Challenging Quality Outcomes in Hemodialysis วุฒิเดช โอภาศเจริญสุข, พ.บ. June 24, 2022 หัวหน้าหน่วยวิชาโรคไต ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ รองประธาน คณะอนุกรรมการตรวจรับรองมาตรฐานการรักษาโดยการฟอกเลือดด้วยเคร่ืองไตเทียม (ตรต.) ราชวิทยาลัยอายุรแพทย์แหง่ ประเทศไทย อุปนายก และกรรมการบริหาร สมาคมโรคไตแหง่ ประเทศไทย Challenging Quality Outcomes in Hemodialysis Quality Concepts of quality in hemodialysis เกณฑ์และแนวทางการตรวจรบั รองมาตรฐานการรกั ษาโดยการฟอกเลอื ดด้วย เครือ่ งไตเทียม Safety
Standards in Health Care: Quality & Safety Quality
Quality of Care Definition? “the right care for the right patient at the right time” Institute of Medicine: “the degree to which healthservices for individuals and populations increase the likelihood of desired health outcomes and are consistent with current professional knowledge.” Quality metrics in dialysis care Dialysis process measures Comorbid process measures Outcome measures Dialysis adequacy Lipid management Standardized mortality Vascular access (fistula > graft > Glycemic control Standardized hospitalization rate catheter) Diabetic foot care Standardized transplantation rate Target hemoglobin Secondary cardiovascular protection Quality-adjusted life years Mineral metabolism (phosphorus, calcium, parathyroid) Adequate immunizations Patient safety Nutrition status Age-appropriate screening Patient satisfaction Infection rates Adapted from: Himmelfarb J, Kliger AS. End-stage renal disease: measures of quality. Annu Rev Med 2007; 58: 387–399
HRQOL What matters most “Quality Pyramid” Mortality Hospitalization Pt. experience Measures of Effectiveness Fluid overload Med mgmt Diabetes Limb loss MBD mgmt EOL care Complex Programs CVD Infections Safety Depression Missed Tx Others … Hb/Hct Kt/V Weight gain CVC/AVF PTH Phosphorus The Fundamentals Iron URR Sodium Albumin Calcium Others … AVF, arteriovenous fistula; CVD, cardiovascular disease; CVC, central venous catheter; EOL, end Adapted from: Nissenson AR. J Am Soc Nephrol 2014; 9: 430–434. of life; HRQOL, health related quality of life; MBD, mineral and bone disorder; Med, medical; mgmt, management; Pt., patient; PTH, parathyroid hormone; tx, treatment; URR, urea reduction ratio. What Matters Most? For patients with advanced kidney disease, the end is improving the quality of their lives. “Health Related Quality of Life: those aspects of overall quality of life that can be clearly shown to affect health—either physical or mental.” Finally, when patients were asked what best described what they were seeking in ESRD care, the three most common responses were “living better” “a better life” and “treating the whole me” Nissenson AR. J Am Soc Nephrol 2014; 9: 430–434.
HRQOL What matters most “Quality Pyramid” Mortality Hospitalization Pt. experience Measures of Effectiveness Fluid overload Med mgmt Diabetes Limb loss MBD mgmt EOL care Complex Programs CVD Infections Safety Depression Missed Tx Others … Hb/Hct Kt/V Weight gain CVC/AVF PTH Phosphorus The Fundamentals Iron URR Sodium Albumin Calcium Others … AVF, arteriovenous fistula; CVD, cardiovascular disease; CVC, central venous catheter; EOL, end Adapted from: Nissenson AR. J Am Soc Nephrol 2014; 9: 430–434. of life; HRQOL, health related quality of life; MBD, mineral and bone disorder; Med, medical; mgmt, management; Pt., patient; PTH, parathyroid hormone; tx, treatment; URR, urea reduction ratio.
Measures of Effectiveness “If one starts with the top of the hierarchy—the overarching goal to improve the lives of patients with kidney disease—it is necessary, if one is to accomplish this goal, to improve survival, decrease hospitalizations, and optimize the patient experience with care, which are outcomes on the highest tier of our pyramid as primary clinical outcomes“poor performance on these basic indicators will ensure poor intermediate clinical outcomes?” Nissenson AR. J Am Soc Nephrol 2014; 9: 430–434. Patient Experience Patient-reported outcome measures (PROM): HRQOL and/or symptoms can be measured from a patient perspective, without interpretation by anyone else, using self-administered, validated questionnaires. The use of PROMs may complement clinician-reported outcomes by eliciting actionable information about patient HRQOL and/or symptoms and possibly assisting with the alignment of patient and clinician care priorities Patient experience of care is now formally recognized as a crucial element of healthcare quality alongside patient safety and clinical effectiveness and its measurement can facilitate a patient-centred approach to evaluating healthcare quality. Patient experience of care may be objectively measured using patient-reported experience measures (PREMs). Aiyegbusi OL, et al. Curr Opin Nephrol Hypertens 2017; 26: 442–449.
Consumer Assessment of Healthcare Providers and Systems In-Center Hemodialysis (CAHPS-ICH) survey
HRQOL What matters most “Quality Pyramid” Mortality Hospitalization Pt. experience Measures of Effectiveness Fluid overload Med mgmt Diabetes Limb loss MBD mgmt EOL care Complex Programs CVD Infections Safety Depression Missed Tx Others … Hb/Hct Kt/V Weight gain CVC/AVF PTH Phosphorus The Fundamentals Iron URR Sodium Albumin Calcium Others … AVF, arteriovenous fistula; CVD, cardiovascular disease; CVC, central venous catheter; EOL, end Adapted from: Nissenson AR. J Am Soc Nephrol 2014; 9: 430–434. of life; HRQOL, health related quality of life; MBD, mineral and bone disorder; Med, medical; mgmt, management; Pt., patient; PTH, parathyroid hormone; tx, treatment; URR, urea reduction ratio.
Complex Program There is a constellation of potential intermediate clinical outcomes—complex clinical areas that, if optimized, are most likely to drive the desired improvements in primary clinical outcomes. For example, recent analysis of claims data taken from USRDS shows that cardiovascular disease—caused or worsened by acute/chronic fluid overload, infection, and diabetes— accounts for the majority of hospitalizations. Nissenson AR. J Am Soc Nephrol 2014; 9: 430–434.
Complex Program Additionally, we believe that appropriate medication management is clearly critically important if hospitalizations are to be avoided, but quantifying the contribution of medication errors and complications is not possible to tease out from claims data. Other potential intermediate clinical outcomes, like depression and missed treatments, have been shown to impact primary outcomes as well. Nissenson AR. J Am Soc Nephrol 2014; 9: 430–434.
The Fundamentals The basic indicators form the lower layer of the hierarchy “poor performance on these basic indicators will ensure poor intermediate clinical outcomes?” Nissenson AR. J Am Soc Nephrol 2014; 9: 430–434. ตวั อยา่ งตวั ช้วี ดั เชิงคุณภาพพืน้ ฐานของหน่วยไตเทียม ตวั ชี้วัดเชิงคุณภาพ 1. ร้อยละของผู้ป่วยที่มคี ่าเฉลี่ยของระดบั ฮีโมโกลบนิ ตำ่ กว่า 10 กรมั ต่อเดซลิ ติ ร 2. รอ้ ยละของผปู้ ่วยทม่ี คี า่ เฉลยี่ ของระดับฮีโมโกลบนิ มากกว่า 11.5 กรัมตอ่ เดซิลติ ร 3. ร้อยละของผู้ปว่ ยที่มีค่าเฉลี่ยของ Kt/V น้อยกวา่ 1.2 (ฟอกเลือด 3 คร้ังตอ่ สัปดาห)์ 4. ร้อยละของผปู้ ว่ ยที่มคี ่าเฉลย่ี ของ Kt/V นอ้ ยกว่า 1.8 (ฟอกเลือด 2 ครง้ั ตอ่ สปั ดาห์) 5. ร้อยละของผปู้ ่วยทมี่ คี ่าเฉลย่ี ของระดบั serum calcium มากกวา่ 10.2 มลิ ลกิ รัมต่อเดซิลติ ร 6. ร้อยละของผู้ป่วยท่มี ีคา่ เฉลี่ยของระดับ serum phosphorus มากกวา่ 5.0 มลิ ลกิ รมั ต่อเดซลิ ิตร 7. ร้อยละของผ้ปู ่วยผูใ้ หญท่ ี่ได้รบั การฟอกเลอื ดผา่ นทาง arteriovenous fistula หรอื graft 8. รอ้ ยละของผู้ป่วยผ้ใู หญท่ ่ีได้รับการฟอกเลือดเปน็ ประจำผา่ นทาง temporary venous catheter นานกว่า 90 วัน 9. รอ้ ยละของผู้ปว่ ยทม่ี ีค่าเฉลีย่ ของระดับ serum albumin น้อยกวา่ 3.5 กรัมต่อเดซิลติ ร
TRT Annual Report 2017—2020: Anemia Management TRT Annual Report 2007—2015: Anemia Management
TRT Annual Report 2016—2019: Dialysis Adequacy TRT Annual Report 2015: Dialysis Adequacy
TRT Annual Report 2015: Dialysis Adequacy TRT Annual Report 2017—2020: CKD-MBD Management & Albumin
TRT Annual Report 2015: CKD-MBD Management TRT Annual Report 2015: CKD-MBD Management
TRT Annual Report 2015: CKD-MBD Management TRT Annual Report 2020: Vascular Access
TRT Annual Report 2015: Serum albumin TRT Annual Report 2015: Serum albumin
TRT Annual Report 2020: Outcomes The Fundamentals Some basic indicators are not achieved (data from TRT) Anemia Adequacy Ca, P, PTH Serum albumin “excellent performance on the basic indicators is necessary but not sufficient to lead to excellent primary outcomes.” Nissenson AR. J Am Soc Nephrol 2014; 9: 430–434.
HRQOL What matters most “Quality Pyramid” Mortality Hospitalization Pt. experience Measures of Effectiveness Fluid overload Med mgmt Diabetes Limb loss MBD mgmt EOL care Complex Programs CVD Infections Safety Depression Missed Tx Others … Hb/Hct Kt/V Weight gain CVC/AVF PTH Phosphorus The Fundamentals Iron URR Sodium Albumin Calcium Others … AVF, arteriovenous fistula; CVD, cardiovascular disease; CVC, central venous catheter; EOL, end Adapted from: Nissenson AR. J Am Soc Nephrol 2014; 9: 430–434. of life; HRQOL, health related quality of life; MBD, mineral and bone disorder; Med, medical; mgmt, management; Pt., patient; PTH, parathyroid hormone; tx, treatment; URR, urea reduction ratio.
คณุ ภาพของการดแู ลรักษาสำหรบั กระบวนการฟอกเลือดดว้ ยเครอ่ื งไตเทียม ประเภท ตัวอย่างตัวชวี้ ดั คณุ ภาพสำหรบั กระบวนการฟอกเลอื ด โครงสรา้ งของหน่วยไตเทยี ม •พ้ืนท่ี วสั ดุ อปุ กรณ์ (เชน่ เครอื่ งไตเทียม, ระบบผลติ นำ้ •ผลการตรวจสารปนเปอื้ นและการเพาะเชือ้ สำหรบั นำ้ บรสิ ุทธิ์ บริสทุ ธิ์ เปน็ ตน้ ) •จำนวนพยาบาลผเู้ ชีย่ วชาญด้านไตเทยี มและพยาบาลไตเทียม •บคุ ลากร (เช่น คุณวุฒิ จำนวน) •อัตราสว่ นพยาบาลไตเทียมต่อผู้ปว่ ยฟอกเลอื ดต่อรอบ •การตรวจเย่ียมโดยแพทยเ์ จา้ ของไข้ ซง่ึ ต้องเป็นอายุรแพทย/์ กมุ ารแพทย์โรคไต หรือ •การบรหิ ารจัดการ (เชน่ แพทย์หวั หน้าหนว่ ยไตเทียม) อายุรแพทย/์ กุมารแพทย์ที่ผ่านการอบรมด้านไตเทยี ม กระบวนการดแู ลรกั ษา •ผลตรวจคุณภาพของการรักษาและการฟอกเลอื ด เชน่ ความเขม้ ขน้ ของเลอื ด, ระดบั •การดแู ลรกั ษาตามมาตรฐานวิชาชีพ และการเฝา้ ระวงั ภาวะ แคลเซยี มและฟอสฟอรัส, ความเพียงพอของการฟอกเลือด (URR, Kt/V), เป็นต้น •การวางแผนการรกั ษาขน้ั สงู (Advance care planning) ของผ้ปู ่วยแตล่ ะราย แทรกซ้อน •การประเมินและรกั ษาภาวะแทรกซอ้ น ผลลพั ธ์ของการรักษา •อัตราตาย •ผลลัพธต์ อ่ สขุ ภาวะของผ้ปู ่วยทง้ั ทางกาย จิตใจ และ •อตั รารบั ไว้รกั ษาในโรงพยาบาล •ความพึงพอใจ และประสบการณ์ของผ้ปู ว่ ย พฤติกรรมสขุ ภาพ •คณุ ภาพชวี ติ “!\"!.” #$%%&'\"?
แพทยสภา ราชวิทยาลยั อายุรแพทยแ์ หง่ ประเทศไทย คณะอนกุ รรมการตรวจรบั รองมาตรฐานการรกั ษา โดยการฟอกเลือดด้วยเครือ่ งไตเทยี ม (ตรต.) กองทุน หนว่ ยไตเทยี ม ต่างๆ เกณฑก์ ารตรวจรับรองมาตรฐาน การรกั ษาโดยการฟอกเลอื ดด้วยเคร่ืองไตเทียม ฉบับปรบั ปรุงปี พ.ศ. ๒๕๕๗ แพทยสภา (แกไ้ ขเพ่ิมเตมิ พ.ศ. ๒๕๖๐)
เกณฑ์การตรวจรบั รองมาตรฐานการรกั ษาโดยการฟอกเลอื ดดว้ ย เคร่ืองไตเทยี ม ฉบับปรบั ปรุงปี พ.ศ. ๒๕๕๗ มาตรฐานปี พ.ศ. ๒๕๕๗ องค์ประกอบที่ ๑ สถานพยาบาล องค์ประกอบที่ ๒ หน่วยไตเทียม องคป์ ระกอบที่ ๓ การใหบ้ รกิ าร องคป์ ระกอบท่ี ๔ บคุ ลากร องคป์ ระกอบท่ี ๕ สถานที่ องคป์ ระกอบที่ ๖ เคร่ืองไตเทียมและตวั กรอง องค์ประกอบท่ี ๗ ระบบผลิตนำ้ บรสิ ุทธ์ิ องคป์ ระกอบที่ ๘ อปุ กรณแ์ ละยาในการช่วยชีวติ องค์ประกอบที่ ๙ แบบบันทกึ และคูม่ อื ปฏิบตั ิงาน องคป์ ระกอบท่ี ๑๐ การประเมนิ และตดิ ตามผปู้ ว่ ย องค์ประกอบท่ี ๑๑ กระบวนการพฒั นาหน่วยไตเทียม องคป์ ระกอบที่ ๑ สถานพยาบาล มาตรฐานปี พ.ศ. ๒๕๕๗ ๑. ต้องมเี ตียงรบั ผปู้ ว่ ยนอนคา้ งคืน (ผู้ปว่ ยใน) ๒. ในกรณที ไี่ มม่ เี ตยี งรับผู้ปว่ ยนอนค้างคืน ต้องมโี รงพยาบาลใกลเ้ คยี งทม่ี บี รกิ ารไตเทยี มในระยะทางท่ี สามารถสง่ ต่อผปู้ ว่ ยไดอ้ ยา่ งปลอดภยั เพื่อรบั รักษาต่อ
องค์ประกอบท่ี ๒ หนว่ ยไตเทยี ม (๑) มาตรฐานปี พ.ศ. ๒๕๕๗ ๑. แพทย์หวั หนา้ หนว่ ยไตเทยี ม ซงึ่ มหี นา้ ทีร่ ับผิดชอบในการบริหารจดั การหนว่ ยไตเทียม ตอ้ งเปน็ อายุรแพทย์โรคไต- กมุ ารแพทยโ์ รคไต หรือเป็นอายรุ แพทยท์ ว่ั ไป-กมุ ารแพทยท์ ว่ั ไปทีจ่ บการอบรมดา้ นไตเทียม และไดร้ ับประกาศนียบัตร รับรองจากราชวทิ ยาลัยอายรุ แพทยแ์ หง่ ประเทศไทย โดยจะต้องมอี ายรุ แพทยโ์ รคไต กมุ ารแพทย์โรคไตเป็นท่ีปรึกษา ๒. พยาบาลหัวหนา้ หนว่ ยไตเทียม ซงึ่ มหี น้าทรี่ บั ผดิ ชอบในการบรหิ ารจัดการหนว่ ยไตเทยี ม ต้องไดร้ บั ประกาศนียบัตร พยาบาลผเู้ ชีย่ วชาญการฟอกเลอื ดด้วยเครื่องไตเทียมจากสมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย กรณที ส่ี ถานพยาบาลไม่มบี คุ ลากรตามวรรคข้างต้น จะต้องมีพยาบาลที่จบการอบรมหลักสูตรการฟอกเลือดด้วยเครื่อง ไตเทยี มจากสถาบันทส่ี มาคมโรคไตแห่งประเทศไทยและสภาการพยาบาลรับรอง และจะต้องปรับสถานะเป็นพยาบาล ผู้เช่ยี วชาญการฟอกเลือดด้วยเครือ่ งไตเทยี มภายในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ องคป์ ระกอบท่ี ๒ หน่วยไตเทยี ม (๒) มาตรฐานปี พ.ศ. ๒๕๕๗ ๓. ตอ้ งมีทตี่ ้งั หน่วยทแ่ี ยกออกจากหอผูป้ ว่ ยอ่ืนอยา่ งชดั เจน (Chronic Hemodialysis) ๔. ควรมกี ารดำเนนิ การโดยสถานพยาบาลเอง หรือ ในกรณเี อกชนอื่นเปน็ ผดู้ ำเนนิ การ มสี ญั ญาในการร่วมใช้สถานที่ และการบรกิ ารอ่ืนๆ ของสถานพยาบาลรว่ มกัน โดยมแี พทย์หวั หน้าหน่วยไตเทียมร่วมรบั ทราบ ๕. ควรมโี ครงสร้างการบรหิ ารหน่วยท่ีชดั เจน
องคป์ ระกอบท่ี ๓ การให้บรกิ าร มาตรฐานปี พ.ศ. ๒๕๕๗ ๑. ตอ้ งมกี ารเปดิ ให้บรกิ ารฟอกเลอื ดด้วยเครือ่ งไตเทียม ตามระยะเวลาท่สี ถานพยาบาลกำหนด ๒. ต้องมีการใหบ้ ริการนอกเวลาในกรณีฉกุ เฉนิ หรอื มรี ะบบการสง่ ตอ่ ๓. ควรมกี ารให้บริการรกั ษาผู้ป่วยโดย Acute hemodialysis ๔. ควรมกี ารให้บรกิ ารรักษาผู้ป่วยโดย CAPD ๕. ควรมกี ารให้บริการรักษาผปู้ ว่ ยโดย CRRT องคป์ ระกอบที่ ๔ บุคลากร (๑) มาตรฐานปี พ.ศ. ๒๕๕๗ ๑. แพทย์ผู้ดูแลผปู้ ว่ ยต้องเป็นอายุรแพทย์โรคไต กุมารแพทย์โรคไต หรอื อายรุ แพทยท์ ว่ั ไป กมุ ารแพทยท์ วั่ ไปที่จบการอบรมดา้ นไตเทยี ม และได้รับประกาศนยี บัตรรบั รองจากราชวิทยาลยั อายรุ แพทยแ์ หง่ ประเทศไทย โดยจะต้องมอี ายรุ แพทย์โรคไต กมุ ารแพทย์โรคไตเปน็ ทีป่ รึกษา ๒. ตอ้ งมแี พทยป์ ฏิบัติงานในชว่ งเวลาทใ่ี หบ้ รกิ ารฟอกเลือดดว้ ยเคร่ืองไตเทียม ในสถานพยาบาลทหี่ อ้ งไตเทียมตัง้ อยู่
องคป์ ระกอบท่ี ๔ บุคลากร (๒) มาตรฐานปี พ.ศ. ๒๕๕๗ ๓. ต้องมพี ยาบาลอย่างน้อย ๑ คนท่ีไดร้ ับประกาศนยี บตั รพยาบาลผูเ้ ชี่ยวชาญการฟอกเลอื ดดว้ ยเครอื่ งไตเทยี มจาก สมาคมโรคไตแห่งประเทศไทยดแู ลผู้ปว่ ยแบบเตม็ เวลา (ไม่น้อยกว่า ๓๐ ชม.ต่อสปั ดาห์ หรอื ร้อยละ ๗๐ ของรอบที่ เปดิ บริการ) กรณที ่สี ถานพยาบาลไมม่ ีบคุ ลากรตามวรรคข้างตน้ จะต้องมพี ยาบาลที่จบการอบรมหลกั สูตรการฟอกเลอื ดด้วยเคร่ือง ไตเทยี มจากสถาบันทส่ี มาคมโรคไตแหง่ ประเทศไทยและสภาการพยาบาลรับรอง และจะต้องปรบั สถานะเป็นพยาบาล ผ้เู ชย่ี วชาญการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทยี มภายในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ ๔. การฟอกเลือดในผปู้ ว่ ยไตวายเรอ้ื รงั ระยะสุดทา้ ยทีม่ อี าการคงท่ี ตอ้ งมอี ตั ราสว่ นของ พยาบาลผเู้ ช่ียวชาญ ไตเทียม และ/หรอื พยาบาลทผี่ า่ นการฝึกอบรมหลักสูตรการฟอกเลือดดว้ ยเครอ่ื งไตเทียมจากสถาบนั ท่สี มาคมโรคไตแห่ง ประเทศไทยและสภาการพยาบาลรบั รองต่อผู้ปว่ ยไม่น้อยกว่า ๑ : ๔ และมพี ยาบาลหรือผู้ช่วยปฏบิ ัตงิ านรว่ มด้วยใน สดั ส่วนเดยี วกัน องค์ประกอบท่ี ๔ บคุ ลากร (๓) มาตรฐานปี พ.ศ. ๒๕๕๗ ๕. ควรมีกระบวนการพฒั นาบุคคลากร และรักษาคุณภาพของการบริการในเจา้ หนา้ ท่ีทุกระดบั อย่างเป็นระบบ โดย กำหนด competency level, orientation, training policy
องค์ประกอบท่ี ๕ สถานท่ี (๑) มาตรฐานปี พ.ศ. ๒๕๕๗ ๑. ต้องมีพน้ื ท่หี นว่ ยบริการเฉลยี่ ไมน่ อ้ ยกว่า ๔ ตารางเมตรตอ่ ๑ หน่วยบริการ ๒. ต้องมกี ารแยกพนื้ ที่เฉพาะสำหรับหอ้ งเตรยี มนำ้ บรสิ ุทธอิ์ อกจากพืน้ ท่บี ริการ ๓. ต้องมีการแยกพน้ื ท่ีเฉพาะสำหรบั ล้างตวั กรองออกจากพ้นื ที่บรกิ าร และพ้ืนทห่ี ้องเตรียมน้ำบรสิ ทุ ธ์ิ ๓.๑ พืน้ ท่ลี า้ งตวั กรองตอ้ งมีระบบระบายอากาศที่เหมาะสม ๓.๒ ในกรณที ม่ี ีการล้างตัวกรองในผู้ป่วยติดเชอ้ื ไวรัสตบั อักเสบบีและตับอกั เสบซี ตอ้ งมกี ารแยกอา่ งลา้ งตวั กรองตดิ เชอ้ื ไวรัสตับอักเสบบอี อกจากไวรสั ตับอกั เสบซี และอา่ งลา้ งตวั กรองไมต่ ิดเช้อื โดยตัง้ อา่ งลา้ งห่างกันหรอื มีผนงั กัน้ ที่ สามารถป้องกนั การปนเปือ้ นข้ามอ่าง ๔. ตอ้ งมอี ่างลา้ งมอื สำหรบั ผปู้ ่วยกอ่ นเขา้ รบั การฟอกเลือด องค์ประกอบท่ี ๕ สถานท่ี (๒) มาตรฐานปี พ.ศ. ๒๕๕๗ ๕. ตอ้ งมพี น้ื ท่ีหอ้ งพกั ของพยาบาลเปน็ สดั ส่วน ๖. ตอ้ งมีเตียงนอนหรือเปลเข็นนอนสำหรบั ผ้ปู ่วยอยา่ งน้อย ๑ เตียงในกรณีฉุกเฉนิ ชว่ ยฟ้ืนคนื ชพี (CPR) ๗. ต้องมีระบบการควบคมุ การติดเช้อื ในหน่วยไตเทียม ๘. ตอ้ งมีระบบการกำจัดขยะติดเชอื้ ๙. ควรมรี ะบบบำบัดนำ้ เสยี ๑๐. ควรมีการแยกพืน้ ท่หี อ้ งเกบ็ ของ
ทางสัญจรร่วมในสว่ นที่ใหบ้ ริการผูป้ ่วยซ่งึ ตอ้ งมีการขนส่งผู้ปว่ ยโดยเตยี งเขน็ ตอ้ งกว้างไม่น้อยกวา่ 2 เมตร ตามกฎกระทรวงกำหนดลักษณะของสถานพยาบาลและลกั ษณะการใหบ้ รกิ ารของ สถาน พยาบาล พ.ศ. ๒๕๕๘ หมวด ๒ ขอ้ ๖ (๔) แห่งพระราชบัญญตั ิสถานพยาบาล พ.ศ. 2541
A > 1.8 m HD HD HD HD HD HD 2 m Bed B Bed Bed Bed Bed Bed Chronic HD Y C > 2.0 m E NT working station Chronic HD R A Acute HD N C E Bed Bed Bed Bed 2m HD HD HD HD X องค์ประกอบท่ี ๖ เคร่ืองไตเทียม และตวั กรอง มาตรฐานปี พ.ศ. ๒๕๕๗ ๑. ต้องมหี นว่ ยงานในสถานพยาบาลดูแล หรอื มีสญั ญาจ้างบรษิ ทั เหมาดแู ลเครื่องไตเทียม ๒. ตอ้ งมีการฆา่ เชอ้ื เครือ่ งไตเทยี ม (disinfection) หลงั การฟอกเลอื ดทนั ที สำหรบั ผู้ปว่ ยตดิ เชือ้ ไวรสั ตับอักเสบบี ตบั อกั เสบซี เอชไอวี และผู้ปว่ ยฟอกเลอื ดฉุกเฉินทย่ี งั ไมม่ ผี ลการตรวจ ๓. ในกรณีทใ่ี ช้เครอื่ งล้างตวั กรองอัตโนมัตริ ว่ มดว้ ย ต้องมีการฆ่าเชอ้ื หลงั จากการลา้ งตวั กรองติดเชื้อ ๔. ตอ้ งไมใ่ ชส้ ายส่งเลือดซ้ำสำหรับผ้ปู ่วยตดิ เช้อื ไวรสั ตับอกั เสบบี และไวรสั ตับอกั เสบซี ๕. ต้องไม่ใชต้ วั กรองและสายสง่ เลือดซำ้ สำหรับผปู้ ว่ ยตดิ เช้อื เอชไอวี ๖. ควรมีการแยกเคร่อื งไตเทียมเฉพาะสำหรับผู้ปว่ ยติดเช้อื ไวรสั ตบั อักเสบบแี ละซี ๗. ควรมีการแยกเครือ่ งไตเทียมเฉพาะสำหรับผูป้ ว่ ยฉกุ เฉิน (Acute hemodialysis)
องคป์ ระกอบที่ ๗ ระบบผลติ นำ้ บรสิ ุทธิ์ (๑) มาตรฐานปี พ.ศ. ๒๕๕๗ ๑. ต้องมีหนว่ ยงานในสถานพยาบาลดูแล หรอื มีสัญญาจา้ งบรษิ ัทเหมาดูแลระบบผลิตน้ำบริสทุ ธ์ิ ๒. สว่ นประกอบของระบบผลิตน้ำบริสทุ ธิ์ ๒.๑ ต้องมชี ดุ pre-treatment ทีม่ ีประสิทธิภาพเหมาะสมกับคณุ ภาพน้ำดิบ ๒.๒ ต้องมชี ุด carbon filterในลักษณะสองถงั วางต่อกันแบบอนกุ รม ๒.๓ ต้องมชี ดุ ผลิตนำ้ บริสทุ ธ์เิ ปน็ ระบบ Reverse osmosis (RO) ๒.๔ ตอ้ งมี Pre-RO filter ขนาดไมใ่ หญก่ ว่า ๕ ไมครอน องคป์ ระกอบที่ ๗ ระบบผลติ นำ้ บรสิ ุทธ์ิ (๒) มาตรฐานปี พ.ศ. ๒๕๕๗ ๓. ส่วนประกอบของระบบการจา่ ยนำ้ บรสิ ุทธิ์ ๓.๑ ระบบจ่ายนำ้ ตอ้ งเป็นชนดิ ไหลวนกลับ (recirculation loop) กรณี indirect feed (มถี ังเกบ็ นำ้ บรสิ ทุ ธ)ิ์ ตอ้ งมีการเปิดน้ำหมุนวนตลอด ๒๔ ชั่วโมง กรณี direct feed (ไมม่ ีถังเกบ็ น้ำบรสิ ทุ ธ)์ิ ควรมีการเปิดน้ำหมุนวนเปน็ ระยะๆ อย่างนอ้ ยทกุ ๔ ชัว่ โมงในระหวา่ งทหี่ ยุดให้บรกิ ารผปู้ ่วย ๓.๒ ถ้าเป็นระบบ indirect feed ต้องมรี ะบบปอ้ งกันการก่อตวั หรอื การแพร่กระจายเชอื้ โรคในระบบจา่ ยน้ำบรสิ ทุ ธ์ิ อย่ตู ลอดเวลา โดยการใช้ filter ขนาด ๐.๒ ไมครอนและ UV light ๓.๓ ถงั เก็บนำ้ บริสทุ ธแ์ิ ละท่อส่งน้ำบรสิ ุทธ์ติ ้องผลิตจากวสั ดไุ มเ่ กิดสนิม ๓.๔ ตอ้ งมีเครอ่ื งวดั ความบรสิ ุทธ์ขิ องน้ำ (Conductivity meter หรือ resistivity meter หรอื TDS meter) ชนิด on-line ในระบบจา่ ยนำ้ หรอื ในระบบผลิตน้ำบริสุทธิ์
องค์ประกอบที่ ๗ ระบบผลิตน้ำบริสทุ ธิ์ (๓) มาตรฐานปี พ.ศ. ๒๕๕๗ ๔. การบำรุงรกั ษาระบบผลิตนำ้ บริสทุ ธ์ิ ๔.๑ ต้องมกี ารตรวจคณุ ภาพของชุด pre-treatment เปน็ ประจำ และต้องตรวจหาปรมิ าณคลอรนี ในน้ำที่ไหลผา่ น ออกจาก carbon filter ถังแรกทุกวนั ท่ีเปดิ ทำการ กอ่ นเร่มิ ให้บริการผูป้ ่วย ๔.๒ กรณมี ีชุด softener เปน็ ส่วนประกอบ ต้องมกี ารตรวจสอบความกระด้างของนำ้ ทีไ่ หลผา่ นออกจากชดุ softener เป็นประจำอย่างน้อยทกุ ๑ สัปดาห์ และต้องมีการ regenerate สารกรองชุดลดความกระดา้ งเปน็ ระยะ ๔.๓ ต้องมีการตรวจสอบคุณภาพของชุด RO เป็นประจำทกุ วัน องค์ประกอบท่ี ๗ ระบบผลติ นำ้ บรสิ ุทธิ์ (๔) มาตรฐานปี พ.ศ. ๒๕๕๗ ๕. การบำรงุ รกั ษาระบบการจ่ายน้ำบริสทุ ธ์ิ ๕.๑ ตอ้ งมกี ารอบฆา่ เชอ้ื ในระบบจา่ ยน้ำบรสิ ทุ ธิอ์ ยา่ งน้อยทุก ๖ เดอื น ด้วยวธิ ีท่เี หมาะสม และตอ้ งทำกอ่ นกำหนด เมอ่ื พบวา่ มกี ารแพรก่ ระจายเช้อื ในระบบจา่ ยนำ้ มากกวา่ เกณฑท์ ่ีกำหนด (เชน่ ตรวจพบแบคทีเรียในระบบจ่ายนำ้ บริสทุ ธ์ิมากกวา่ ๑๐๐ cfu/ml จากจดุ ตรวจสองตำแหน่งขึน้ ไปพร้อมกัน หรือพบสองครงั้ ติดต่อกันของวงรอบการ ตรวจ) ๕.๒ ตอ้ งมกี ารเปลี่ยนอุปกรณต์ ่างๆ ตามระยะเวลา เชน่ bacteria filter, หลอดไฟ UV, air filter เป็นต้น
องคป์ ระกอบที่ ๗ ระบบผลิตนำ้ บรสิ ุทธ์ิ (๕) มาตรฐานปี พ.ศ. ๒๕๕๗ ๖. การตรวจคุณภาพน้ำบริสุทธ์ิ ๖.๑ ต้องมีการเกบ็ ตัวอยา่ งน้ำบรสิ ุทธ์สิ ง่ เพาะเช้ือ เป็นประจำทุก ๑ เดือน และตรวจหาปริมาณ endotoxin ทกุ ๓ เดอื น โดย media ทีใ่ ช้ในการเพาะเชือ้ ตอ้ งเป็น trypticase soy agar หรอื R2A agar หรือ tryptone glucose extract จากตำแหนง่ ต่อไปนี้ ๑) ปลายทางของระบบจา่ ยนำ้ บริสุทธิ์ ๒) จดุ ท่ีใช้ลา้ งและเตรยี มตัวกรองเพ่อื นำกลบั มาใช้ซำ้ ๓) จุดเตรียมนำ้ ยาไตเทยี มเข้มข้น (ถ้ามี) องคป์ ระกอบท่ี ๗ ระบบผลิตน้ำบริสุทธิ์ (๖) มาตรฐานปี พ.ศ. ๒๕๕๗ ๖. การตรวจคณุ ภาพนำ้ บรสิ ุทธ์ิ ๖.๒ ตอ้ งมกี ารเกบ็ ตัวอยา่ งจาก dialysis fluid ของเคร่ืองไตเทยี มแต่ละเครื่อง ส่งเพาะเชื้อเป็นประจำทกุ ๑ เดือน หมนุ เวยี นกนั จนครบทุกเคร่อื งในเวลา ๑ ปี และสมุ่ ตรวจหาปรมิ าณ endotoxin ทกุ ๓ เดอื น ยกเว้นกรณมี กี ารใช้ endotoxin retentive filter ทีไ่ ด้รบั การพิสูจน์ยึนยนั ถงึ ประสิทธิผลตามท่กี ำหนดจากบรษิ ัทผผู้ ลิตกรอง dialysis fluid ก่อนนำไปใช้ อาจไม่จำเป็นตอ้ งสง่ ตรวจเพาะเชื้อและ endotoxin ๖.๓ กรณมี ีการทำ Hemodiafiltration ต้องมีการเกบ็ ตวั อย่างนำ้ บรสิ ทุ ธิ์ ในระบบจา่ ยน้ำบรสิ ุทธจ์ิ ากตำแหนง่ ตาม ข้อ ๖.๑ ส่งตรวจหาปรมิ าณ Endotoxin เปน็ ประจำทุก ๑ เดอื น ๖.๔ ตอ้ งมกี ารสง่ นำ้ บริสทุ ธิ์ตรวจหาสารปนเปอื้ นทางเคมตี ามมาตรฐานของสมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย อย่างนอ้ ย ปลี ะ ๑ ครง้ั
องค์ประกอบที่ ๘ อปุ กรณแ์ ละยาในการช่วยชวี ติ (๑) มาตรฐานปี พ.ศ. ๒๕๕๗ ต้องมีอปุ กรณแ์ ละยาพรอ้ มใชด้ งั ตอ่ ไปนี้ ๑. Oxygen supply (pipeline หรอื tank) ๒. Ambu bag ๓. Laryngoscope ๔. Endotracheal tube และ guidewire ๕. Oral air way (Mouth gag) ๖. เครอื่ งดดู เสมหะ / suction pipeline ๗. Adrenaline ๘. ๗.๕% Sodium bicarbonate ๙. ๑๐% Calcium gluconate ๑๐. ๕๐% Glucose องคป์ ระกอบที่ ๘ อุปกรณแ์ ละยาในการช่วยชวี ิต (๒) มาตรฐานปี พ.ศ. ๒๕๕๗ ควรมอี ปุ กรณแ์ ละยาพรอ้ มใช้ดงั ตอ่ ไปน้ี ๑๑. Atropine ๑๒. Amiodarone ๑๓. Dopamine ๑๔. Defibrillator ๑๕. EKG monitoring
องคป์ ระกอบท่ี ๙ แบบบนั ทกึ และคู่มือปฏิบัติงาน (๑) มาตรฐานปี พ.ศ. ๒๕๕๗ ๑. แบบลงทะเบยี นการรกั ษาทดแทนไต (TRT) ๑.๑ ตอ้ งมีการสง่ ขอ้ มลู TRT ทงั้ ขอ้ มูลศูนย์ และข้อมูลผปู้ ว่ ย ๑.๒ ต้องมีการสง่ ข้อมูล TRT ท้งั ขอ้ มูลศนู ย์ และ ขอ้ มลู ผู้ปว่ ยทุกรายอยา่ งครบถ้วน (ตามองค์ประกอบ ๑๐ ข้อ ๑ – ๗) ๑.๓ ศนู ยไ์ ตเทยี มต้องมี TRT coordinator ท่ไี ดร้ ับการอบรม อยา่ งน้อย ๑ คน* องค์ประกอบท่ี ๙ แบบบนั ทกึ และคู่มอื ปฏบิ ัตงิ าน (๒) มาตรฐานปี พ.ศ. ๒๕๕๗ ๒. แบบบนั ทึกสำหรบั การบริการการฟอกเลอื ดด้วยเครื่องไตเทียม ๒.๑ ต้องมีการใชแ้ บบบันทกึ คำยนิ ยอมของผู้ปว่ ยในการฟอกเลอื ดด้วยเคร่ืองไตเทียม (Hemodialysis informed consent) เป็นประจำ ครั้งแรกและทุก ๖ เดอื น ๒.๒ ต้องมกี ารใชแ้ บบบันทึก Hemodialysis flow chart ทุกครงั้ ๒.๓ ตอ้ งมีการใชแ้ บบบันทึกผปู้ ว่ ยแรกเข้ารับบรกิ ารการฟอกเลอื ดด้วยเครอ่ื งไตเทียม (ประวัติ และการตรวจร่างกาย โดยสงั เขป) (ดตู ัวอยา่ งภาคผนวก) ๒.๔ ต้องมกี ารใช้ hemodialysis prescription ครง้ั แรกและมกี ารทบทวนเป็นระยะอยา่ งนอ้ ยทุก ๓ เดือน โดย แพทย์ ๒.๕ ควรมี medication record ครั้งแรกและมีการทบทวนรายการยาเปน็ ระยะ ๒.๖ ควรมกี ารใช้แบบบนั ทกึ ผลการตรวจทางห้องปฏิบัตกิ ารเปน็ ประจำ
องคป์ ระกอบที่ ๙ แบบบนั ทึกและคู่มอื ปฏิบัตงิ าน (๓) มาตรฐานปี พ.ศ. ๒๕๕๗ ๓. ค่มู อื ปฏิบัติงาน ๓.๑ ต้องมกี ารนำคมู่ อื การดแู ลผู้ปว่ ยและเตรียมผปู้ ่วยก่อนการฟอกเลอื ดดว้ ยเครื่องไตเทียม มาปฏบิ ัติ ๓.๒ ต้องมกี ารนำคมู่ ือการให้การพยาบาลผู้ป่วยระหวา่ งการฟอกเลอื ดด้วยเครอื่ งไตเทยี มมาปฏบิ ัติ ๓.๓ ต้องมีการนำคมู่ อื การส้นิ สุด (off) และการดแู ลภายหลงั การฟอกเลือดดว้ ยเครือ่ งไตเทียมมาปฏบิ ัติ ๓.๔ ต้องมีการนำคมู่ ือการล้างทำความสะอาดและฆ่าเช้อื ตวั กรองและสายเลือด (Dialyzer and bloodline reprocessing) มาปฏิบตั ิ(ถ้ามีการ reuse) ๓.๕ ต้องมีการนำคมู่ อื การเตรียมตัวกรองและสายเลือดเพอื่ ใชก้ ับผู้ป่วย (Dialyzer and blood line preparation) มา ปฏบิ ตั ิ ๓.๖ ควรมีการนำคู่มือการทำความสะอาดและฆา่ เช้อื เครือ่ งไตเทียมภายหลังที่ใชแ้ ลว้ มาปฏิบตั ิ ๓.๗ ควรมกี ารนำค่มู ือในการแก้ไขภาวะ แทรกซ้อนขณะฟอกเลือด เชน่ cardiovascular instability, cardiac arrest, air emboli, cramps, chills มาปฏิบตั ิ องค์ประกอบท่ี ๑๐ การประเมินและติดตามผปู้ ว่ ย (๑) มาตรฐานปี พ.ศ. ๒๕๕๗ ๑. ตอ้ งมกี ารตรวจเยย่ี มผ้ปู ่วยโดยอายุรแพทย์โรคไต-กมุ ารแพทย์โรคไต หรืออายุรแพทยท์ ่ัวไป- กมุ ารแพทย์ทวั่ ไปที่จบ การอบรมดา้ นไตเทยี มและไดร้ ับประกาศนยี บัตรรบั รองจากราชวทิ ยาลยั อายรุ แพทย์แหง่ ประเทศไทย อย่างนอ้ ยทุก ๒ สปั ดาห์ ๒. ตอ้ งมกี ารส่งตรวจ routine lab ได้แก่ CBC, BUN, creatinine, electrolyte, calcium, phosphate, albumin เมอื่ แรกเขา้ และอย่างน้อยทุก ๓ เดอื น ๓. ตอ้ งมีการสง่ ตรวจ Adequacy of dialysis ไดแ้ ก่ KT/V, URR เมื่อแรกเข้าและอยา่ งนอ้ ยทกุ ๓ เดือน ๔. ต้องมกี ารสง่ ตรวจ HBsAg (ถา้ ผลตรวจยงั เปน็ ลบ), HBsAb, Anti-HCV เม่ือแรกเขา้ และอย่างน้อยทกุ ๖ เดอื น ๕. ต้องมีการส่งตรวจ EKG เมื่อแรกเข้า และอย่างนอ้ ยปีละครง้ั ๖. ต้องมีการสง่ ตรวจ CXR เม่ือแรกเขา้ และอย่างนอ้ ยปีละคร้ัง
องคป์ ระกอบท่ี ๑๐ การประเมินและตดิ ตามผู้ปว่ ย (๒) มาตรฐานปี พ.ศ. ๒๕๕๗ ๗. ควรมกี ารขอส่งตรวจ anti-HIV เมื่อแรกเข้า ๘. ควรมกี ารประเมนิ vascular access function และ complications ไดแ้ ก่ infection rate, thrombosis rate, และ graft failure rate ๙. ควรมกี ารสง่ ตรวจ Iron study เมอ่ื แรกเขา้ และตอ่ ไปอย่างน้อยทกุ ๖ เดอื น ๑๐. ควรมกี ารส่งตรวจ Serum intact PTH อย่างนอ้ ยทกุ ๖ เดอื น ๑๑. ควรมีการส่งตรวจ Lipid profile เมอื่ แรกเข้าและตอ่ ไปอยา่ งนอ้ ยทกุ ๑๒ เดือน ๑๒. ควรมีการส่งตรวจ Liver function test ทุก ๑๒ เดือน องคป์ ระกอบที่ ๑๑ กระบวนการพฒั นาหนว่ ยไตเทียม (๑) มาตรฐานปี พ.ศ. ๒๕๕๗ ๑. ควรมกี ระบวนการให้ความร้แู ก่ผู้ป่วย หรอื ผ้ดู ูแลผปู้ ว่ ย จนสามารถรับรเู้ ข้าใจและนำไปปฏบิ ตั ไิ ด้ (เช่น ความรเู้ รื่อง โรคแทรกซ้อน และสิทธกิ ารรกั ษาต่างๆ) ๒. ควรมีแนวทางปฏบิ ตั ิในกรณีฉุกเฉนิ ให้ผปู้ ว่ ยรับทราบ และมีวธิ ีการส่ือสารกับแพทย์เจ้าของไข้ ๓. ควรมสี มุดประจำตวั ผู้ป่วยท่ีมีการปรบั ข้อมลู ใหท้ ันสมยั อย่เู สมอ ๔. ควรมี Dialysis conference / case review / incident report review ๕. ถา้ เป็นหนว่ ยไตเทียมในโรงพยาบาล ส่วนของโรงพยาบาลควรมสี ว่ นรว่ มในการตรวจสอบคุณภาพภายในของหนว่ ย ไตเทยี ม และเชอ่ื มโยงกับการพฒั นาคุณภาพของโรงพยาบาล ๖. ควรมีระบบการสือ่ สาร กับหน่วยงานอ่นื ท่มี สี ่วนร่วมดแู ลผู้ป่วย
องคป์ ระกอบที่ ๑๑ กระบวนการพัฒนาหน่วยไตเทยี ม (๒) มาตรฐานปี พ.ศ. ๒๕๕๗ ๗. ควรมกี ารติดตามอตั ราการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการฟอกเลอื ดด้วยเคร่อื งไตเทยี ม (เช่น hypotension, chill, cramp, CPR, exit-site infection) และมี incident reports ๘. ควรมกี ารตดิ ตาม patient survival, admission rate, technique failure, dropout rate ๙. ควรมกี ารประเมินตดิ ตามคุณภาพชีวติ ของผู้ปว่ ย แนวทางการตรวจรับรองมาตรฐาน การรกั ษาโดยการฟอกเลอื ดด้วยเคร่ืองไตเทียม ฉบบั ปรับปรุงปี พ.ศ. ๒๕๕๗ แพทยสภา (แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. ๒๕๖๐)
การสมัครเพอ่ื รบั การประเมนิ หน่วยไตเทยี ม หนว่ ยไตเทยี มส่งรายงานการประเมินตนเองทมี่ กี ารลงลายมือช่ือของแพทยผ์ รู้ บั ผดิ ชอบ หน่วยไตเทยี ม, หัวหน้าพยาบาลหน่วยไตเทยี ม, ผู้อำนวยการโรงพยาบาลหรอื หวั หน้า สถานพยาบาล และชำระเงินคา่ ธรรมเนียมการตรวจประเมินฯ ท่ีราชวิทยาลยั อายรุ แพทย์แหง่ ประเทศไทย หนว่ ยไตเทยี มทขี่ อต่ออายุการรบั รอง ต้องสมัครเพือ่ รับการประเมินก่อนท่จี ะหมดอายกุ าร รบั รองอย่างนอ้ ย ๖ เดอื น เพ่อื ทีค่ ณะอนุกรรมการ ตรต. ไปตรวจประเมินหน่วยไตเทยี ม ก่อนหมดอายกุ ารรบั รอง การสมคั รเพื่อรับการประเมินหน่วยไตเทยี ม หน่วยไตเทียมสง่ รายงานการประเมนิ ตนเอง เพ่ือขอต่ออายุการรบั รอง ๖ เดอื น วนั ทหี่ มดอายุการรับรอง ก่อนหมดอายกุ ารรบั รอง
การตรวจและรบั รองหนว่ ยไตเทยี มทข่ี อตอ่ อายุการรบั รอง หนว่ ยไตเทียมสง่ แบบประเมนิ ตนเอง* กรรมการ ตรต. ตรวจประเมิน พรอ้ ม ไมพ่ รอ้ ม รบั รองเป็นทางการตอ่ อกี ๔ ปี ให้เวลาแกไ้ ขปรับปรงุ ไม่เกิน ๓ เดอื น** ไมพ่ ร้อม ไมร่ ับรอง *ต้องใช้แบบประเมินตนเองของสมาคมฯ และมีลายมอื ช่ือ ของแพทย,์ หัวหนา้ พยาบาล, และผอู้ ำนวยการฯ ** หรือตามที่คณะกรรมการตรวจรับรองกำหนด การตรวจและรบั รองหน่วยไตเทยี มใหม่ทยี่ ังไมเ่ คยรบั การประเมนิ มาก่อน หนว่ ยไตเทยี มสง่ แบบประเมินตนเอง* กรรมการ ตรต. ตรวจประเมิน รบั รองช่ัวคราว พร้อม ไมพ่ ร้อม ๖ เดอื น ให้เวลาแก้ไขปรับปรุง ครบ ๖ เดือน ไม่เกิน ๓ เดือน** ส่งข้อมูลผู้ปว่ ย, TRT, การตรวจระบบนำ้ รบั รองชัว่ คราว พรอ้ ม ไมพ่ รอ้ ม ตอ่ อกี ๖ เดอื น ครบ ๑ ปี ไม่รับรอง ส่งข้อมลู ผู้ปว่ ย, TRT, การตรวจระบบน้ำ พร้อม *ตอ้ งใชแ้ บบประเมนิ ตนเองของสมาคมฯ และมลี ายมอื ชื่อ รับรองเปน็ ทางการตอ่ อกี ๒ ปี ของแพทย์, หวั หนา้ พยาบาล, และผอู้ ำนวยการฯ ** หรอื ตามทคี่ ณะกรรมการตรวจรับรองกำหนด
การรบั รองหน่วยไตเทียม การรบั รองหนว่ ยไตเทยี มที่ขอตอ่ อายุ หากยื่นขอตรวจภายในกำหนดเวลาและผา่ นเกณฑ์ โดยไมต่ ้องปรับปรงุ จะไดร้ บั รองต่ออายุจากการ รบั รองเดิม 4 ปี หากยนื่ ขอตรวจภายในกำหนดเวลา แตไ่ ม่ผา่ นองคป์ ระกอบเกณฑข์ ้อท่สี ำคัญ แตย่ งั ปรบั ปรงุ ได้ และ จะลดระดบั การรบั รองเหมอื นหน่วยใหม่ หากยื่นขอตรวจภายในกำหนดเวลา แตไ่ ม่ผา่ นการรับรอง จะตอ้ งผา่ นกระบวนการตรวจรบั รองใหม่ ทัง้ หมด หากย่ืนขอตรวจหลงั หมดอายุการรบั รองถือวา่ ขาดการรับรอง ให้ประเมนิ เหมอื นหน่วยใหม่ การรับรองหนว่ ยไตเทียมใหม่ นับวนั ที่อนกุ รรมการ ตรต. ประชุมตัดสนิ การรบั รอง การไมร่ ับรองหรือ การยกเลิกการรับรองหน่วยไตเทยี ม หน่วยไตเทยี มยังขาดองค์ประกอบท่สี ำคญั แพทย์ พยาบาล ระบบน้ำ หนว่ ยไตเทียมไมส่ ่งขอ้ มลู การปรบั ปรุงพรอ้ มหลกั ฐานท่ีครบถว้ นมายังคณะอนุกรรมการ ตรต. เพื่อพิจารณาภายในระยะเวลา ๙๐ วันหรือตามทค่ี ณะกรรมการตรวจรบั รองกำหนด หลังการเย่ยี มประเมิน หนว่ ยไตเทยี มไดร้ ับการรบั รองชั่วคราว แตไ่ มส่ ง่ ขอ้ มลู หรอื ส่งขอ้ มูลสำคญั ไมค่ รบถ้วนตาม กำหนดเวลา คณะอนกุ รรมการ ตรต. สามารถพิจารณายกเลกิ การรบั รองชว่ั คราวได้
การสมคั รเพอื่ รบั การประเมนิ หน่วยไตเทียมใหม่ ทตี่ อ่ เน่อื งกบั หนว่ ยไตเทยี มเดมิ หนว่ ยไตเทยี มใหม่ อนกุ รรมการ ตรต. อนุกรรมการ ตรต. อนุกรรมการ ตรต. ส่งรายงานการประเมินตนเอง รับรองเบื้องตน้ เข้าตรวจประเมิน รับรองหน่วยไตเทียม เพอ่ื ขอรับรอง วันที่หนว่ ยไตเทยี มใหม่ เริม่ ดำเนนิ การ การรบั รองหนว่ ยไตเทยี มในสถานพยาบาล ท่มี มี ากกวา่ ๑ หนว่ ย สถานพยาบาลทมี่ หี น่วยไตเทยี มมากกว่า ๑ หนว่ ย สถานพยาบาลของรฐั หรือเอกชน ดำเนนิ การเอง หรอื มผี ู้อนื่ ดำเนนิ การ ข้อพิจารณา ผู้ดำเนนิ การ พน้ื ที่ บคุ ลากร ระบบน้ำ
การไม่รบั รองหรอื การยกเลิก การรบั รองหน่วยไตเทยี ม ในกรณที ่มี ีการปรบั เปลีย่ น แพทย์ผ้รู บั ผิดชอบหน่วยไตเทยี ม, หัวหนา้ พยาบาลหนว่ ยไต เทียม, ผดู้ ำเนินกิจการ (กรณีท่ีบรษิ ัทเอกชนเปน็ ผู้ดำเนินการในสถานพยาบาล), พยาบาลไตเทียม, จำนวนเครอื่ งไตเทยี ม, หรอื พ้นื ที่ใหบ้ ริการ ทางหนว่ ยไตเทยี มตอ้ ง แจ้งเรือ่ งมายังคณะอนกุ รรมการ ตรต. และส่งรายงานการประเมินตนเองฉบับแก้ไข พร้อมหลักฐานที่จำเปน็ ประกอบเพ่ือการพิจารณาว่าจะใหก้ ารรับรองต่อหรอื ไม่ หาก คณะอนกุ รรมการ ตรต. พบวา่ หนว่ ยไตเทยี มทอ่ี ยู่ในระหว่างการรบั รองชว่ั คราวมีการ ปรับเปลยี่ นทไ่ี มผ่ า่ นเกณฑ์มาตรฐานท่จี ำเป็น คณะอนุกรรมการ ตรต. สามารถยกเลิกการ รบั รอง หรือการรับรองชวั่ คราว การไมร่ ับรองหรอื การยกเลกิ การรับรองหนว่ ยไตเทยี ม คณะอนกุ รรมการ ตรต. จะดำเนนิ การตดิ ตามคณุ ภาพหน่วยไตเทยี มที่ไดร้ บั การรบั รอง ช่วั คราวหรอื รบั รองเปน็ ทางการแล้ว และยงั อยู่ในระยะเวลาการรบั รองโดยตดิ ตามจาก ข้อมูล TRT registry และอาจเข้าตรวจเย่ียมติดตามคุณภาพหนว่ ยไตเทียมตามสมควร ข้อมูลท่รี ับการประเมนิ จากการลงข้อมลู TRT registry และขอ้ มลู จากการตรวจเย่ยี ม จะมีผลตอ่ สถานะภาพการรับรองมาตรฐานของหนว่ ยไตเทียม
การรบั รองหน่วยไตเทียม ในช่วงสถานการณ์การระบาดของโรค COVID-19 ประเภทหน่วยไตเทียม หนว่ ยเปดิ ใหม่ หนว่ ยทม่ี ีการเปลย่ี นผู้ดำเนนิ การใหม่ แตท่ ำในสถานที่เดิม หนว่ ยรบั รองช่ัวคราว หน่วยตอ่ อายกุ ารรบั รอง 4 ปี รปู แบบ การรบั รองชั่วคราว การสง่ เอกสาร ถ่ายรปู หรือ VDO 360 องศา การตรวจผ่านระบบ Zoom Safety
Elements of ESRD patient safety improvement — 1 Culture of safety: Create an environment in which it is safe to recognize and report errors for yourself and coworkers Dialysis facilities should operate as high-reliability organizations Regulatory protection: Create legislation and regulation protecting voluntary reporters of error Human factors: Identify patterns of interaction at the machine-human interface that may predispose to error Kliger AS. Clin J Am Soc Nephrol 2015; 10: 688–695. Elements of ESRD patient safety improvement — 2 Identify major causes of potentially reversible adverse outcomes Medication errors Infections Access-related errors Falls Dialysis equipment factors Deaths from RRT complications Perform root cause analyses of adverse events and “near misses” Involve patients in safety efforts Kliger AS. Clin J Am Soc Nephrol 2015; 10: 688–695.
Regulatory protection Law USA: 2005, President George W. Bush signed into law the Patient Safety and Quality Improvement Act Institute of Medicine Joint Commission International Center for Patient Safety Thailand: ? Thailand: The Healthcare Accreditation Institute (Public Organization) - Thailand Patient Safety Goals Thailand Patient Safety Goals 2018 SIMPLE S = Safe surgery I = Infection prevention and control M = Medication and transfusion safety P = Patient care process L = Line, tube, catheter, & laboratory E = Emergency response
ประเทศไทย ประกาศนโยบาย “ความปลอดภยั ของผปู้ ่วยและบุคลากรสาธารณสุข” หรือ \"Patient and Personnel Safety (2P Safety)” เพื่อใหห้ น่วยงาน บุคลากรสาธารณสขุ ผรู้ บั บริการสขุ ภาพและประชาชนไดท้ ราบ ลงนามในปฏญิ ญาประกาศเจตนารมณร์ ่วมกนั ของ หน่วยงานภาคเี ครือขา่ ย จำนวน 16 องค์กร โดยมกี ารกำหนดใหม้ เี ปา้ หมายความปลอดภยั “Human beings make mistakes because the systems, tasks and processes they work in are poorly designed.” Dr Lucian Leape, testifying to the US President’s Commission on Consumer Protection and Quality in Health
Human factors in dialysis facilities Dialysis facilities are complex organizations. Nurses and technicians care for patients, cannulate their vascular access, and connect them to electronically-controlled dialysis machines. Sophisticated equipment purifies water for mixing dialysate. Dialyzers are sometimes reprocessed and sterilized before delivery to the technician or nurse setting up the dialysis equipment. The interaction between dialysis staff, machines, and the environment provides a large opportunity for errors to occur. Root cause analysis (RCA) RCA is a structured method used to examine serious safety events. Whether care errors result in patient harm or not (precursor events), a systematic analysis of factors that might lead to errors often uncovers several opportunities to improve systems of care and reduces the likelihood of future error. These in-depth analyses examine institutional and regulatory factors, organizational and management policies and procedures, the work environment, the function of the care team, staffing, specific task functions, and patient-specific factors. The RCA team made several recommendations, including better education for staff and patients, creating a checklist for cannulation, and charge nurse rounding to assure access visibility and integrity
Challenging Quality Outcomes in Hemodialysis
Search