประเด็นด้านสิทธิชุมชนหรือ วัฒนธรรมพิเศษทางชาติพันธ์ุ ยังไม่ถูกรับรองและคุ้มครองใน ระดับของกฎหมายท่ีชัดเจน รวมทั้งนโยบายรัฐในช่วงสามปีที่ผ่านมายังส่งผลกระทบซ้าทับ ซึ่งเป็นตัว บ่งช้ีแนวโน้มของวิกฤตความสมดุลของระบบนิเวศในพ้ืนท่ี รูปแบบการทามาหากินของคนในชุมชนและ การเปล่ียนแปลงในวิถชี าตพิ นั ธุ์กะเหร่ียง ชุมชนกะเหรี่ยงที่ยังคงเกี่ยวข้องกับการทาไร่หมุนเวียนในแต่ละลักษณะ ทั้งชุมชนที่ยังคงทาไร่ หมุนเวียนเป็นวิถีชีวิตหลักท่ีใกล้เคียงกับในอดีตหรือยังไม่เปลี่ยนแปลงไปจากวิถีปกติ ชุมชนท่ี ไร่หมนุ เวียนไม่ได้เปน็ วถิ ีชีวิตหลัก ซ่ึงไม่หลงเหลือพน้ื ท่ไี ร่หมุนเวยี นและเร่ิมลดพืน้ ทอ่ี ย่างต่อเนือ่ ง รวมถงึ ชุมชนที่ปรับเปลี่ยนและปรับตัวในลักษณะผสมผสาน สู่การจัดการพื้นที่การใช้ประโยชน์ใหม่เพ่ือเพ่ิม พื้นท่ีนาข้าวพืชเศรษฐกิจอ่ืนๆ โดยกลุ่มนี้มีท้ังชุมชนที่ยังมีพ้ืนที่ไร่หมุนเวียนเป็นหลักในการตอบสนอง เรื่องข้าวเพื่อยังชีพในครอบครัว แต่เร่ิมมีแนวโน้มที่จะปรับไปสู่การพืชเชงิ เด่ียวมากขึ้น และยังพบกลุ่มที่ หันกลับไปทาไร่ในแปลงไร่หมุนเวียนเดิมท่ียุคหนึ่งเคยถูกปล่อยท้ิงไม่ทาประโยชน์และยังมีกรณีชุมชนท่ี ปัจจุบันเร่ิมมีการปรับลดพ้ืนท่ีพืชเชิงเด่ียวลงและมีแนวคิดฟ้ืนฟูระบบไร่หมุนเวียนของตัวเองกลับมา ลกั ษณะการปรบั ตวั ภายในชุมชนท่สี าคัญ เห็นไดจ้ ากการพัฒนากลไก เครือ่ งมือการดูแลจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติของตัวเอง เพ่ือสร้างการยอมรับในระดับสาธารณะและเป็นหนึ่งกลยุทธ์ต่อรองใน ระดับนโยบาย การแสดงความชัดเจนในระบบดังกล่าวจะเพ่ิมความชอบธรรมให้กับชุมชนในการอยู่ อาศัยในชุมชนในลักษณะท่ีเป็นไปเพื่อความอยู่รอดให้เคล้วคลาดต่อภัยทางนโยบาย ปฏิบัติการของ เจ้าหน้าท่ีรัฐในพ้ืนที่ หลายชุมชนเริ่มปรับตัวในมิติเศรษฐกิจ จากการถูกผนวกเชื่อมเข้าสู่เศรษฐกิจ สมัยใหม่มากขึ้น มีไลฟ์สไตล์เปล่ียนแปลงไปจากอดีต เกี่ยวข้องกับการใช้จ่ายเงินมากข้ึน ส่งผลให้ต้อง พฒั นากิจกรรมสร้างรายไดม้ ากขน้ึ เช่น การค้าขายของปา่ ตามฤดูกาล (หน่อไม้ หนอนไมไ้ ผ่ มะแขว่น ชา กาแฟ) รวมถึงการรว่ มกจิ กรรมเคล่ือนไหวเพื่อการแก้ไขปญั หาในระดับนโยบายรว่ มกับองคกร เครอื ข่าย ต่างๆ ตั้งแต่อดีตจนถึงช่วงรัฐบาลปัจจุบัน ท้ังในกรณีชุมชนที่พยายามรักษาระบบไร่หมุนเวียนและท้ัง กรณชี ุมชนท่ีสูญเสียระบบไร่หมนุ เวยี นไปแลว้ และพยายามกลบั มาฟ้นื ฟูและปรบั ตัวในรูปแบบใหม่ในการ ใชป้ ระโยชนแ์ ละดแู ลจัดการทรพั ยากรธรรมชาตใิ นพื้นทต่ี วั เอง ๕.๒ ข้อเสนอแนะจำกงำนศึกษำ ๑) คณะรัฐมนตรีควรกาหนดแนวทางปฏิบัตแิ ละสนับสนนุ ส่วนราชการเก่ียวกบั การจดั การท่ีดิน ของรัฐในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและการแก้ไขปรับปรุงกฎหมายให้สอดคล้องกับหลัก สิทธิมนุษยชนและเจตนารมณ์แหงราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ ควรใหป้ ระชาชนมีสว่ นรว่ มใน การกาหนดนโยบายสาธารณะเกี่ยวกับการอนุรักษ์ป่าไม้และควรสนับสนุนสิทธิร่วมของชุมชน (Common Property) เพื่อการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างมีประสิทธิภาพมากท่ีสุดตามกติการะหว่าง ประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม (International Covenant on Economics, Social and Cultural Rights: CESCR) โดยให้ชุมชนมีสิทธิร่วมกันเพื่อจะทาให้คานึงถึงสิทธิประโยชน์ ของตนและชุมชนในการจัดการทรัพยากรป่าไม้ โดยให้สิทธิและหน้าท่ีแก่คนในพื้นที่ที่จะบริหารจัดการ ทรัพยากรในบริเวณท่ีกาหนดตามความต้องการของกลุ่มภายใต้เงื่อนไขและข้อกาหนดตา่ งๆ และภาครัฐ จะตอ้ งปรบั เปลีย่ นบทบาทจากการเป็นผ้ปู ฏบิ ตั ิมาเป็นผู้กากับดแู ล ติดตามประเมินผล ๗๒

นอกจากน้ันแนวทางการแก้ไขปัญหาชุมชนที่อยู่อาศัยในเขตป่า ให้ใช้หลักคิดสิทธิชุมชนและ การมีส่วนร่วมของประชาชน โดยให้การกาหนดแนวเขตท่ีดินป่าไม้เป็นเร่ืองของประชาชน ชุมชนหรือ องคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่นิ ตกลงกนั เองโดยไม่ยดึ ติดกบั แนวเขตป่าไม้เดิมที่ประกาศในกฎหมายแต่เพียง ด้านเดียวและปฏิบัติการของเจ้าหน้าท่ีไม่ควรกระทาโดยการเหยียดหยามต่อศักด์ิศรีความเป็นมนุษย์ ขม่ ขู่ คุกคาม ใช้กาลังบงั คับหรอื ปฏบิ ัตโิ ดยไมเ่ ป็นธรรม ๒) ในระยะสั้นท่ียังไม่สามารถเพิกถอนเขตป่าประเภทต่างๆ ออกจากพื้นท่ีใช้ประโยชน์ตามวิถี ชุมชนหรือยังไม่สามารถแก้ไขกฎหมายด้านทรัพยากรธรรมชาติท่ีเก่ียวข้องได้ ให้กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะกระทรวงมหาดไทย กระทรวงวฒั นธรรม กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร คณะกรรมการอานวยการเพื่อฟ้ืนฟู วิถีชีวิตชาวกะเหร่ียงและเครือข่ายกลุ่มชาติพันธุ์ในแต่ละพื้นท่ีร่วมกันดาเนินการสารวจกาหนดขอบเขต พ้ืนท่ีไร่หมุนเวียนรวมถึงไร่ซากท้ังหมดของแต่ละหมู่บ้าน แล้วทาการขึ้นทะเบียนพื้นที่เหล่าน้ีท้ังหมด พร้อมประกาศให้เป็นเขตอนุรักษ์วัฒนธรรมพิเศษ หรือเขตนิเวศวัฒนธรรมเกษตรพ้ืนบ้านของคน กะเหร่ียง โดยพ้ืนท่ีท่ีข้ึนทะเบียนเท่าน้ันท่ีให้ทาไร่หมุนเวียนต่อไปได้ ส่วนในระยะยาว หน่วยงานรัฐ ข้างต้นต้องนาเสนอและผลักดันกฎหมายในระดับต่างๆ ให้รองรับสถานะภูมิทัศน์ทางนิเวศเศรษฐกิจ วัฒนธรรมของคนกะเหรีย่ ง อาทิ ขอ้ เสนอเรอื่ งกฎหมายรองรับเขตวัฒนธรรมพิเศษทางชาติพันธหุ์ รือการ เสนอกฎหมายใหม่หรือปรับปรุงแก้ไขกฎหมายป่าอนุรักษ์ทั้งหมดให้รองรับสิทธิชุมชนกะเหรี่ยงในเขต วัฒนธรรมพิเศษ รวมถึงการรองรับรองสิทธิชุมชนตามที่บัญญัติรัฐธรรมนูญท่ีเป็นรูปธรรมแก่ชุมชนหรือ เครือขา่ ยองค์กรชุมชนใหส้ ามารถใชป้ ระโยชน์และจัดการดูแลทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อให้เกดิ ความย่ังยืน และความมั่นคงของชีวิต โดยกระบวนการมีส่วนรว่ มท้ังจากทงั้ ภาครัฐและภาคประชาชน ๓) เพื่อเป็นการสร้างความเชื่อม่ันและสร้างสรรค์บรรยากาศของความร่วมมือระหว่างรัฐกับ ชุมชนบนพื้นที่สูง คณะรัฐมนตรี รวมถึงหน่วยงานฝ่ายความมั่นคง อาทิ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงกลาโหม กองอานวยการรักษาความม่ันคงภายในราชอาณาจักร (กอ.รมน.) รวมถึงกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ต้องออกคาส่ังอย่างเป็นทางการให้มียุติมาตรการแนวทางของรัฐที่ เป็นการคุกคามและลิดรอนสิทธิของชุมชนบนพ้ืนท่ีสูง เช่น การจับกุมดาเนินคดีสมาชิกของชุมชนท่ีอยู่ อาศัยและทากินในพื้นที่เดิม รวมท้ังการดาเนินกิจกรรมของรัฐที่อาจส่งผลกระทบต่อวิถีชีวิตของชุมชน ทอ้ งถิ่นทีอ่ าศัยและทากนิ ในเขตปา่ โดยการดาเนินโครงการหรือมาตรการใดๆ ควรเปิดใหม้ กี ระบวนการ มีส่วนร่วมและการตัดสินจากชุมชนด้วยความโปร่งใสและเป็นธรรมและมอบหมายให้หน่วยงานที่ เก่ียวข้องสนับสนุนบทบาทของชุมชนบนพ้ืนที่สูงท่ีมีศักยภาพในการใช้ประโยชน์และการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน ภายใต้รูปแบบการผลิตท่ีสอดคล้องกับระบบนิเวศวิทยาและภูมิปัญญา ท้องถิน่ โดยรับรองสิทธิในการอยู่อาศัยและการทากินทีม่ ัน่ คงแก่ชมุ ชน ท้งั นี้เพ่อื เปน็ การลดความขัดแย้ง และการเผชิญหน้าระหว่างเจ้าหน้าท่ีป่าไม้กับชุมชน นอกจากน้ียังเป็นการสร้างแรงจูงใจให้ชุมชนบน พื้นท่ีสูงหันมาให้ความสาคัญกับปรับเปลี่ยนรูปแบบการผลิตท่ีมีแนวโน้มท่ีจะนาไปสู่ภาวะความเส่ียงใน เรือ่ งความมัน่ คงทางอาหารและการทาลายทรพั ยากร เชน่ การปลกู พืชพาณิชย์เชงิ เดยี่ ว ๗๓

๔) ในการประกาศพ้ืนท่ีอนุรักษ์แห่งใหม่และการขยายพ้ืนที่จากเขตเดิม ไม่ควรประกาศเขต อนุรักษ์เพ่ือหวงกันเพียงให้ได้จานวนพื้นท่ีตามนโยบายป่าไม้แห่งชาติเท่านั้น ในกรณีจาเป็นที่จะต้องมี การประกาศควรให้ประชาชนมีส่วนรว่ มในการกาหนดและรับรู้ถึงแผนการดาเนินการของภาครฐั รวมถึง เปดิ โอกาสให้มกี ารโตแ้ ยง้ คดั ค้านในกระบวนการ ๕) คณะรัฐมนตรีควรกาหนดมาตรการชัดเจนในการดาเนินนโยบายหรือโครงการใดๆ ของ หน่วยงานรัฐและเอกชนที่จะส่งผลกระทบต่อการใช้ประโยชน์ในท่ีดินและทรัพยากรของชุมชนท้องถ่ิน โดยตอ้ งดาเนินกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน โดยเฉพาะผู้มสี ่วนไดเ้ สียก่อนการอนุญาตให้เข้าทา ประโยชน์ (ตามบทบัญญัติมาตรา ๕๗ และมาตรา ๕๘ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐) เพ่ือเป็นหลักประกันว่าสิทธิของประชาชนผู้ได้รับผลกระทบหรืออาจได้รับ ผลกระทบจากการประกอบกิจการหรือโครงการใดๆ จะได้รบั การค้มุ ครองตามรัฐธรรมนญู และพนั ธกรณี ระหว่างประเทศทป่ี ระเทศไทยเขา้ เป็นภาคี ๖) รัฐบาลต้องมองหมายให้หน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง โดยเฉพาะกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงมหาดไทย กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ร่วมกับแต่ละชุมชมกาหนดแนวทางและนโยบายที่ชัดเจนในการ ส่งเสริมให้ชุมชนบนพ้ืนที่สูงปรับรูปแบบการผลิตในระบวนเกษตร ไร่หมุนเวียน การจัดการป่าชุมชนให้ สามารถพัฒนา คิดค้นการผลิตท่ีเหมาะสมกับบริบทของสภาพพ้ืนท่ี เพ่ือเน้นส่งเสริมมิติด้านเศรษฐกิจ ท้องถิ่นควบคู่กับการดูแลรักษาฐานทรัพยากรธรรมชาติ เช่น จัดต้ังกองทุนเพื่ออนุรักษ์และฟื้นฟูไร่ หมนุ เวียน พัฒนาพนั ธุกรรมข้าวและพืชอาหารท้องถน่ิ การพัฒนาพืชยาสมนุ ไพร ๗) รัฐบาลต้องมอบหมายให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ร่วมกับหน่วยงานสาคัญด้านการศึกษาวิจัย ของประเทศ อาทิ สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) มหาวิทยาลัยต่างๆ ให้สนับสนุนงานศึกษาวิจัยเพ่ือพัฒนาประสิทธิภาพและความย่ังยืนการผลิต ของไร่หมุนเวียนให้มีความสมบูรณ์ย่ิงขึ้นสอดรับกับการเปล่ียนแปลงทางสภาพแวดล้อม เศรษฐกิจและ นโยบาย อาทิ การส่งเสริมให้เกิดการวิจัยและแลกเปลี่ยนความรู้กันระหว่างชุมชนกับนักวิชาการ การ พัฒนาเทคโนโลยีการผลิตของไร่หมุนเวียนแต่ละด้าน เช่น การคัดเลือก จัดการพันธุกรรมข้าว การปลูก การบารุงดนิ การจดั การโรค เปน็ ต้น ๘) สนับสนุนการสร้างความเข้าใจต่อรัฐและสังคมให้ตระหนักถึงความสาคัญของระบบไร่ หมุนเวยี นในฐานะเปน็ ส่วนหน่ึงของภูมิทศั น์ทางนเิ วศ เศรษฐกจิ วัฒนธรรมท่มี บี ทบาทหน้าท่หี ลากหลาย และบูรณการ อันจะทาให้รัฐและสังคมเห็นความสาคัญในการคุ้มครอง การพัฒนาและร่วมกันคิดค้น เครอ่ื งมอื ทางนโยบาย รวมถงึ กฎหมายที่มีความสอดคล้อง ๗๔

เอกสำรอ้ำงอิง ภำษำไทย กาญจนา เงารังสีและคณะ. ๒๕๕๘. “บทท่ี ๕ พลังความคิดและภูมิปัญญา”. ในอานันท์ กาญจนพันธ์ุ (บก.). กากึ้ดกาปาก งานวจิ ยั วฒั นธรรมภาคเหนอื . เชียงใหม่: ภาควิชาสังคมวทิ ยาและ มานุษวทิ ยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่. กระทรวงวฒั นธรรม. ๒๕๕๕. รายงานผลการดาเนนิ การตามมติคณะรฐั มนตรี เรือ่ ง แนวนโยบาย ในการฟื้นฟูวิถีชวี ติ ชาวกะเหรี่ยง. กรงุ เทพฯ: ศนู ย์บริการขอ้ มูลขา่ วสาร สานกั เลขาธิการ คณะรัฐมนตรี กฤษฎา บุญชัย, พรพณา ก๊วยเจริญและคณะ. ๒๕๕๗. งานวิจัยโครงการศึกษาไร่หมุนเวียนของ กะเหรี่ยงเพ่ือเสนอเป็นมรดกภูมปิ ญั ญาทางวัฒนธรรม. กระทรวงวฒั นธรรม คณะกรรมการอานวยการบรู ณาการเพื่อฟนื้ ฟวู ถิ ีชีวติ ชาวกระเหร่ยี ง. ๒๕๕๔. แนวนโยบายและ หลักปฏิบตั ใิ นการฟน้ื ฟูวิถชี ีวติ ชาวกะเหรยี่ ง. กรุงเทพฯ: โรงพิมพแ์ ห่งจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย. ชลธิรา สัตยาวัฒนาและคณะ. ๒๕๔๖. “สิทธิชุมชนวิถีเอเชีย: การศึกษาเปรียบเทียบ”. ในรัตนาพร เศรษฐกุลและคณะ. สิทธิชุมชนท้องถ่ินชาวเขาในภาคเหนือของประเทศไทย: อดีตและปัจจุบนั กรณีศึกษาและ ปญั หา. กรงุ เทพฯ: นิตธิ รรม. ป่ินแก้ว เหลอื งอรา่ มศร.ี ๒๕๓๙. ภมู ปิ ญั ญานเิ วศวทิ ยาชนพ้นื เมอื ง: ศกึ ษากรณชี มุ ชนกะเหรี่ยงในป่ า ทุ่ ง ใหญน่ เรศวร. กรงุ เทพฯ: โครงการฟ้ืนฟูชีวิตและธรรมชาต.ิ พงศเ์ สวก เอนกจานงค์พรและนวพร ศิริบันเทิงศลิ ป์. ๒๕๕๓. สิทธิชมุ ชนกับการแก้ปญั หาความ เหลื่อมลา้ ในสังคมไทย. กรุงเทพฯ: มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร. (เอกสารอดั สาเนา) พุฒพิ งศ์ นวกจิ บารงุ และชลธริ า ปัญญา. ๒๕๕๘. รายงานวจิ ยั ฉบับสมบรู ณโ์ ครงการศึกษาปจั จัยเอ้ือและ ข้อจากัดต่อการบริหารจัดการท่ีดินและทรัพยากรธรรมชาติโดยชุมชนอย่างย่ังยืน: กรณีศึกษา ชุมชนตน้ แบบเครอื ข่ายปฏริ ปู ทดี่ นิ ภาคเหนอื . (เอกสารอัดสาเนา) ยศ สันตสมบัติ. ๒๕๔๒. ความหลากหลายทางชีวภาพและภูมิปัญญาท้องถ่ินเพ่ือการพัฒนาอย่างย่ังยืน. เชียงใหม่: ภาควิชาสงั คมวิทยาและมนษุ ยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม.่ ศราวธุ ปทุมราช. ๒๕๔๘. ขอ้ กฎหมายและข้อตกลงระหว่างประเทศทเี่ กยี่ วขอ้ งกับสทิ ธิชนเผ่า ในประเทศไทย. เชียงใหม่: สมาคมศูนยร์ วมการศกึ ษาและวัฒนธรรมของชาวไทยภเู ขา. สุมิตรชัย หัตสาร. ๒๕๕๙. โครงการศึกษาปัจจัยเอ้ือและข้อจากัดต่อการบริหารจัดการท่ีดินและ ทรัพยากรธรรมชาติโดยชุมชนอย่างย่ังยืน: กรณีศึกษาชุมชนต้นแบบเครือข่ายปฏิรูปที่ดิน ภาคเหนอื . (เอกสารอดั สาเนา) สบื สกุล กิจนกุ ร. ๒๕๕๘. รายงานผลกระทบปฏบิ ัตกิ ารตามคาส่ัง คสช. ฉบบั ๖๔/๒๕๕๗, ฉบับที่ ๖๖/๒๕๕๗ และแผนแม่บทการแก้ไขปัญหาการทาลายทรัพยากรป่าไม้ การบุกรุกที่ดิน ของรัฐและการบริหารการจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างย่ังยืน. กรุงเทพฯ: สานักประสาน การพัฒนาสังคมสุขภาวะ. ๗๕

สานกั งานคณะกรรมการสิทธมิ นษุ ยชนแหง่ ชาต.ิ มปป. “สนธสิ ญั ญาดา้ นสทิ ธิมนษุ ยชน” [ระบบออนไลน์] แหล่งทมี่ า http://www.nhrc.or.th/Human-Rights knowledge/International-Human-Rights-Affairs/International-Law-of-human- rights.aspx?lang=th-TH (๒๐ มีนาคม ๒๕๖๐) ____ ๒๕๕๑. รายงานผลการตรวจสอบการละเมิดสทิ ธมิ นษุ ยชน ประจาปี ๒๕๔๙: สทิ ธิชมุ ชน. กรุงเทพฯ: บรษิ ทั ยูเนยี่ นอุลตรา้ ไลโอเชต จากัด. ______๒๕๕๒. รายงานผลการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน ปี ๒๕๕๐ เล่ม ๓ สิทธิชุมชนฐาน ทรัพยากร: สิทธิในการจัดการที่ดิน ป่า พลังงานและอุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ: บริษัทรุ่งศิลป์ การพมิ พ์ (1997) จากัด. ______๒๕๕๓. รายงานผลการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน ปี ๒๕๕๑ เล่ม ๓ สิทธิชุมชนฐาน ทรพั ยากร: สทิ ธิในการจัดการทีด่ ิน ปา่ พลงั งานและอตุ สาหกรรม. (ม.ป.ท.). ______๒๕๕๗. รายงานท่ี ๖๘๓ – ๗๒๔/๒๕๕๘ เร่ือง สิทธิในการจัดการท่ีดินและป่า กรณีประชาชน รอ้ งเรยี นการดาเนินการของเจา้ หน้าที่รฐั อา้ งคาส่ังคณะรักษาความสงบแห่งชาติฉบบั ท่ี ๖๔/๒๕๕๗ และฉบับที่๖๖/๒๕๕๗ ก่อให้เกิดปญั หาการละเมดิ สทิ ธิมนษุ ยชน อรุณรัตน์ วิเชียรเขียวและคณะ. ๒๕๔๖. “สิทธิชุมชนพื้นเมืองดั้งเดิมของล้านนา: ศึกษากรณีชุมชม ลวั ะ ล้ือ ปกาเกอญอ (กะเหร่ยี ง) ในเขตจังหวดั น่าน แพรแ่ ละเชยี งใหม่”. ในรตั นาพร เศรษฐกุล และคณะ. สทิ ธิ ชุมชนท้องถิ่นชาวเขาในภาคเหนือของประเทศไทย: อดีตและปัจจุบัน กรณศี กึ ษาและปัญหา. กรงุ เทพฯ: นิติธรรม. อานันท์ กาญจนพันธุ์. ๒๕๖๐. พ้ืนท่ีความรู้ มานุษยวิทยา คนสามัญ ๗๐ ปี อานันท์ กาญจนพันธุ์. เชยี งใหม่. ภาควชิ าสงั คมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่ ______๒๕๔๗. “ระบบการเกษตรแบบไร่หมุนเวียน: สถานภาพและความเปล่ียนแปลง(เล่ม 2)”. เชยี งใหม่: คณะสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่. อานุภาพ นุ่นสง. ๒๕๕๗. ๕ ทศวรรษความเปลี่ยนแปลงในชนบทภาคเหนือ: ศึกษาการจัดการสมบัติ ชุมชนของชมุ ชนและหยอ่ มบ้าน อ.แมแ่ จม่ จ.เชียงใหม่ พ.ศ. 2500-2550. กรุงเทพฯ: สถาบนั พัฒนาองค์กรชุมชน ภำษำองั กฤษ Barney, K. ๒๐๐๘. “China and the Production of Forestlands in Laos: A Political Ecology of Transnational Enclosure”. In J. Nevins and N. L. Peluso (ed.'s). Taking Southeast Asia to Market: Commodities, Nature, and People in the Neoliberal Age. Cornell University Press. C. B. Macpherson 1987. “The meaning of property”, in Property: Mainstream and Critical Position. Toronto: University of Toronto Press. Chris M. Hann. 1998. “Introduction: the embeddedness of property”. In Chris M. Hann, ( ed.) Property Relations: Renewing the Antropological Tradition, Cambridge: Cambridge University Press. ๗๖

Cramb, R. A. 2015 “Busy people, idle land: The changing role of swidden fallows in Salawak In :Shifting Cultivation and Environmental Change: Indigenous People, Agriculture and Forest Conservation, M.Cairns (Ed). Earthscan from Routledge, New York, USA. Hollowell A. Irving. 1943. “The nature and function of property as a social institution”. Journal of Legal and Political Sociology. Keen, F. G. B. 1983. Land Use In Highlanders of Thailand, ed. J. McKinnon and W. Bhruksasri, Kuala Lumpur: Oxford University Press. Moore, Donald S. 1993. “Contesting terrain in Zimbabwe’s Eastern Highlands: political ecology, ethnography, and peasant resource struggles.” Economic Geography. Sajise, P.E. 2015. Biodiversity and swidden agroecosystems: An analysis and some implications. In: Shifting Cultivation and Environmental Change: Indigenous People, Agriculture and Forest Conservation, M.Cairns (Ed). Earthscan from Routledge, New York, USA. Siebert, Stephen F., Belsky, Jill M., Wangchuk, S. and Riddering, J, 2015. “The end of swidden in Bhutan: Implications for forest cover and biodiversity”, In: Shifting Cultivation and Environmental Change: Indigenous People, Agriculture and Forest Conservation, M.Cairns (Ed). Earthscan from Routledge, New York, USA. Van Noordwijk, M., Minang, P. A. and Hairiah, K. 2015. “Swidden transitions in an era of climate-change debate” In: Shifting Cultivation and Environmental Change: Indigenous People, Agriculture and Forest Conservation, M.Cairns (Ed). Earthscan from Routledge, New York, USA. ๗๗


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook