Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ilovepdf_merged_merged

ilovepdf_merged_merged

Published by aphichat8663, 2022-08-15 07:15:01

Description: ilovepdf_merged_merged

Search

Read the Text Version

ระยะท่ี 7 การบารุงรักษา หลังจากระบบงานที่พัฒนาขนึ้ ใหมไ่ ด้ถกู นาไปใช้งานเป็นท่ีเรียบร้อยแล้ว ขน้ั ตอนการบารงุ รกั ษาจงึ เกดิ ขนึ้ ทัง้ นข้ี ้อบกพรอ่ งในดา้ นการทางานของโปรแกรมอาจเพ่ิงค้นพบได้ ซ่ึงจะต้องดาเนินการแก้ไขให้ ถกู ตอ้ งรวมถงึ กรณีทขี่ ้อมูลท่จี ัดเกบ็ มีปริมาณท่ีมากขนึ้ ตอ้ งวางแผนการรองรับเหตุการณ์น้ีดว้ ย นอกจากน้งี าน บารุงรกั ษายังเกย่ี วขอ้ งกับการเขียนโปรแกรมเพิ่มเตมิ กรณที ผี่ ูใ้ ช้มคี วามต้องการเพมิ่ ขนึ้ สรปุ ขน้ั ตอนระยะการบารุงรักษา 1. กรณีเกิดขอ้ ผิดพลาดขนึ้ จากระบบ ให้ดาเนนิ การแก้ไขใหถ้ ูกต้อง 2. อาจจาเป็นต้องเขยี นโปรแกรมเพิ่มเตมิ กรณีทีผ่ ้ใู ช้มีความตอ้ งการเพม่ิ เติม 3. วางแผนรองรับเหตกุ ารณ์ทีอ่ าจเกดิ ขึ้นในอนาคต 4. บารงุ รักษาระบบงาน และอปุ กรณ์ สรปุ ทา้ ยบท



บทที่ 7 เทคโนโลยสี ารสนเทศ 7.1 เทคโนโลยีและสารสนเทศ ความหมายของคา่ วา่ \"เทคโนโลยีสารสนเทศ\" จริงแล้วมาจากคาทีเ่ ราเรยี กกันอยบู่ ่อยครั้งว่า ไอที ( IT : Information Technology ) ท้งั นี้ IT ประกอบดว้ ย 2 คา คอื Technology และ Information นิยามไวด้ ังนี้ สารสนเทศ (Information) หมายถงึ ข้อมูลท่ผี า่ นการประมวลผล และเป็นประโยชนต์ อ่ การดาเนนิ ชวี ิตของมนษุ ย์ มนุษยแ์ ตล่ ะคนตง้ั แตเ่ กดิ มาได้เรยี นรู้สิ่งตา่ งๆ เป็นจานวนมาก เชน่ เรยี นรสู้ ภาพสังคมความ เป็นอยู่ กฎเกณฑ์และวชิ าการ เป็นตน้ ลองจินตนาการดูว่าภายในสมองของเราเก็บข้อมูลอะไรบ้าง เราคงตอบ ไม่ได้ แต่สามารถเรียกเอาข้อมลู มาใช้ได้ ข้อมลู ทเ่ี ก็บไวใ้ นสมอง เป็นส่งิ ทีส่ ะสมกนั มาเป็นเวลานาน ความรอบรู้ ของแตล่ ะคนจึงขนึ้ อยู่กับการเรียกใชข้ ้อมูลน้ัน ดังนน้ั จะเหน็ ได้ชดั ว่าความรูเ้ กิดจากข้อมูลขา่ วสารตา่ งๆ ทกุ วันนี้ มขี อ้ มลู อย่รู อบตวั เรามาก ข้อมลู เหลา่ นมี้ าจากสอ่ื เชน่ วิทยุ โทรทศั น์ หนงั สือพิมพ์ อนิ เทอรเ์ น็ต หรือแมแ้ ต่การ สอ่ื สารระหว่างบุคคล จงึ มีผูก้ ลา่ ววา่ ยคุ นี้เป็นยคุ ของสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology : IT) หมายถงึ เทคโนโลยีทใ่ี ชจ้ ดั การ สารสนเทศ เป็นเทคโนโลยที เี่ ก่ยี วข้องตง้ั แต่การรวบรวม การจัดเกบ็ ขอ้ มูล การประมวลผล การพมิ พ์ การสรา้ ง รายงาน การสื่อสารข้อมูล ฯลฯ เทคโนโลยีสารสนเทศยังรวมถงึ เทคโนโลยที ีท่ าใหเ้ กิดระบบการใหบ้ ริการ การใช้ และการดแู ลขอ้ มลู ดว้ ย

7.2 ระบบสารสนเทศ ระบบสารสนเทศ (Information system) หมายถงึ ระบบท่ีประกอบด้วยสว่ นตา่ งๆได้แก่ ระบบ คอมพิวเตอร์ท้งั ฮารด์ แวร์ ซอฟทแ์ วร์ ระบบเครอื ข่าย ฐานขอ้ มูล ผูพ้ ฒั นาระบบผู้ใช้ระบบ พนักงานท่เี กย่ี วข้อง และ ผู้เช่ยี วชาญ ในสาขา ทุกองคป์ ระกอบนที้ างานรว่ มกันเพอื่ กาหนด รวบรวมจดั เก็บข้อมลู ประมวลผลขอ้ มูลเพื่อสร้างสารสนเทศ และสง่ ผลลัพธ์หรอื สารสนเทศทีไ่ ดใ้ ห้ผูใ้ ชเ้ พ่ือช่วยสนับสนนุ การทางานการตัดสนิ ใจการวางแผนการบรหิ าร การควบคมุ การ วิเคราะหแ์ ละตดิ ตามผลการดาเนินงานขององค์กร ระดับของผู้ใช้ระบบสารสนเทศ ระดับของผูใ้ ชร้ ะบบสารสนเทศแบ่งตามลกั ษณะการบรหิ ารจัดการได้ 3ระดบั ดงั นี้ 1. ระดับสงู (Top LevelManagement) กลุ่มของผู้ใช้ระดบั นีจ้ ะเกย่ี วขอ้ งกบั ผบู้ รหิ ารระดับสงู มีหน้าท่ี กาหนดและวางแผนกลยุทธ์ขององค์กรเพอ่ื นาไปสเู่ ป้าหมาย โดยมีทัง้ สารสนเทศภายในและสารสนเทศภายนอก เพือ่ วเิ คราะหแ์ นวโน้มสถานการณโ์ ดยรวมซ่งึ ระบบสารสนเทศในระดับนตี้ อ้ งออกแบบใหง้ า่ ยและสะดวกต่อการใช้ งาน ไมม่ ีความซับซ้อนหรอื ยงุ่ ยาก แสดงผลทางด้านกราฟฟิคบา้ ง ต้องตอบสนองทรี่ วดเรว็ และทันท่วงทีด้วยเชน่ กนั 2. ระดบั กลาง (Middle LevelManagement) เก่ียวขอ้ งกบั กลุ่มผใู้ ชง้ านระดบั การบรหิ ารและจัดการองค์กร ซงึ่ มหี น้าท่ีรบั นโยบายมาจากผบู้ รหิ ารระดบั สงู นามาสานตอ่ ให้บรรลตุ ามเป้าหมายทก่ี าหนดไว้ ด้วยการใช้หลักบรหิ าร และจัดการอย่างมีประสทิ ธิภาพ ระบบสารสนเทศท่ใี ชม้ ักไดม้ าจากแหลง่ ข้อมูลภายในระบบสารสนเทศจึงต้องมกี ารจัด อันดบั ทางเลือกแบบตา่ งๆไว้ โดยเลือกใช้คา่ ทางสถติ ชิ ว่ ยพยากรณห์ รอื ทานายทิศทางไวด้ ว้ ยหากระดบั ของการ ตัดสนิ ใจน้นั มคี วามซับซอ้ นหรอื ยงุ่ ยากมากเกนิ ไป

3. ระดบั ปฏิบตั กิ าร (Operation LevelManagement) ผู้ใช้กลุ่มน้จี ะเก่ยี วขอ้ งกบั การผลติ หรอื การปฏิบตั งิ าน หลกั ขององค์กร เช่น การผลติ หรอื ประกอบสนิ คา้ งานทว่ั ไปท่ไี มจ่ าเป็นตอ้ งใช้การวางแผนหรอื ระดบั การตดั สนิ ใจมาก นัก ข้อมูลหรือสารสนเทศในระดับนี้ จะถกู นาไปประมวลผลในระดบั กลางและระดบั สงู ตอ่ ไป 7.3 พัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศ ในเอกสารการวจิ ัยของสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาแหง่ ชาติ กล่าวถึงคุณสมบัตขิ องเทคโนโลยี สารสนเทศที่ทาใหเ้ กิดการแพรก่ ระจายของการใช้อปุ กรณ์ เทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างแพรห่ ลายในปจั จบุ ัน ซงึ่ ประกอบดว้ ยคณุ สมบตั ติ า่ งๆดังนี้ 1. การรวมตวั กันของเทคโนโลยี (Convergence) เทคโนโลยสี ารสนเทศเป็นการรวมตวั กันของ เทคโนโลยที างด้านคอมพิวเตอร์ การส่อื สาร รวมถงึ ระบบเทคโนโลยอี ่นื ๆ เชน่ การกระจายเสียงเข้าไวด้ ว้ ยกนั ทาให้สามารถรับส่งสญั ญาณ โดยเฉพาะข้อมูลท่อี ยู่ในรูปของสือ่ แบบผสม ทป่ี ระกอบด้วยภาพ เสยี งและ ข้อความตา่ งๆไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว สมบรู ณแ์ ละสามารถสง่ ไดป้ ริมาณมาก การเผยแพร่ขอ้ มูลต่างๆทาได้อยา่ ง ทวั่ ถงึ กนั มากขนึ้ โดยเฉพาะการเผยแพรย่ ุคไร้พรมแดน

2. ต้นทนุ ท่ถี กู ลง (Cost reduction) เทคโนโลยมี ีคุณสมบตั ทิ าใหร้ าคาและการเป็นเจ้าของ อุปกรณ์ เทคโนโลยีถูกลง ทัง้ ในส่วนของอัตราค่าบริการส่อื โทรคมนาคม เชน่ ค่าโทรศพั ท์ คา่ บรกิ ารอนิ เทอรเ์ นต็ คา่ เช่า สญั ญาณเครือขา่ ย รวมถึงราคาของเคร่อื งคอมพิวเตอร์ มแี น้มโน้มถูกลงเรื่อยๆ 3. การพัฒนาอุปกรณ์ท่เี ลก็ ลง (Miniaturization) อปุ กรณเ์ ทททททคโนโลยีสารสนเทศ หลากหลายประเภท รวมท้งั เครื่องคอมพิวเตอรแ์ ละโทรศัพท์ไดร้ บั การพฒั นา ใหม้ ีขนาดเล็กลงกว่าแต่เดิมมาก ดว้ ยวิวัฒนาการของไมโครชิพ ทาให้สะดวกตอ่ การใช้งานมากยิ่งขนึ้ 4. การประมวลผลที่ดีข้ึน (Processing Power) โดยอาศัยพฒั นาการของผู้ผลิตหนว่ ยประมวลผล กลางหรือพซี ยี ูทท่ี างานเร็ซฃวขนึ้ กว่าเดิม รวมถงึ การสรา้ งโปรแกรมเพ่อื ตอบสนองการทางานของผูใ้ ช้ทม่ี ีประ สิทธืภาพดียงิ่ ขนึ้ 5. การใช้งานทีงา่ ย (User Friendliness) การพฒั นาโปรแกรมในปัจจุบัน มีการออกแบบ ส่วนประสานงานกบั ผใู้ ชเ้ พ่อื ช่วยเหลอื และสนับสนนุ การทางานใหง้ า่ ยยิ่งขนึ้ โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งกับคนทไ่ี ม่ ค้นุ เคยเรื่องเทคโนโลยมี ากนกั หรือที่เรยี กว่า user-friendliness น่นั เอง 6. การเปลยี่ นอะตอมเป็นบติ (Bits versus Atoms) ทศิ ทางของความนยิ มและการกระจาย ของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศไดอ้ ย่างรวดเร็ว ผา่ นการใชง้ านโดยเครอื ขา่ ยอินเทอร์เน็ต นับไดว้ า่ เป็น ตัวอย่างทช่ี ัดเจนของการหนั เหกจิ กรรมทีใ่ ช้ \"อะตอม\" เช่นการส่งเอกสารทเ่ี ป็นกระดาษ ไปส่กู ารใช้ \"บติ \" มาก ยิ่งขนึ้ ปัจจุบันจะเห็นว่าหลายองคก์ รปรบั เปลีย่ นการใชง้ าน ท่มี ุ่งเนน้ สสู่ านกั งานแบบไรก้ ระดาษ (paperless office) กนั บา้ งแลว้ 7. สือ่ ผสม (Multimidia) เทคโนโลยีสารสนเทศสามารถเผยแพร่สารสนเทศ ท่ีเป็นแบบสื่อผสม มากขนึ้ ประกอบด้วยสา(รสนเทศทอ่ี ยูใ่ นรูปแบบตวั อักษร ภาพกราฟฟิก เสยี ง ภาพนงิ่ รวมถงึ ภาพเคล่ือนไหว ตา่ งๆเขา้ ด้วยกนั

8. เวลาและภูมศิ าสตร์ (Time S Distance) วิวฒั นาการของเทคโนโลยสี ารสนเทศทาให้มนุษย์สามารถ เอาชนะเงอื่ นไขดา้ น\"เวลา\" และ\"ภมู ศิ าสตร\"์ ได้เป็นอย่างมาก เชน่ การประชุมทางไกล สาหรบั องคก์ ารที่มีขนาด ใหญแ่ ละมสี าขาอยทู่ ว่ั ประเทศ หากตอ้ งการจดั ประชมุ โดยให้ผู้บรหิ ารทุกสาขาเดินทางมายังสานักงานใหญ พร้อมกนั อาจทาไดไ้ ม่สะดวกหรอื จดั เวลาไม่ตรงกนั การประชุมแบบทางไกลสามารถเข้ามาช่วยแก้ปัญหานี้ได้ หรือการใช้รับสัญญาณดาวเทยี ม เพ่ือถา่ ยทอดสัญญาณรายการเพ่ือการศึกษาให้กับโรงเรียนชนบทท่ีห่างไกล (tele-education) โดยท่นี กั เรียนไม่จาเป็นต้องเข้ามาแสวงความร้ใุ นเมอื งใหญ่ กส็ ามารถได้แหลง่ ความรู้ท่ีเหมอื นๆกัน เป็นการลดปัญหาในเรื่องภูมิศาสตร์

7.4 เทคโนโลยีสารสนเทศกับการพัฒนาประเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทในดา้ นเศรษฐกจิ โดยสามารถนามาประยุกตใ์ ช้ประโยชนแ์ ละเพ่ิมขีด สามารถในการแข่งขนั ทัง้ ภาคการผลิตและบริการ ภาคการเงินการคลงั ท้ังภายใน ประเทศ และเพ่อื การส่งออก อีกทั้งยังประยกุ ตใ์ ชป้ ระโยชน์ในการพฒั นาเศรษฐกิจชมุ ชนวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม เทคโนโลยสี ารสนเทศกบั การพัฒนาดา้ นดา้ นสังคม ดา้ นสงั คม ชว่ ยให้พฒั นาสังคมใหเ้ กิดการเรยี นร้ทู ีส่ ร้างสรรค์ เช่นโครงการเทคโนโลยีสารสนเทศตาม พระราชดาริชองสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ เข้าไปช่วยเหลอื ผูด้ ้อยโอกาสทางสงั คมได้มคี อมพวิ เตอรใ์ ช้ เช่น โรงเรยี นชนบท คนป่วยเรอื้ รังในโรงพยาบาล ผ้ตู ้องขัง และคนตาบอดทส่ี ามารถอา่ นหนังสอื ได้ดว้ ยระบบ DAISY ( Digital Accessible Information System)

เทคโนโลยสี ารสนเทศกับการพฒั นาดา้ นศึกษา แนวทางการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศในการศึกษาไว้ 5 ประเด็น คือ 1. การใชค้ อมพวิ เตอรช์ ่วยสอน (Computer Assisted Instruction) มีหลายรูปแบบเช่น Drill and Practice, Linear Program , Branching Program, Simulation, Game, Multimedia, Intelligence CAI 2. การศกึ ษาทางไกล (Distance Learning) ซ่งึ จัดได้หลายรปู แบบ เช่น การใชว้ ทิ ยุ โทรทัศน์ การสือ่ สารโดยใช้ระบบแพร่ภาพผา่ นดาวเทียม (Direct to Home : DTH) หรอื ระบบการแระชุม ทางไกล (Video Teleconference) 3. เครือขา่ ยการศกึ ษา (Education Network) ซงึ่ เป็นการนาเครือข่ายอนิ เทอรเ์ นต็ มาใช้ ซ่ึงมี บรกิ ารในหลายรปู แบบ เช่น Electronic Mail , File Transfer Protocol, Telnet , World Wide Web เป็นต้น เครอ่ื งข่ายคอมพวิ เตอรจ์ ะสามารถให้ผ้เู รยี นได้เข้าถงึ แหลง่ ข้อมูลสารสนเทศท่ีมี จานวนมากมายทเี่ ช่ือมโยงในเครือข่ายทว่ั โลก 4. การใชง้ านในหอ้ งสมุด (Electronic Library) เป็นการประยุกต์ใช้ในการสืบคน้ ขอ้ มูลหนังสอื วารสาร หรือบทคดั ยอ่ วิทยานพิ นธ์ ผลงานการวิจัย 5. การใช้งานในหอ้ งปฏิบัติการ เชน่ การใช้คอมพิวเตอรเ์ พ่อื การจาลองสถานการณ์ (Simulation) การใชใ้ นงานประจาและงานบริหาร (Computer Manage Instruction) เป็นการประยกุ ต์ใช้ใน สานกั งานเพ่ือช่วยในการบริหาร จัดการ ทาให้เกดิ ความคล่องตวั รวดเร็วและแม่นยา การตัดสินใจในการ ดาเนนิ การต่างๆ ยอ่ มเกิดประสทิ ธิภาพสงู สุด

เทคโนโลยีสารสนเทศกบั การพัฒนาดา้ น การส่ือสารและโทรคมนาคม เทคโนโลยขี องการสอ่ื สารและโทรคมนาคมในปัจจุบนั กา้ วไกลไปมาก มีบริการมากมายท่ีทันสมัยและ ตอบรบั กับการนามาประยกุ ตใ์ ชใ้ นการดาเนินธุรกิจ ตวั อย่างการใช้โทรศัพทใ์ นปัจจุบันนี้ก็มิไดมีไว้เพียงสาหรับ คุยสนทนาเพยี งอย่างเดียวอกี ตอ่ ไป แตม่ นั สามารถช่วยงานไดม้ ากขนึ้ โดยอา้ งองิ ข้อมูลและการเปิดใหบ้ รกิ าร ของบรษิ ัท มีตดิ ตอ่ สื่อสารผ่านดาวเทยี มทงั้ ภาพและเสียง มโี ทรศพั ท์มอื ถือรนุ่ ตา่ ง ๆ ออกมามากมาย พัฒนาทง้ั หนว่ ยงานของภาครฐั และเอกชน เชน่ เทเลคอม เอเชยี คอร์ปอรเ์ รช่นั จากดั (มหาชน) ซ่ึงเป็นผู้วางแผนการ ก่อสรา้ ง และติดตั้งขยายบริการโทรศัพท์พนื้ ฐาน 2.6 ลา้ นเลขหมาย ครอบคลุมพื้นท่ีในเขตกรุงเทพและ ปรมิ ณฑล รวมถงึ การซ่อมบารุงรักษาเป็นระยะเวลา 25 ปี และเป็นหนึง่ ในผูใ้ ห้บริการในปจั จบุ นั เทคโนโลยสี ารสนเทศกบั การพฒั นาดา้ นสิ่งแวดล้อม และทรพั ยากรธรรมชาติ

นาเอาเทคโนโลยีทเี่ รยี กว่า GIS (Geographic Information System) เข้ามาจัดเกบ็ และ ประมวลผลขอ้ มลู ทางภูมศิ าสตร์ โดยกาหนดข้อมลู ดา้ นตาแหน่งทตี่ ั้งบนผิวโลก (ground position) ซึ่ง รวบรวม จากแหล่งตา่ งๆ ทง้ั ข้อมลู พื้นที่ แผนที่ รูปถา่ ยทางอากาศ ภาพถา่ ยทางดาวเทยี ม เพอื่ นามาเป็นขอ้ มูล พื้นฐานในการพัฒนาผังเมือง ประยกุ ต์ใช้งานทางด้านธรณวี ิทยา การพยากรณ์อากาศและการควบคมุ ส่ิงแวดล้อม

เทคโนโลยีสารสนเทศกับการพฒั นาด้านสาธารณสุข เทคโนโลยีสารสนเทศไดร้ บั การนามาใช้ในการ พัฒนา ดา้ นสาธารณสุขอย่างกว้างขวาง และทาให้งานด้าน สาธารณสขุ เจริญก้าวหน้าอย่างรวดเรว็ โดย กระทรวงสาธารณสุข ไดป้ รบั ระบบการบริหารงาน และนาเทคโนโลยี สารสนเทศมาใช้ในงานตา่ งๆ ดังน้ี - ดา้ นการลงทะเบียนผปู้ ่วย ต้งั แต่เริ่มทาบตั ร จา่ ยยา เกบ็ เงิน - การสนบั สนุนการรักษาพยาบาล โดยการเชอื่ มโยงระบบคอมพิวเตอรข์ องโรงพยาบาล ต่างๆ เขา้ ดว้ ยกนั สามารถสร้างเครอื ข่ายขอ้ มลู ทางการแพทย์ แลกเปลยี่ นขอ้ มูลของผู้ป่วย - สามารถให้คาปรกึ ษาทางไกล โดยแพทย์ผเู้ ช่ียวชานาญ เทคโนโลยสี ารสนเทศ จะชว่ ยให้แพทย์ สามารถเหน็ หนา้ หรือทา่ ทางของผปู้ ่วยได้ ช่วยใหส้ ง่ ขอ้ มูลทเ่ี ป็นเอกสาร หรือภาพเพ่อื ประกอบการพจิ ารณา ของแพทยไ์ ด้ - เทคโนโลยีสารสนเทศจะช่วยในการ ให้ความรแู้ กป่ ระชาชนของแพทย์ หรือหนว่ ยงานสาธารณสขุ ต่างๆ เป็นไปดว้ ยความสะดวก รวดเรว็ ไดผ้ ลขนึ้ โดยสามารถใช้สื่อต่างๆ เช่นภาพนิ่ง ภาพเคลอ่ื นไหวมีเสียงและอ่ืนๆ เป็นตน้ - เทคโนโลยสี ารสนเทศ ช่วยให้ผูบ้ รหิ ารสามารถกาหนดนโยบาย และติดตามกากับการดาเนินงานตาม นโยบายได้ดียง่ิ ขนึ้ โดยอาศยั ขอ้ มลู ทีถ่ ูกตอ้ งฉบั ไว และข้อมลู ท่ีจาเป็น ทัง้ นอี้ าจใชค้ อมพวิ เตอร์เป็นตวั เกบ็ ขอ้ มูลต่างๆ ทาใหก้ ารบริหารเป็นไปไดด้ ว้ ยความรวดเรว็ ถกู ต้องมากยิ่งขนึ้ - ในดา้ นการใหค้ วามรหู้ รือการเรียน การสอนทางไกล เทคโนโลยสี ารสนเทศ โดยเฉพาะดาวเทียม จะ ช่วยให้การเรยี นการสอนทางไกล ทางดา้ นการแพทย์และสาธารณะสุข เป็นไปไดม้ ากขนึ้ ประชาชนสามารถ เรียนร้พู รอ้ มกันได้ทัว่ ประเทศและ ยงั สามารถโตต้ อบหรือถามคาถามได้ดว้ ย

สรปุ ท้ายบท

จริยธรรมและความปลอดภัย\" 8.1 ความหมายของจริยธรรม จริยธรรม หมายถึง แบบแผนความประพฤติหรือความมีสามญั สานึกตอ่ สังคมในทางท่ีดี โดยไมม่ ี กฎเกณฑต์ ายตวั ข้ึนอยกู่ บั กลุ่มสงั คมหรือการยอมรับในสังคมน้นั ๆ เป็นหลกั โดยส่วนใหญ่จริยธรรมจะ เกี่ยวขอ้ งกบั การคิดและตดั สินใจไดว้ า่ ส่ิงไหน ควร-ไม่ควร ดี-ไม่ดี ถกู -ผิด เช่น นายอมรลอกขอ้ สอบปลาย ภาคของนางสาวสมศรี การลอกขอ้ สอบดงั กล่าวของนายอมรไม่ใช่เป็นสิ่งผิดกฎหมายแตเ่ ป็นสิ่งท่ีคนใน สงั คมการศึกษาถือวา่ เป็นส่ิงท่ีไม่สมควรกระทา ก็คือ นายอมรทาผิดจริยธรรมน้นั เอง จริยธรรมกบั กฎระเบียบ คนท่ี มีจริยธรรม อาจหมายถึง คนในกลมุ่ สงั คมยอมรับว่ามีสามญั สานึกท่ี ดีมีความประพฤติปฎิบตั ิดีและไมก่ ่อใหเ้ กิดผลเสียหายตอ่ สงั คมโดยรวม ตรงกนั ขา้ มกบั คนที่ ขาดจริยธรรม อาจกล่าวไดว้ า่ เป็นคนที่กลุ่มในสังคมไม่ยอมรับ เนื่องจากมีรูปแบบการประพฤติที่ไมม่ ีประโยชน์ต่อสังคม โดยรวมหรืออาจส่งผลท่ีไม่ดีต่อสังคม

8.2 จริยธรรมกบั สังคมยุคสารสนเทศ ปัจจุบนั คนในสังคมยคุ สารสนเทศ ขาดจริยธรรม กนั มากข้ึน ซ่ึงก่อใหเ้ กิดปัญหาตา่ ง ๆ ต่อสงั คมโดยรวม มาก นอกจากการ ขาดจริยธรรม แลว้ ในสงั คมอาจพบเห็นกล่มุ คนท่ี ทาผดิ กฎระเบียบ ที่สงั คมบญั ญตั ิไว้ ร่วมกนั อีกดว้ ย โดยเฉพาะการทาผิดตอ่ กฎหมายของสงั คมและประเทศชาติ ซ่ึงเป็นภยั ท่ีส่งผลเสียอยา่ ง ร้ายแรงโดยทว่ั ไปเมื่อพูดถึงจริยธรรมท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั สงั คมยคุ สารสนเทศ จะพูดถึงประเด็นหรือกรอบแนวคิด ทางดา้ นจริยธรรมท่ีต้งั อยบู่ นพ้นื ฐาน 4 ประเด็นดว้ ยกนั คือ 1. ความเป็นส่วนตวั (Information Privacy) หมายถึง สิทธิส่วนตวั ของบุคคล หน่วยงาน หรือองคก์ รท่ีจะคงไวซ้ ่ึงสารสนเทศที่มีอยนู่ ้นั เพอ่ื ตดั สินใจได้ วา่ จะสามารถเปิ ดเผยใหผ้ อู้ ื่นนาไปใชป้ ระโยชนต์ ่อหรือเผยแพร่ไดห้ รือไม่ เราอาจจะพบการละเมิดความ เป็นส่วนตวั เช่น ใชโ้ ปรแกรมติดตามและพฤติกรรมผทู้ ่ีใชง้ านบนเวบ็ ไซต์ การเอาฐานขอ้ มลู ส่วนตวั รวมถึง อีเมลข์ องสมาชิกส่งไปใหก้ บั บริษทั ผรู้ ับทาโฆษณา

2. ความถูกต้องแม่นยา (Information Accuracy) สารสนเทศที่นาเสนอ ควรเป็นขอ้ มลู ที่มีการกลน่ั กรองและตรวจสอบความถกู ตอ้ งและสามารถนาเอาไปใช้ ประโยชน์ไดโ้ ดยไมส่ ่งผลกระทบกบั ผใู้ ชง้ าน ตวั อยา่ ง เช่น อาจเห็นแหลง่ ข่าวทางอินเทอร์เนต็ นาเสนอ เน้ือหาที่ไม่ไดก้ ลน่ั กรอง เมื่อนาไปตีความและเขา้ ใจวา่ เป็นจริง อาจทาใหเ้ กิดความผดิ พลาดได้ ผใู้ ชง้ าน สารสนเทศจึงควรเลือกรับขอ้ มลู จากแหล่งที่น่าเช่ือถือ และตรวจสอบที่มาไดโ้ ดยง่าย 3. ความเป็ นเจ้าของ (Information Property) สงั คมยคุ สารสนเทศมกี ารเผยแพร่ขอ้ มูลอยา่ งง่ายดาย มีเครื่องมอื และอปุ กรณ์สนบั สนุนมากข้นึ กอ่ ให้เกิดการลอกเลยี นแบบ ทาซ้าหรือละเมดิ ลขิ สิทธ์ิ (copyright) โดยเจา้ ของผลงานไดร้ ับผลกระทบท้งั โดยตรงและโดยออ้ ม ตวั อยา่ ง เช่น การทาซ้าหรือผลิตซีดีเพลง หรือ โปรแกรมละเมิดลขิ สิทธ์ิ

4. การเข้าถงึ ข้อมูล (Information Accessibility) ผทู้ ี่ทาหนา้ ที่ดูแลระบบ จะเป็นผทู้ ่ีกาหนดสิทธ์ิในการเขา้ ถึงขอ้ มูลของผใู้ ชแ้ ตล่ ะคน บางแห่งอาจใหบ้ ริการ เฉพาะสมาชิกเทา่ น้นั อาจรวมถึงขอ้ มลู น้นั สามารถใหบ้ ริการและเขา้ ถึงไดห้ ลากหลายวิธี เช่น ภาพถ่ายหรือ รูปภาพที่ปรากฎบนเวบ็ ไซท์ ควรมีคาอธิบายภาพ (Attribute alt) เพื่อสื่อความหมายไวด้ ว้ ยวา่ เป็น ภาพอะไร 8.3 ความปลอดภยั ในการใช้คอมพวิ เตอร์ 10 ข้อควรปฏบิ ัตทิ วั่ ๆ ไป ทชี่ ่วยเพม่ิ ความปลอดภยั ในการใช้งานคอมพวิ เตอร์ 1. เปิ ดใชง้ านซอฟตแ์ วร์รักษาความปลอดภยั และทาการอพั เดทใหท้ นั สมยั อยเู่ สมอ โดยเฉพาะ อยา่ งยงิ่ ในกรณีท่ีใชง้ านคอมพวิ เตอร์แลป็ ทอ็ ปเช่ือมต่อกบั ระบบเครือข่ายไร้สายแบบสาธารณะท่ีไมม่ ีการ เขา้ รหสั ขอ้ มูล อยา่ งเช่นในบริเวณสนามบิน ร้านกาแฟ และในสถานท่ีสาธารณะตา่ งๆ 2. ติดต้งั ผลิตภณั ฑแ์ ละโซลูชนั่ ที่จะช่วยปกป้องการใชง้ านอินเทอร์เน็ตหรือการดาวน์โหลดไฟล์ ลงเคร่ืองคอมพิวเตอร์แบบครบวงจร 3. ตรวจสอบใหแ้ น่ใจวา่ ซอฟตแ์ วร์ป้องกนั ภยั ท่ีใชว้ า่ ครอบคลมุ การป้องกนั ท้งั ระบบอีเมล เครือข่ายแบบเพยี ร์ทูเพียร์ และโปรแกรมแอพพลิเคชนั่ การประมวลผลท่ีใชท้ ้งั หมด และสามารถทาการแจง้ เตือนเกี่ยวกบั ปริมาณทราฟิ กท้งั ขาเขา้ และขาออกจากคอมพวิ เตอร์ของผใู้ ชง้ านในแบบเวลาจริง

4. ปรับใชเ้ ทคโนโลยที ่ีทนั สมยั อยา่ งเช่น เทคโนโลยี Web Reputation ซ่ึงเป็นการ ตรวจสอบชื่อเสียงและประวตั ิเวบ็ ไซต์ เพ่ือวดั ระดบั ความปลอดภยั และความน่าเช่ือถือของเวบ็ ไซตน์ ้นั ๆ ก่อนท่ีจะเขา้ เยย่ี มชมเวบ็ นอกจากน้ีควรใชก้ บั เทคโนโลยี Web Reputation ร่วมกบั เทคโนโลยี อ่ืนๆ เพือ่ เพมิ่ ความปลอดภยั เช่น เทคโนโลยกี ารกรองยอู าร์แอล หรือ URL Filtering และ เทคโนโลยกี ารสแกนเน้ือหาหรือ Content Scanning 5. ใชเ้ วบ็ เบราวเ์ ซอร์เวอร์ชนั ลา่ สุดและทาการติดต้งั อพั เดทความปลอดภยั เป็นประจา โดย Internet Explorer ของไมโครซอฟทน์ ้นั จะมีการออกอพั เดทในวนั องั คารที่ 2 ของแต่ละเดือน สาหรับวิธีการอพั เดทน้นั สามารถติดต้งั ไดจ้ ากเวบ็ ไซต์ http://update.microsoft.com ผา่ น ทางอินเทอร์เน็ต ในขณะท่ี Mozilla Firefox น้นั จะมีการออกอพั เดทเป็นระยะ สาหรับวธิ ีการ อพั เดทน้นั ทาไดง้ า่ ยโดยคลิกเมนู Help แลว้ คลิก Check for updates... สาหรับวธิ ีการ อพั เดทของเบราวเ์ ซอร์ตวั อื่นๆ ใหศ้ ึกษาจากคมู่ ือการใชง้ าน 6. ในการตอ้ งการติดต้งั ใชง้ านปลก๊ั -อินเวบ็ สาหรับเวบ็ เบราวเ์ ซอร์ แนะนาใหเ้ ลือกใชป้ ลก๊ั -อินเวบ็ ท่ีไมม่ ีการใชง้ านสคริปต์ 7. ตรวจสอบกบั ผใู้ หบ้ ริการอินเทอร์เน็ต (ISP) ที่ใชบ้ ริการอยวู่ า่ ระบบเครือขา่ ยของผใู้ หบ้ ริการ น้นั มีระบบป้องกนั มลั แวร์หรือไม่ และถา้ มีใหต้ รวจสอบรายละเอียดเพิม่ เติมต่อไปวา่ ระบบการป้องกนั ท่ีใช้ เป็นแบบใด มีขอบเขตครอบคลมุ แค่ไหน 8. ในกรณีที่ใชร้ ะบบปฏิบตั ิการวนิ โดวข์ องไมโครซอฟต์ ใหท้ าการอพั เดทเป็นประจาโดยเปิ ดใช้ งานฟี เจอร์ “Automatic Update\" และคอนฟิ กใหว้ นิ โดวส์ทาการติดต้งั อพั เดทใหเ้ ร็วที่สุดเทา่ ท่ี เป็นไปได้ โดยปกติไมโครซอฟทน์ ้นั จะมีการออกอพั เดทของระบบวินโดวส์ในวนั องั คารที่ 2 ของแต่ละ เดือน แตถ่ า้ มีกรณีเร่งด่วนก็อาจจะออกอพั เดทกรณีพเิ ศษ (ในปี 2552 ไมโครซอฟทอ์ อกอพั เดทกรณี พเิ ศษ จานวน 2 ตวั หน่ึงในน้นั คอื อพั เดทเพื่อแกไ้ ขขอ้ บกพร่อง Server Service ซ่ึงไวรัส Conficker ใชเ้ ป็นช่องทางในการโจมตีวินโดวส์) 9. ติดต้งั ใชง้ านโปรแกรมไฟร์วอลล์ และทาการตรวจสอบและอพั เดทโปรแกรมอยา่ งสม่าเสมอ รวมท้งั ติดต้งั โปรแกรมดา้ นความปลอดภยั อื่นๆ ตวั อยา่ งช่น โปรแกรมตรวจสอบและป้องกนั การบุกรุก (IPS) และโปรแกรมป้องกนั มลั แวร์/สปายแวร์ เป็นตน้ 10. ตรวจสอบให้แน่ใจวา่ โซลชู น่ั หรือซอฟตแ์ วร์รักษาความปลอดภยั ท่ีใชง้ านอยไู่ ดร้ ับการ อพั เดทฐานขอ้ มูลที่ทนั สมยั อยเู่ สมอ

8.4 กฎหมายเทคโนโลยสี ารสนเทศ ถึงแมว้ า่ ในปัจจุบนั บางประเทศที่พฒั นาแลว้ จะมีกฎหมายควบคมุ สื่ออินเทอร์เน็ต ก็ยงั ไมส่ ามารถควบคุมภยั ล่อลวงต่างๆ จากสื่ออินเทอร์เน็ตไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพอยา่ งเด็ดขาดเตม็ ท่ีโดยเฉพาะควบคมุ ดูแลการ เผยแพร่ขอ้ มลู ข่าวสารบนส่ืออินเทอร์เน็ตน้นั กย็ งั เป็นปัญหา โดยเฉพาะการเผยแพร่สื่อสารลามกหรือบ่อน การพนนั ซ่ึงปัญหาดงั กล่าว นอกจากจะเก่ียวขอ้ งกบั สิทธิส่วนบคุ คลในการเขา้ ถึงขอ้ มลู การกา้ วก่ายสิทธิ เสรีภาพในการแสดงออก ซ่ึงเป็นสิทธิพ้ืนฐานของประชาชน ยงั อาจจะขดั ต่อกฎหมายรัฐธรรมนูญของ ประเทศอีกดว้ ย อีกท้งั ลกั ษณะพเิ ศษของขอ้ มลู ต่าง ๆ ท่ีอยู่ในเครือข่ายอินเทอร์เนต็ เป็นเครือข่ายท่ีมี ลกั ษณะเป็นใยแมงมุม ซ่ึงระบบกระจายความรับผดิ ชอบไม่มีศนู ยก์ ลางของระบบ และเป็นเครือขา่ ยขอ้ มูล ระดบั โลกยากต่อการควบคุม และเป็นส่ือที่ไมม่ ีตวั ตน หรือแหลง่ ที่มาที่ชดั เจน ท้งั ผสู้ ่งขอ้ มูล หรือผรู้ ับขอ้ มลู ดงั น้นั กฎหมายที่จะมากากบั ดูแล หรือควบคุมส่ืออินเทอร์เน็ต จะตอ้ งเป็นกฎหมายลกั ษณะพิเศษ เป็น ท่ียอมรับในระดบั สากล แต่ความแตกต่างในระบบการเมือง สงั คม และวฒั นธรรม ในแต่ละประเทศยงั เป็น ปัญหาอปุ สรรค ในการร่างกฎหมายดงั กล่าวซ่ึงปัจจุบนั ยงั ไม่ปรากฏผลเป็นกฎหมายยงั คงอยใู่ นระยะที่ กาลงั สร้างกฎเกณฑก์ ติกาข้นึ มากากบั บริการอินเทอร์เน็ต ประเทศไทยกับการพฒั นากฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ กฎหมายเทคโนโลยสี ารสนเทศของประเทศไทยเร่ิมวนั ท่ี 15 ธนั วาคม 2541 โดยคณะ กรรมการ เทคโนโลยสี ารสนเทศแห่งชาติเรียก (กทสช) ไดท้ าการศึกษาและยกร่างกฎหมายเทคโนโลยสี ารสนเทศ 6 ฉบบั ไดแ้ ก่ 1. กฎหมายเกี่ยวกบั ธุรกรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส์ (Electronic Transactions Law) เพื่อ รับรองสถานะทางกฎหมายของขอ้ มูลอิเลก็ ทรอนิกส์ใหเ้ สมอดว้ ยกระดาษ อนั เป็นการรองรับนิติสัมพนั ธ์ ตา่ ง ๆ ซ่ึงแตเ่ ดิมอาจจะจดั ทาข้นึ ในรูปแบบของหนงั สือให้เทา่ เทียมกบั นิติสมั พนั ธ์รูปแบบใหมท่ ี่จดั ทาข้นึ ให้ อยใู่ นรูปแบบของขอ้ มลู อิเลก็ ทรอนิกส์ รวมตลอดท้งั การลงลายมือช่ือในขอ้ มูลอิเลก็ ทรอนิกส์ และการรับ ฟังพยานหลกั ฐานท่ีอยใู่ นรูปแบบของขอ้ มลู อิเลก็ ทรอนิกส์ 2. กฎหมายเก่ียวกบั ลายมือชื่ออิเลก็ ทรอนิกส์ (Electronic Signatures Law) เพื่อรับรอง การใชล้ ายมือชื่ออิเลก็ ทรอนิกส์ดว้ ยกระบวนการใด ๆ ทางเทคโนโลยใี ห้เสมอดว้ ยการลงลายมือช่ือธรรมดา อนั ส่งผลตอ่ ความเชื่อมนั่ มากข้นึ ในการทาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ และกาหนดใหม้ ีการกากบั ดูแลการ ใหบ้ ริการ เกี่ยวกบั ลายมือชื่ออิเลก็ ทรอนิกส์ตลอดจนการให้ บริการอื่น ท่ีเก่ียวขอ้ งกบั ลายมือชื่อ อิเลก็ ทรอนิกส์

3. กฎหมายเก่ียวกบั การพฒั นาโครงสร้างพืน้ ฐานสารสนเทศให้ทั่วถึง และเท่าเทียม กนั (National Information Infrastructure Law) เพ่ือก่อให้เกดิ การส่งเสริม สนบั สนุน และพฒั นาโครงสร้างพืน้ ฐานสารสนเทศ อนั ได้แก่ โครงข่ายโทรคมนาคม เทคโนโลยสี ารสนเทศ สารสนเทศทรัพยากรมนุษย์ และโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศสาคัญอ่ืน ๆ อนั เป็ นปัจจัยพืน้ ฐาน สาคัญใน การพฒั นาสังคม และชุมชนโดยอาศัยกลไกของรัฐ ซึ่งรองรับเจตนารมณ์สาคัญประการหนึ่งของ แนวนโยบายพืน้ ฐานแห่งรัฐตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 78 ในการกระจายสารสนเทศให้ทว่ั ถงึ และเท่าเทยี ม กนั และนับเป็ นกลไกสาคัญในการช่วยลดความเหลื่อมลา้ ของสังคมอย่างค่อยเป็ นค่อยไป เพ่ือสนบั สนุนให้ ท้องถิน่ มีศักยภาพในการปกครองตนเองพฒั นาเศรษฐกจิ ภายในชุมชน และนาไปสู่สังคมแห่งปัญญา และ การเรียนรู้ 4. กฎหมายเกยี่ วกบั การคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (Data Protection Law) เพ่ือ ก่อให้เกดิ การรับรองสิทธิและให้ความคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ซึ่งอาจถกู ประมวลผล เปิ ดเผยหรือเผยแพร่ ถึงบคุ คลจานวนมากได้ในระยะเวลาอนั รวดเร็วโดยอาศัยพฒั นาการทางเทคโนโลยี จนอาจก่อให้เกดิ การนา ข้อมูลน้นั ไปใช้ในทางมชิ อบอนั เป็ นการละเมิดต่อเจ้าของข้อมูล ท้งั นี้ โดยคานึงถงึ การรักษาดุลยภาพระหว่าง สิทธิข้นั พื้นฐานในความเป็ นส่วนตวั เสรีภาพในการตดิ ต่อส่ือสาร และความม่ันคงของรัฐ 5. กฎหมายเกย่ี วกบั การกระทาความผดิ เกยี่ วกบั คอมพวิ เตอร์ (Computer Crime Law) เพ่ือกาหนดมาตรการทางอาญาในการลงโทษผู้กระทาผิดต่อระบบการทางานของคอมพวิ เตอร์ ระบบข้อมูล และระบบเครือข่าย ท้ังนีเ้ พ่ือเป็ นหลกั ประกันสิทธเิ สรีภาพ และการคุ้มครองการอย่รู ่วมกนั ของ สังคม 6. กฎหมายเกยี่ วกบั การโอนเงินทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (Electronic Funds Transfer Law) เพ่ือกาหนดกลไกสาคญั ทางกฎหมายในการรองรับระบบการโอนเงนิ ทาง อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ท้ังทเ่ี ป็ นการโอนเงินระหว่างสถาบนั การเงิน และระบบการชาระเงินรูปแบบใหม่ในรูปของ เงินอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ก่อให้เกดิ ความเชื่อมัน่ ต่อระบบการทาธุรกรรมทางการเงิน และการทาธุรกรรมทาง อเิ ลก็ ทรอนิกส์มากยิ่งขนึ้

สรุปทา้ ยบทท่ี 8 บทที่ 9 \"พาณิชย์อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์\"

บทที่ 9 \"พาณชิ ย์อเิ ลก็ ทรอนิกส์\" 9.1 ความหมายของพาณิชย์อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ พาณิชยอ์ ิเลก็ ทรอนิกส์ (Electronic commerce) หรือ อี-คอมเมิร์ช (E-Commerce) หมายถึง การทาธุรกรรมผา่ นส่ือ อิเลก็ ทรอนิกส์ ในทุกๆ ช่องทางท่ีเป็นอิเลก็ ทรอนิกส์เช่น การซ้ือขายสินคา้ และบริการ การโฆษณาผา่ นสื่ออิเลก็ ทรอนิกส์ ไมว่ า่ จะเป็น โทรศพั ท,์ โทรทศั น์, วทิ ย,ุ หรือแมแ้ ต่อินเทอร์เน็ต เป็นตน้ โดยมีวตั ถปุ ระสงคเ์ พ่ือลดค่าใชจ้ ่าย และเพม่ื ประสิทธิภาพขององคก์ ร โดยการ ลดบทบาทของความสาคญั ขององคป์ ระกอบทางธุรกิจลง เช่น ทาเลท่ีต้งั อาคารประกอบการ โกดงั เก็บสินคา้ หอ้ งแสดงสินคา้ รวมถึง พนกั งานขาย พนกั งานแนะนาสินคา้ พนกั งานตอ้ นรับลูกคา้ เป็นตน้ ดงั น้นั จึงลดขอ้ จากดั ของระยะทางและเวลา ในการทาธุรกรรมลงได้ ตวั อยา่ งเช่น นายสมชายเปิ ดร้านขายสินคา้ โอทอ็ ป ผา่ นทางอินเทอร์เน็ต ทาใหล้ กู คา้ ท่ีอยตู่ ่างประเทศ สามารถเขา้ มาดูตวั อยา่ งสินคา้ และ ติดต่อซ้ือขายกนั ได้ โดยผา่ นทางสื่ออิเลก็ ทรอนิกส์ เทคโนโลยสี ารสนเทศที่รุดหนา้ ท้งั ระบบโทรคมนาคม ระบบคอมพิวเตอร์ และอินเทอร์เน็ต ทาใหก้ ารส่ือสารกนั เป็นไปไดโ้ ดยง่าย และ สามารถเขา้ ถึงผใู้ ชบ้ ริการไดห้ ลายระดบั อีกท้งั ยงั สามารถโตต้ อบกนั ไดท้ นั ที ทาใหส้ ามารถเสนอธุรกรรมท่ีหลากหลาย เช่น การช้ือขาย การบริการหลงั การขาย การโอนเงินชาระค่าบริการสินคา้ การขนส่ง เป็นตน้ โดยมีกฎหมายธุรกรรมพาณิชยอ์ ิเลก็ ทรอนิกส์ และกฎหมาย ลายมือชื่ออิเลก็ ทรอนิกส์ เขา้ มาคุม้ ครองเรื่องความปลอดภยั 9.2 ววิ ฒั นาการของพาณชิ ย์อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ การคา้ อิเลก็ ทรอนิกส์น้นั เริ่มข้นึ บนโลกคร้ังแรกเมื่อปี พ.ศ. 2513 ซ่ึงไดม้ ีการเร่ิมใชร้ ะบบโอนเงินทางอิเลก็ ทรอนิกส์หรืออีเอฟที (EFT = Electronic Fund Transfer) แต่ในขณะน้นั มีเพียงบริษทั ขนาดใหญแ่ ละสถาบนั การเงินเทา่ น้นั ท่ีใชง้ านระบบ โอนเงินทางอิเลก็ ทรอนิกส์ ต่อมาอีกไม่นานก็เกิดระบบการส่งเอกสารทางอิเลก็ ทรอนิกส์ หรือ อีดีไอ (EDI = Electronic Data Interchange) ซ่ึงสามารถช่วยขยายการส่งขอ้ มลู จากเดิมที่เป็ นขอ้ มูลทางการเงินอยา่ งเดียวเป็นการส่งขอ้ มูลแบบอื่นเพิ่มข้นึ เช่น การส่งขอ้ มลู ระหวา่ งสถาบนั การเงินกบั ผผู้ ลิต หรือผคู้ า้ ส่งกบั ผคู้ า้ ปลีก เป็นตน้ หลงั จากน้นั ก็มีระบบส่ือสารรวมถึงโปรแกรมอื่นๆ เกิดข้นึ มากมายต้งั แต่ระบบที่ใชใ้ นการซ้ือขายหุน้ จนไปถึงระบบท่ีช่วยในการ สารองที่พกั ซ่ึงเรียกไดว้ า่ โลกไดก้ า้ วเขา้ สู่ยคุ ของการสื่อสาร และเม่ือยคุ ของอินเตอร์เน็ตมาถึงเม่ือประมาณปี พ.ศ. 2533 จานวนผใู้ ช้ อินเตอร์เนต็ กเ็ พม่ิ ข้ึนอยา่ งรวดเร็ว การคา้ อิเลก็ ทรอนิกส์กไ็ ดเ้ กิดข้ึน เหตุผลท่ีทาใหร้ ะบบการคา้ อิเลก็ ทรอนิกส์เติบโตอยา่ งรวดเร็วคือ โปรแกรมสนบั สนุนการคา้ อิเลก็ ทรอนิกส์ท่ีไดร้ ับการพฒั นาข้ึนมามากมาย รวมถึงระบบเครือขา่ ยดว้ ย พอมาถึงประมาณปี พ.ศ. 2537

– 2542 ก็ถือไดว้ า่ ระบบการคา้ อิเลก็ ทรอนิกส์หรืออีคอมเมิร์ซกเ็ ป็นท่ียอมรับและไดร้ ับความนิยมอยา่ งมากและรวดเร็ว ซ่ึงวดั ไดจ้ าก การท่ีมีบริษทั ต่างๆ ในอเมริกาไดใ้ หค้ วามสาคญั และเขา้ ร่วมในระบบอีคอมเมิร์ซอยา่ งมากมาย การแลกเปลย่ี นข้อมูลทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (Electronic Data Interchange: EDI) การแลกเปล่ียนขอ้ มูลทางอิเลก็ ทรอนิกส์ หรือ EDI เป็นเทคโนโลยที ่ีใชค้ อมพวิ เตอร์ในการรับ-ส่งเอกสารจากหน่วยงานหน่ึงไป ยงั อีกหน่วยงานหน่ึงโดยส่งผ่านเครือข่าย เช่น โทรศพั ท์ สายเคเบิล ดาวเทียม เป็นตน้ แทนการส่งเอกสารโดยพนกั งานส่งสารหรือไปรษณีย์ ระบบ EDI จะตอ้ งใชร้ ูปแบบของเอกสารท่ีเป็นมาตรฐานเพือ่ ให้หน่วยงานทางธุรกิจหรือองคก์ รต่างๆ สามารถสื่อสารไดอ้ ยา่ งมี ประสิทธิภาพ สาหรับมาตรฐานของ EDI ในประเทศไทยถกู กาหนดโดยกรมศลุ กากร ซ่ึงเป็นหน่วยงานแรกท่ีนาระบบน้ีมาใชง้ าน คอื มาตรฐาน EDIFACT (Electronic Data Interchange for Administration, Commerce and Transport) ตวั อยา่ งของเอกสารที่นามาใชแ้ ลกเปลี่ยนขอ้ มูลดว้ ยระบบ EDI เช่น ใบส่ังซ้ือสินคา้ ใบเสนอราคา ใบกากบั สินคา้ ใบเสร็จรับเงิน ใบกากบั ภาษี เป็นตน้ ประโยชน์ของการใช้ระบบ EDI - ลดค่าใชจ้ ่ายดา้ นการจดั ส่งเอกสาร - ลดเวลาทางานในการป้อนขอ้ มูล ทาใหข้ อ้ มลู มีความถูกตอ้ งและลดขอ้ ผดิ พลาดจากการป้อนขอ้ มูลที่ซ้าซอ้ น - เพมิ่ ความรวดเร็วในการติดต่อส่ือสาร - ลดคา่ ใชจ้ ่ายและภาระงานดา้ นเอกสาร - แกป้ ัญหาอุปสรรคทางภมู ิศาสตร์และเวลา ยคุ พาณิชย์อเิ ลก็ ทรอนิกส์ ยคุ พาณิชยอ์ ิเลก็ ทรอนิกส์ เพยี งมีแค่คอมพิวเตอร์ที่ตอ่ กบั อินเตอร์เน็ทก็สามารถร่วมกระบวนการคา้ อิเลก็ ทรอนิกส์ไดท้ นั ที ใชเ้ พยี ง เวบ็ บราวเซอร์ ในการเลือกซ้ือสินคา้ สั่งซ้ือและรับชาระเงิน การคา้ ขายแบบพาณิชยอ์ เิ ลก็ ทรอนิกส์

9.3 รูปแบบของพาณิชย์อเิ ลก็ ทรอนิกส์ แบ่งกนั ตามความสมั พนั ธ์ทางการตลาดได้ 3 รูปแบบดงั น้ี 1. แบบธุรกิจกบั ธุรกิจ (B2B : Business to Business) เป็นธุรกรรมระหวา่ งผดู้ าเนินธุรกิจดว้ ยกนั เอง ส่วนใหญเ่ ป ภาพแสดงความสัมพนั ธ์ ธุรกิจแบบ (B2B : Business to Business) 2. แบบธุรกิจกบั ผบู้ ริโภค (C2C : Consumer to Consumer) ผชู้ ่ือและผขู้ ายจานวนมากจะเขา้ มาเพ่ือติดต่อแลกเป หรือการประมูล ภาพแสดงความสมั พนั ธ์ ธุรกิจแบบ (C2C : Consumer to Consumer) 3. แบบธุรกิจกบั ผบู้ ริโภค (B2C:Business to Consumer) เป็นการทาธุรกรรมกนั ระหวา่ งผปู้ ระกอบการกบั ผบู้ ริโ

การติดตอ่ ระหวา่ ง ผปู้ ระกอบการกบั ผบู้ ริโภค ข้นั ตอนการค้าแบบอเิ ล็กทรอนกิ ส์ ข้นั ตอนท่ี 1 ออกแบบและจดั ทาเวบ็ ไซต์ • ออกแบบดว้ ยรูปลกั ษณ์ที่สวยงาม น่าสนใจ • ออกแบบข้นั ตอนวิธีที่ใชง้ า่ ยและสะดวก • ออกแบบเวบ็ ใหท้ นั สมยั และเป็นปัจจุบนั • ออกแบบดว้ ยการสร้างความแตกตา่ ง ข้นั ตอนที่ 2 การโฆษณาออนไลน์ • ลงประกาศตามกระดานขา่ ว • จดั ทาป้ายโฆษณาออนไลน์ • โฆษณาผา่ นอีเมล์ • แผยแพร่ผา่ นสื่ออ่ืนๆ • ลงทะเบียนกบั ผใู้ หบ้ ริการคน้ หาขอ้ มูล • การลงทะเบียนเพ่ือโฆษณาเวบ็ ไซต์ ข้นั ตอนที่ 3 การทารายการซ้ือขาย • ตอ้ งรักษาความลบั ได้

• เช่ือถือได้ • พิสูจนท์ ราบตวั ตนจริงๆของท้งั ผซู้ ้ือและผขู้ าย ข้นั ตอนที่ 4 การส่งมอบสินคา้ • สินคา้ ที่จบั ตอ้ งได้ (Hard goods) • สินคา้ ที่จบั ตอ้ งไม่ได(้ Soft goods) • software,รูปภาพ และเพลง ,บริการขอ้ มลู ขา่ วสาร ข้นั ตอนที่ 5 การบริการหลงั การขาย แผนภาพ แสดงการคา้ แบบอิเลก็ ทรอนิกส์

9.4 ประโยชน์ของพาณิชย์อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ปัจจุบนั จะเห็นไดว้ า่ พาณิชยอ์ ิเลก็ ทรอนิกส์ เป็นช่องทางการคา้ ที่น่าสนใจมาก เพราะนบั วนั ก็ยงิ่ มีผใู้ ชง้ านอินเตอร์เนต็ เพิ่มมากข้นึ เรื่อยๆซ่ึง ส่งผลใหก้ ารคา้ ทางอินเตอร์เนต็ ขยายตวั ไดอ้ ยา่ ง รวดเร็ว และการทาธุรกิจบนเวบ็ ไซตน์ ้นั สามารถใชป้ ระโยชน์จากเทคโนโลยไี ดม้ ากมาย หลายประการ ไดแ้ ก่ 1. ทาการคา้ ไดต้ ลอด 24 ชงั่ โมง และขายสินคา้ ไดท้ วั่ โลก นกั ท่องอินเตอร์เน็ตจากทวั่ ทุกมุมโลก สามารถเขา้ มาในเวบ็ ไซตข์ อง บริษทั ไดต้ ลอดเวลาผขู้ ายสามารถนาเสนอสินคา้ ผลิตภณั ฑ์ และบริการตา่ งๆ 2. ขอ้ มูลทนั สมยั อยเู่ สมอ และประหยดั คา่ ใชจ้ ่าย พาณิชยอ์ ิเลก็ ทรอนิกส์ น้นั มีประโยชน์ที่สาคญั มากอีกประการหน่ึง คือสามารถ เสนอขอ้ มูลที่ใหม่ลา่ สุดใหก้ บั ลูกคา้ ไดท้ นั ที 3. ง่ายตอ่ การชาระเงิน พาณิชยอ์ ิเลก็ ทรอนิกส์สามารถชาระเงินไดอ้ ยา่ งสะดวกสบายโดยวิธีการตดั ผา่ นบตั รเครดิตหรือการโอน เงินเขา้ บญั ชีซ่ึงจะเป็นระบบอตั โนมตั ิ

สรุปท้ายบท ท่ี 9



การผลติ สื่อส่งิ พมิ พ์ ออกแบบโดย นาย ขวญั เพชร หวานเขียง นางสาว ชาลิสา เขียวปอ้ ง นางสาว กิตตมิ า เลิศชยั วิรยิ ะ นาย กฤษดา โพอดุ ม นาย สุริยา สุดแลว้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook