ช่อื เรอื่ ง/แนวปฏิบตั ิท่ีดี การพฒั นารปู แบบการสอนภาษาตา่ งประเทศ ยุค 4.0 ของคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรตั นโกสินทร์ ชื่อ-นามสกุล ผู้นาเสนอ ผู้ช่วยศาสตราจารยด์ ร.ชัยวัฒน์ ประสงคส์ รา้ ง ช่อื สถาบันการศึกษา…… มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลรตั นโกสนิ ทร์ หน่วยงาน……………คณะศลิ ปศาสตร์ …………..………………………………………………….............……..……. เบอรโ์ ทรศพั ท์มือถือ...............065-562-6197................................................................................... เบอรโ์ ทรสาร...........02-.222-2814....................................................................................................... E-Mail address [email protected] : [email protected] บทสรุป จากการประชุมเชิงพฒั นาเพอื่ การแลกเปลยี่ นของอาจารยผ์ ู้สอนท่มี ีประสบการณ์สอนไม่น้อยกว่า 10 ปี และผู้บริหารของคณะศิลปศาสตร์ โดยมีการวางกรอบร่วมกันในการจัดการความรู้ (KM) คร้ังนี้ ซ่ึงมาจากการ ทบทวนปัญหาการเรียนการสอนด้านภาษาต่างประเทศในปีการศึกษาท่ีผ่านมา มาแชร์แลกเปล่ียนทบทวนร่วมกัน ของอาจารย์ผู้สอนทุกคนใน วิทยาเขตพ้ืนท่ี บพิตรพิมุข จักรวรรดิ โดยกาหนดกรอบด้านการเรียนการสอนไว้ 4 ประเด็น คือ 1) รูปแบบการสอนภาคทฤษฎี 2) รูปแบบการสอนภาคปฏิบัติ 3) รูปแบบการสอนโดยเน้นกิจกรรม 4) รูปแบบการสอนแบบบูรณาการส่ือการเรียนการสอนร่วมกับเกมหรือกิจกรรมในห้องเรียน โดยมีการประชุม แลกเปล่ียนจากอาจารย์ผู้มีประสบการณ์สอนมากกว่า 10 ปี จานวน 1๕ คน และ ผู้ร่วมเขา้ ฟังแลกเปลยี่ นเรียนรู้ ได้แก่ อาจารย์ใหม่ที่มีประสบการณ์สอนน้อยกว่า 3 ปี จานวน ๒0 คน โดยมีการจัดประชุม ๔ คร้ัง และ ให้ อาจารย์ใหม่นาองค์ความรู้ไปทดลองใชแ้ ละทดลองปฏิบัตจิ ริงกบั นักศึกษาท่ีสอนในภาคเรยี นที่ 1/๒๕๖๑ หลังจาก นั้นกลับมาแชร์แลกเปล่ียนกับเพ่ือนอาจารย์ถึงข้อดีและข้อจากัดและการประยุกต์ รูปแบบการสอนให้มีความ เหมาะสมกับผู้เรียน ซ่ึงองคค์ วามร้แู ตล่ ะดา้ นท้ัง ๔ ด้านสรปุ ได้ดงั นี้ 1. รูปแบบการสอนภาคทฤษฎีโดยใช้วิธีการสอนภาคทฤษฎีของรายวิชาแบบบรรยาย การเรยี นการ สอนโดยเนน้ การให้ผู้เรยี นเป็นสาคัญ ซ่งึ ผสู้ อนสามารถ แบง่ ออกเป็น 3 ข้ันตอน 1 ขั้นการเตรียมความพร้อมของ ผู้สอนและผู้เรียน 2.ขั้นสอน ขั้นตอนการสอนภาษาเพ่ือการสื่อสาร ได้แก่ - การนาเสนอเน้ือหา (Presentation ในข้ันนี้ผู้สอนจะให้ข้อมูลทางภาษาแก่ผู้เรียน ซ่ึงนับเป็นการเร่ิมต้นการเรียนรู้ มีการนาเสนอ เนื้อหาใหม่โดยจะมุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้รับรู้และทาความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายและรูปแบบภาษาท่ีใช้กันจริง โดยทั่วไป รวมท้ังวิธีการใช้ภาษาไม่ว่าจะเป็นด้านการออกเสียง ความหมาย คาศัพท์และโครงสร้างไวยากรณ์ที่ เหมาะสมกับสถานการณ์ตา่ ง ๆ ควบคู่ไปกับการเรียนรู้กฎเกณฑ์ - ขนั้ การฝึกปฏิบตั ิ (Practice) เป็นข้นั ตอนท่ีให้ ผู้เรียนได้ฝึกใช้ภาษาท่ีเพิ่งจะเรียนรู้ใหม่จากขั้นการนาเสนอเน้ือหาในลักษณะของการฝึกควบคุมหรือช้ีนา (Controlled Practice Directed Activities) - ขั้นการใช้ภาษาเพ่ือการส่ือสาร (Production) การฝึกใช้ ภาษาเพ่ือการส่ือสารเปรียบเสมือนการถ่ายโอนการเรียนรู้ภาษาจากสถานการณ์ในชั้นเรียนไปสู่การนาภาษาไปใช้ จริงนอกช้ันเรียน 3.ขั้นสรุปและประเมินผล การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือกนั เรียนรู้ เปน็ กิจกรรมที่ผู้เรียนร่วมกัน เรียนรู้โดยมีเป้าหมายกลุ่มร่วมกัน น้ันคือ“ผลสัมฤทธิ์ ของกลุ่มมาจากค่าเฉลี่ยของผลสัมฤทธ์ิของสมาชิกทุกคน ร่วมกัน” ความสาเร็จมาจากความรับผิดชอบร่วมกันโดยใช้สื่อคือใบงาน ใบความรู้ หรือใบการร่วมกิจกรรมต่างๆ โดยเทคนิคการใช้วิธีการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง (learner-centered Instruction) โดยการใช้รูปแบบ การการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning Approach) ตามแนวทางการจัดกิจกรรมการสอนภาษา 1
ดังนี้ 1.คิดและคุยกัน (Think-Pairs-Share) 2. คู่ตรวจสอบ (Pairs Check) มุมสนทนา (Confers) ร่วมกันคิด (Numbered Heads Together) เปน็ การจดั การเรียนการสอนทแ่ี บง่ ผู้เรยี นเปน็ กลุ่มยอ่ ย ๆ ๒. รูปแบบการสอนภาคปฏิบัติ ข้ันตอนการสอนโดยใช้กิจกรรมนามี 5 ช้ัน ดังนี้ 1) ขั้นแนะนำ ด้วย การบอกว่าชั้นเรียนแบ่งเป็นก่ีกลุ่ม กลุ่มละกี่คน สมาชิกแต่ละคนต้องรับผิดชอบท่ีจะเรียนเกี่ยวกับหัวข้อท่ีกลุ่ม ได้รับให้ได้ มากที่สุด แต่ละกลุ่มเป็นผู้เช่ียวชาญในหัวข้อนั้น มีหน้าท่ีจะสอนกลุ่มอื่น ด้วย ทุกคนจะได้รับเกรด รายบุคคล และเป็นกลุ่ม 2) ข้ันกำรแบ่งกลุ่มให้คละกัน แล้วให้กลุ่มตั้งช่ือกลุ่ม เขียนชื่อกลุ่ม และสมาชิกบนป้าย นิเทศ ผู้สอนแจ้งกฎเกณฑ์ที่ต้องปฏิบัติระหว่างการประชุมกลุ่ม 3) ขั้นสร้ำงกลุ่มผู้เชี่ยวชำญ โดยผู้สอนแจก เอกสารหัวข้อต่าง ๆ 4) ข้ันตรวจสอบ 5) ประเมินผลและให้คะแนนแต่ละคน ผู้สอนทาการทดสอบเพ่ือดูว่าต้อง สอนเพิม่ เตมิ หรือไมใ่ ห้เกรด และคดิ คะแนนกลุ่ม 3. รูปแบบการสอนโดยเน้นกิจกรรม ซ่ึงสามารถสรุปได้ดังนี้ 3.1 การเรียนแบบ Learning by Doing น้ันใช้ “กิจกรรม Activity”เป็นหลักในการเรียนการสอน โดยการ “ปฏิบัติจริง Doing”ในเน้ือหาทุกข้ันตอนของ การเรียนรู้ 3.2 อาจารย์เป็น “นักออกแบบกิจกรรม Activity Designer”มืออาชีพที่สามารถ “มองเห็นภาพ กิจกรรม” ได้ทันทีเม่ืออ่านเนื้อหาจบลง เช่น ภาพวาดและเล่าเรื่องราวเป็นภาษาต่างๆหรือหาคาศัพท์ท่ีซ้อนอยู่ 3.3 อาจารย์เป็นผู้“สร้าง Constructed”ให้เกิดมีขึ้นในตัวคุณครูในเวลานี้ก็คือ “ความคิดวิเคราะห์ critical Thinking”3.4 เนน้ กิจกรรมกลุ่มโดยทกุ คนมีสว่ นร่วม 4 รูปแบบการสอนแบบบูรณาการสอ่ื การเรียนการสอนร่วมกับเกมหรอื กจิ กรรมในห้องเรียน การใช้ส่ือจริง (Authentic material) ที่ผู้เรียนสามารถพบได้ในชีวิตประจาวันในการสอน (โฆษณาทาง ทีวี, ประกาศรับสมัครงาน, รายงานข่าว สารคดี คลิปวีดิโอต่าง ๆ ที่เกิดข้ึนในชีวิตจริง ไม่ใช่สื่อท่ีสร้างมาเพื่อการ เรียนการสอนเพียงอย่างเดยี ว) เพ่ือกระตุ้นใหผ้ ู้เรียนเหน็ คุณค่าของการเรียนภาษาที่จะตอ้ งนาไปใช้ในการประกอบ อาชีพ และเพ่ือให้ผู้เรียนคุ้นเคยกับภาษา รวมทั้งมีการนาแอปพลิเคช่ัน (Kahoot) ในโทรศัพท์มือถือมาร่วมใช้เป็น เกม แทนการทาแบบฝึกหัดในหอ้ งเรียน เพอื่ ดงึ ดูดความสนใจและการมีสว่ นรว่ มของนักศึกษา Executive Summary From the exchange of instructors who have taught for at least 10 years and the management of the Faculty of Arts. By putting a framework together in Knowledge Management ( KM) is the framework for teaching the four issues: 1) the theory lesson, 2) teaching process Practice 3) the teaching process by focusing on activities 4) teaching process. integrated media teaching with games and activities in the classroom. The meeting of the teachers who have taught for more than 10 years were 15 and participants can exchange learning include teachers who have taught for at least 3 years, 20 people have been held 4 meetings and the new faculty. put knowledge to practical use and experiment with teaching students in semester 1/2561 after returning to the share exchange with professors. Advantages and limitations and the application process is appropriate to teach the students. The knowledge of each of the 4 areas as follows. 1. The theoretical teaching methods, teaching theoretical courses and lectures. With an emphasis on teaching students to be critical. The course can be divided into three steps: 1, the preparation of teachers and teaching classes 2. The teaching language for communication, including: - presentation. ( Presentation At this stage, the instructor will provide information to learners of English. This marks the beginning of learning. 2
Presented by the new focus will allow students to gain knowledge and understanding about the meaning and form of language that is used generally true. Including how to use language, whether it is the pronunciation of the vocabulary and grammatical structures appropriate to the different situations, along with learning the rules - Advanced Practice ( Practice) is a procedure that allows students to practice. using language that would just learn from the content presented in the form of training or direct control ( controlled practice directed Activities) - the use of language for communication ( Production) training b. The language for communication as the transfer of learning from the classroom to the introduction of English into practice outside of class. 3. Summary and Evaluation The learning collaborative learning. An activity that the students learn together. The goal is to group together It is the \" achievement Of the average of the results of all the members together, \"the success of shared responsibility, using the media leaves the knowledge or the activity of various techniques using the methods taught by the learner. centered ( Learner-centered Instruction) by using the collaborative learning ( Cooperative Learning Approach) according to the guidelines of the Organization of Teaching 1. Think and talk. ( Think-Pairs-Share) 2. Double check (Pairs Check) Corner (Confers) together (Numbered Heads Together) is teaching the students divided into small groups. 2. The teaching practice The process taught by the events leading up to 5 layers: 1) the introduction by saying that the class is divided into a few groups of people, each member is responsible to learn about the topic, the group has been making the most of each. the group is specialized in the topic Have a duty to teach the other people will receive individually and as a group, 2) a group that mixed together. Then give the group a name Group name And membership on boards Teachers identify rules that must be observed during a group meeting, 3) establish an expert group. By teaching various topics leaflets 4) Check 5) evaluate and score each. The instructors were tested to see if they need additional instruction or do not make the grade. And that the group 3. The teaching activities focus 3.1 Learning Learning by Doing it the \"Events Activity\" mainly on teaching the \"real Doing\" in all stages of learning. 3.2 Teacher's \" Design Activity Activity Designer\" professional ability. \" Visualize\" activities once read the story ends like a painting and a different language, or find words hidden. 3.3 teachers to \"build Constructed \"to be held at the teacher is. \"The idea is to analyze critical Thinking\". 3.4 Focus group activities by all those involved. 4 Teaching process integrated learning and teaching with games and activities in the classroom. 3
Using the media actually (Authentic material) that the students can be found in everyday teaching. (TV ads, job postings, news reports, documentaries, video clips that happen in real life. The media was not created to teaching only) to motivate the students to appreciate the language to be used in the profession. And to familiarize students with the language. Including the application of Kahoot in mobile phones to be used as a game Instead of doing exercises in the classroom To attract students' attention and participation 4
บทนา พันธกจิ ด้านการเรียนการสอนหลักของคณะศิลปศาสตร์นั้น ในอดีตที่ผ่านมาอาจารยใ์ หม่หรือผู้สอนใหม่ท่ี ได้รับการบรรจุเข้าทางานสอน มักเจอปัญหาการสอนมากมายท้ังการสอนภาคปฏิบัติ การสอนภาคทฤษฎี ผู้เรียนมี ข้อสอนแนะผ่านทางเวปมหาวิทยาลัยมากมาย รวมทั้งทักษะ ผลสัมฤทธ์ิ ผลคะแนนต่าหลายคน และมักจะเกิดกับ อาจารย์ท่ีบรรจุมาใหม่ หลังจากการนาความรู้ท่ีได้จากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ด้านการเรียนการสอน ไปปรับใช้ใน การเรียนการสอน ปรับปรุงการเรียนการสอนในรูปแบบต่าง ๆ เช่น มคอ.3 เพ่ือนามาปรับใช้ในภาคเรียนท่ี 1/60 เป็นต้น การได้ลองใช้เทคนิคต่าง ๆ ท่ีคณะกรรมการร่วมแลกเปลี่ยนกัน เลือกใช้หลายเทคนิค ผสมผสานกัน พัฒนาการเรียนรู้นักศึกษาการกาหนดตัวช้ีวัดเพื่อประเมินผล และพัฒนาการด้านการเรียนภาษาต่างประเทศของ ผู้เรียน เช่น พัฒนาการด้านการฟัง การเขียน การพูดที่ชัดเจน การอ่าน ก่อให้เกิดความตื่นตัวในการพัฒนาทักษะ ด้านภาษาต่างประเทศ เช่น ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน ภาษาญี่ปุ่น ฯลฯ ปัจจุบันมีแนวคิดเก่ียวกับการเรียนการสอน ด้านภาษาต่างประเทศหลายแนวคิด แต่ละแนวคิดช่วยสร้างความคิดท่ีเป็นระบบให้แก่ครูผู้สอน ช่วยให้ทราบการ วิเคราะห์ สังเคราะห์หรือกรอบในการพัฒนามโนทัศน์เกี่ยวกับการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ แนวคิดเหล่านี้ช่วย ครูผู้สอนตัดสินใจวางแผนการจัดการเรียนการสอน การเลือกกิจกรรมประกอบการเรียนการสอน การเลือกสื่อการ เรียนรู้เป็นต้น ดังนั้น จากการประชุมแลกเปลี่ยนของอาจารย์ผู้สอนท่ีมีประสบการณ์สอนไม่น้อยกว่า 10 ปีและ ผู้บริหารของคณะศิลปศาสตร์ โดยมีการวางกรอบร่วมกันในการจัดการความรู้ (KM) คร้ังนี้ โดยกาหนดกรอบด้าน การเรียนการสอนไว้ 4 ประเด็น คือ 1) รูปแบบการสอนภาคทฤษฎี 2) รปู แบบการสอนภาคปฏบิ ัติ 3) รูปแบบการ สอนโดยเน้นกิจกรรม 4) รูปแบบการสอนแบบบูรณาการส่ือการเรียนการสอนร่วมกับเกมหรือกิจกรรมในห้องเรียน ซง่ึ มีรายละเอียดดงั นี้ 1. รูปแบบการสอนภาคทฤษฎี การสอนภาคทฤษฎีนั้นมีหลายวิธีการด้วยกัน โดยการจัดการเรียนการสอนท่ีเหมาะสมและมีผลสัมฤทธ์ิท่ี สูงน้ัน ข้ึนอยู่กับรูปแบบการเทคนิค โดยคานึงถึงสาระการสอน สภาพการณ์และลักษณะของผู้เรียนที่มีความ แตกตา่ งกนั สรปุ ได้ ดงั น้ี วธิ กี ารสอนภาคทฤษฎีของรายวชิ าแบบบรรยาย การเรียนการสอนโดยเน้นการให้ผเู้ รียนเป็นสาคัญ ซ่ึงผสู้ อนสามารถ แบ่งออกเป็น 3 ขั้นตอน ดงั นี้ 1 ขนั้ การเตรียมความพร้อมของผสู้ อนและผูเ้ รยี น 1.1 จัดเตรยี มเอกสารท่เี กี่ยวข้องในวชิ าน้ัน ๆ และหาข้อมลู ใหม่ๆค่อยอพั เดทให้นักศึกษาอยเู่ สมอ 1.2. จัดเตรยี มขอ้ มลู และเนอื้ หาเพ่อื เป็นหัวข้อให้นกั ศกึ ษาค้นควา้ งานทม่ี อบหมายจากทางอนิ เตอร์เน็ต 1.3. จัดเตรียมสื่อการสอน เชน่ Power Pointและใชอ้ ธิบายโดยการใช้ Power Point เปน็ สื่อในการสอน 1.4 วางแผนกจิ กรรมในทุกๆ หนว่ ยเรียนใหส้ อดคลอ้ งกับหลกั สูตรและ มคอ.3 2. ข้ันสอน การสอนภาคทฤษฎีจะเน้นให้นักศึกษาได้มีการศึกษาด้วยตนเอง การศึกษาค้นคว้า การ มอบหมายงาน/ใบงานต่างๆก่อน เพื่อให้เกิดความรู้และพัฒนาทักษะการคิด โดยได้มีการบูรณาการเทคนิคการ จัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญและส่งเสริมทักษะการคิด โดยจะเน้นการจัดการเรียนรู้ที่มุ่งให้ร่วมกันปฏิบัติ รว่ มกันคดิ ซ่ึงรปู แบบการจัดการเรียนรู้แบบรว่ มมือกนั เรียนรู้ จะมีการจดั การเรียนรู้แบบใช้คาถาม โดยผสู้ อนจะต้ัง ประเด็นคาถามในลักษณะต่างๆ ตามแต่หัวข้อให้สอดคล้องกับเนื้อหาและวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้เรียนได้ฝึกคิดตาม สร้างแรงจูงใจกระตุ้นความสนใจให้แก่ผู้เรียน อันไปสู่การร่วมกันสรุปทบทวนร่วมกัน ประกอบกับการสอนแบบ บรรยาย เพื่อช่วยอธิบายให้ผู้เรยี นไดเ้ รียนรตู้ ามวตั ถุประสงค์ที่กาหนด เปดิ โอกาสให้ผเู้ รยี นได้ซกั ถามขยายความให้ เขา้ ใจชดั เจนมากขึ้น 5
ขั้นตอนการสอนภาษาเพอื่ การส่อื สาร - การนาเสนอเนอื้ หา (Presentation) จดั เปน็ ขัน้ ตอนสาคญั ข้ันหนึ่ง ในข้ันนี้ผสู้ อนจะให้ข้อมูลทาง ภาษาแกผ่ เู้ รียน ซึ่งนบั เปน็ การเร่ิมตน้ การเรยี นรู้ มีการนาเสนอเน้ือหาใหม่โดยจะมุ่งเน้นให้ผ้เู รียนไดร้ ับรูแ้ ละทา ความเขา้ ใจเก่ยี วกับความหมายและรปู แบบภาษาท่ใี ชก้ ันจริงโดยท่ัวไป รวมท้งั วิธกี ารใชภ้ าษาไม่วา่ จะเปน็ ดา้ นการ ออกเสียง ความหมาย คาศัพท์และโครงสรา้ งไวยากรณ์ทีเ่ หมาะสมกบั สถานการณต์ ่าง ๆ ควบคไู่ ปกบั การเรยี นรู้ กฎเกณฑ์ - ข้นั การฝึกปฏบิ ตั ิ (Practice) เปน็ ขัน้ ตอนท่ใี หผ้ ้เู รยี นได้ฝกึ ใชภ้ าษาทเ่ี พงิ่ จะเรียนรู้ใหมจ่ ากขัน้ การ นาเสนอเน้อื หาในลักษณะของการฝึกควบคมุ หรือชี้นา (Controlled Practice Directed Activities) โดยมีผสู้ อน เปน็ ผู้นาในการฝกึ ไปสกู่ ารฝกึ แบบค่อย ๆ ปล่อยใหท้ าเองมากขนึ้ เปน็ แบบกง่ึ ควบคุม (Semi-Controlled) การ ฝกึ ในข้ันน้มี จี ดุ มงุ่ หมายให้ผู้เรยี นจดจารปู แบบของภาษาได้ จึงเน้นทค่ี วามถูกต้องของภาษาเปน็ หลัก แตก่ ็มี จดุ ม่งุ หมายใหผ้ ้เู รียนไดท้ าความเขา้ ใจเก่ียวกบั ความหมายและวธิ กี ารใชร้ ูปแบบภาษาน้ัน ๆ ด้วยเชน่ กัน ทัง้ นผ้ี ู้สอน ตอ้ งให้ขอ้ มลู ป้อนกลับด้วย เพอื่ ให้ผเู้ รยี นรูว้ ่า ตนเองใชภ้ าษาถกู ต้องหรือไม่ นอกจากนี้อาจตรวจสอบความเขา้ ใจ ด้านความหมายได้ (ไม่ควรใช้เวลามากนกั ) ต่อจากน้นั จึงให้ฝกึ ด้วยการเขียน (Written) เพอ่ื เป็นการผนึกความ แมน่ ยาในการใช้ - ข้นั การใช้ภาษาเพอื่ การสอื่ สาร (Production) การฝกึ ใช้ภาษาเพื่อการสือ่ สารเปรียบเสมือนการ ถา่ ยโอนการเรียนรูภ้ าษาจากสถานการณ์ในชน้ั เรียนไปสู่การนาภาษาไปใช้จริงนอกช้ันเรียน การฝึกใชภ้ าษาเพื่อ ส่ือสารโดยท่ัวไป มงุ่ หวงั ใหผ้ เู้ รยี นได้ลองใชภ้ าษาในสถานการณต์ ่าง ๆ ทจี่ าลองจากสถานการณจ์ ริง หรือท่เี ปน็ สถานการณ์จรงิ ดว้ ย โดยครผู สู้ อนเป็นเพยี งผแู้ นะแนวทางเท่าน้นั วิธกี ารฝกึ มักฝึกในรูปแบบของการจดั กิจกรรม แบบต่าง ๆ โดยครผู สู้ อนเปน็ เพยี งผู้กาหนดภาระงาน หรือสถานการณ์ตา่ ง ๆ 3. ขนั้ สรปุ และประเมินผล การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือกันเรียนรู้ เป็นกิจกรรมที่ผู้เรียนร่วมกันเรียนรู้โดยมีเป้าหมายกลุ่มร่วมกัน น้ันคือ“ผลสัมฤทธ์ิ ของกลุ่มมาจากค่าเฉล่ียของผลสัมฤทธ์ิของสมาชิกทุกคนร่วมกัน” ความสาเร็จมาจากความ รบั ผิดชอบรว่ มกันโดยใชส้ ือ่ คอื ใบงาน ใบความรู้ หรือใบการรว่ มกจิ กรรมตา่ งๆ เทคนิคการใช้วิธีการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง (learner-centered Instruction) ด้วยวิธีการทาวิจัยใน ด้านการสอนภาษาและการพัฒนาผู้เรียน โดยสารวจข้อมูลความคิดเห็นจากผู้เรียนถึงปัญหาในการเรียนสนทนา ภาษาอังกฤษ พบว่าผู้เรียนส่วนใหญ่มีความตระหนก (anxiety) และอาย ในการใช้ภาษาอังกฤษท้ังในห้องเรียน และนอกห้องเรียน แล้วนาปัญหาน้ันมาปรับกิจกรรมการสอนเพ่ือช่วยแก้ปัญหาดังกล่าวให้กับผู้เรียน โดยการใช้ รูปแบบการการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning Approach) ตามแนวทางการจัดกิจกรรมการสอน ภาษา ดงั นี้ 1. คิดและคุยกัน (Think-Pairs-Share) เพื่อนเรียน (Partners) และผลัดกันพูด (Say and Switch) ท้ัง 3 รูปแบบเป็นการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีคล้ายคลึงกัน คือให้ผู้เรียนจับคู่กันในการตอบคาถาม อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเก่ียวกับประเด็นหรือสถานการณ์ หรอื ทาความเข้าใจเน้ือหาที่เป็นความคิดรวบ ยอดทก่ี าหนดให้ 2. คู่ตรวจสอบ (Pairs Check) มุมสนทนา (Confers) ร่วมกันคิด (Numbered Heads Together) เปน็ การจดั การเรยี นการสอนทแี่ บ่งผ้เู รียนเปน็ กลมุ่ ย่อย ๆ เทคนิคการสอนแบบพูดถามตอบ เป็นการสอนท่ีใช้คาถามคาตอบ โดยผู้สอนเป็นผู้ถามคาถามและ ผู้เรียนเป็นผู้ตอบคาถามตามพ้ืนฐานความรู้ที่ผู้เรียนได้อ่านจากหนังสือ หรือสิ่งที่ผู้สอนได้นาเสนอในระหว่างการ บรรยาย การสาธติ หรือกิจกรรมอน่ื ในการสอนแบบพูดถามตอบ ผสู้ อนควรอธบิ ายใหน้ ักเรียนทราบถึงวัตถุประสงค์ ของการสอนแบบน้ี ซึ่งผสู้ อนจะได้ใช้ขอ้ มลู เหลา่ น้ใี นการขยายความและอธิบายเพมิ่ เติมแกผ่ ู้เรยี น 6
๒. รปู แบบการสอนภาคปฏิบัติ การพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนน้ัน นอกจากจะเกี่ยวข้องกับองค์ประกอบให้ตัวผเู้ รียนเอง เช่น ความพร้อม สตปิ ญั ญา และสภาพแวดลอ้ มอน่ื ๆแล้ว รูปแบบการเรียนการสอนที่ผู้สอนจัดใหแ้ ก่ผเู้ รียนนน้ั ก็มสี ว่ นสาคัญ สรุปได้ ดงั นี้ ๑. การสอนแบบการใช้สานวนภาษาที่ขึ้นต้นด้วยคากิริยา, Adj. (ใช้สานวนภาษาที่หลากหลาย) มา ผสมผสานกับกรณศี ึกษาตา่ งๆรวมกับกจิ กรรมในชั้นเรยี น ๒. การใช้ CD ,คลิป,VDO , ภาพยนตร์ โดยให้ผู้เรียนเข้ามามีส่วนร่วม การฟัง การพูด การออกเสียงตาม แบบกบั เจ้าของภาษา ซง่ึ เน้นหลัก LEARN and PLAY ๓. การใช้รูปแบบการเรียนการสอน แบบบทบาทสมมุติ ( Role play ) โดยมอบสถานการณ์ตา่ งๆและเริ่ม ฝกึ พูดในสถานการณ์ แตง่ ประโยคใหม่ๆ หรือมีคาศัพทต์ ่างๆไว้ให้ โดยให้ผู้เรียนเริ่มแต่งประโยคออกมา โดยผู้สอน เป็นผดู้ แู ลและเสนอแนะแก้ไขให้ถกู ต้อง ๔. วิธีการสอนภาษาโดยนาวิชาคณิตศาสตร์มาสัมพันธ์กันหรือสัญลักษณ์ของคณิตศาสตร์เช่น intersection ให้เป็นชุดความรู้ หรือเป็นรูปภาพและเรื่องราวที่สัมพันธ์กัน มีการผูกเร่ืองเข้าด้วยกั นเชิง ความสัมพนั ธแ์ ละตรงขา้ มกัน อาจเกิดจากสงิ่ รอบตัวหรือนิทานกไ็ ด้ เปน็ ต้น ๕. วิธีสอนแบบฟัง-พูด (Audio – Lingual Method) เป็นวิธีการสอนตามหลักภาษาศาสตร์ และวิธีการ สอนตามแนวโครงสร้างเป็นการสอนตามหลักธรรมชาติ คือ ฟัง พูด อ่าน เขียน สอนครบองค์ประกอบลาดับจาก ง่ายไปหายาก ผู้เรียนจะต้องฝึกภาษาท่ีเรียนซ้า ๆ จนเกิดเป็นนิสัย สามารถพูดได้อย่างเป็นอัตโนมัติ ผู้สอนจะต้อง เป็นแบบอย่างท่ีดีในการใช้ภาษาท่ีเรียนให้แก่ผู้เรียนในการเลียนแบบ ผู้เรียนเป็นผู้ลอกเลียนแบบและปฏิบัติตาม ผู้สอนจากสงิ่ ทงี่ ่ายไปสง่ิ ทย่ี าก 6. การนาเร่ืองราวในชีวิตประจาวัน มาประยุกต์ใช้ ให้สอดคล้องกับ TENSE เช่น Past Tense โดยเล่า เรื่องชวี ติ ประจาวนั ใหเ้ พอื่ นร่วมชนั้ ฟัง 1 คน 1 เรอื่ ง คนละ 3 นาที ขน้ั ตอนการสอนโดยใช้กจิ กรรมนามี 5 ชนั้ ดงั น้ี 1. ข้ันแนะนำ ด้วยการบอกว่าช้ันเรียนแบ่งเป็นก่ีกลุ่ม กลุ่มละกี่คน สมาชิกแต่ละคนต้องรับผิดชอบท่ีจะ เรียนเกี่ยวกับหัวข้อทีก่ ลุ่มไดร้ ับให้ได้ มากท่ีสุด แตล่ ะกลุ่มเป็นผู้เชี่ยวชาญในหัวข้อนั้น มีหน้าท่ีจะสอนกลุ่มอื่น ด้วย ทุกคนจะไดร้ บั เกรดรายบคุ คล และเป็นกลุ่ม 2. ขั้นกำรแบ่งกลุ่มให้คละกัน แล้วให้กลุ่มตั้งชื่อกลุ่ม เขียนช่ือกลุ่ม และสมาชิกบนป้ายนิเทศ ผู้สอนแจ้ง กฎเกณฑท์ ่ตี อ้ งปฏบิ ตั ิระหวา่ งการประชุมกลุ่ม ก. ห้ามคนใดออกจากกลุ่มกอ่ นท่จี ะเสร็จงานกลุ่ม ข. แตล่ ะคนในกล่มุ ต้องรบั ผิดชอบทีจ่ ะใหส้ มาชกิ ทุกคนเข้าใจและทางานใหเ้ สร็จสมบูรณ์ ค. ถ้าผ้เู รียนคนใดไมเ่ ข้าใจเรื่องใด ตอ้ งขอความช่วยเหลอื จากเพ่อื นในกลมุ่ กอ่ นทีจ่ ะถามผสู้ อน 3. ขัน้ สรำ้ งกล่มุ ผ้เู ชีย่ วชำญ โดยผ้สู อนแจกเอกสารหวั ขอ้ ต่าง ๆ ซง่ึ ภายในควรประกอบดว้ ย ดงั น้ี เน้ือหา ถ้ามีกลุ่ม 6 กลุ่ม ผู้สอนต้องเตรียมเอกสาร 6 ชุด ผู้เรียนท่ีได้รับหัวข้อเดียวกันจะศึกษาเรื่องนั้นด้วยกัน เมื่อทุกคนเข้าใจดีแล้ว ก็เตรียมตัววางแผนกการสอนเพ่ือกลับไปสอนสมาชิกในกลุ่มเดิมของตนและให้นักศึกษา ค้นหาขอ้ มูล จัดทารายงาน 4. ข้นั ตรวจสอบ 4.1 ผู้เช่ียวชาญสอนเพ่ือนในกลุ่ม ทุกคนจะผลัดกนั สอนเร่ืองทไ่ี ปศกึ ษามาตรวจสอบความเข้าใจ และชว่ ยเพื่อนสมาชกิ ในการเรยี น 7
4.2 มอบหมายให้เพ่ือนตรวจสอบเพ่ือน เพื่อดคู วามถกู ต้องและให้กล้าเสนอแนะเพอ่ื นในสิ่งที่ถูก และใหเ้ พอื่ นทุกคนยอมรับความคิดเห็นของกันละกัน 5. ประเมินผลและให้คะแนนแตล่ ะคน ผสู้ อนทาการทดสอบเพ่ือดูว่าต้องสอนเพ่ิมเตมิ หรอื ไม่ให้เกรด และ คิดคะแนนกล่มุ 3. รูปแบบการสอนโดยเน้นกจิ กรรม (Activity Base) 3.1 การเรียนแบบ Learning by Doing น้ันใช้ “กิจกรรม Activity”เป็นหลักในการเรียนการสอน โดยการ “ปฏิบตั ิจริง Doing”ในเนื้อหาทุกข้ันตอนของการเรียนรู้ เป็นการเรยี นรดู้ ้วยตนเอง ทุกคนในกลมุ่ เป็น ผู้ปฏิบัติแต่กิจกรรมที่นามาใช้นี้ต้องมีประสิทธิภาพในการเรียนรู้เน้ือหานั้นๆ มีจุดมุ่งหมาย สนุก และน่าสนใจ ไมซ่ ้าซากจนก่อใหเ้ กดิ ความเบื่อหนา่ ย ดังนน้ั 3.2 อาจารย์เป็น “นักออกแบบกิจกรรม Activity Designer”มืออาชีพท่ีสามารถ “มองเห็นภาพ กจิ กรรม” ได้ทันทีเมอื่ อ่านเนื้อหาจบลง เช่น ภาพวาดและเล่าเรื่องราวเป็นภาษาต่างๆ นักศึกษาร่วมกนั ค้นหา คาศัพท์ที่ซอ้ นอยใู่ นภาพให้พบ รวมทัง้ มกี ารแข่งขนั ในการตอบคาศัพท์และออกเสยี งใหถ้ กู ต้อง 3.3 อาจารย์เป็นผู้“สร้าง Constructed”ให้เกิดมีขึ้นในตัวคุณครูในเวลาน้ีก็คือ “ความคิดวิเคราะห์ critical Thinking”เพื่อจะได้รู้ความต้องการและความคิดแทจ้ ริงของนักเรยี นเพื่อเข้าใจความต้องการของกลุ่ม ทันสมัยอยู่เสมอ ไม่ตกยุคคุณครูต้องมี “ความคิดสร้างสรรค์ Creative Thinking” เพ่ือจะได้มีความสามารถ สร้างสรรคก์ จิ กรรมการเรียนรู้ที่ใหม่และนา่ สนใจอยเู่ สมอ 3.4 เน้นกจิ กรรมกลุ่มโดยทกุ คนมีสว่ นรว่ ม ไดแ้ ก่ -กจิ กรรมทายคาศพั ท์จากท่าทางของเพอื่ นรว่ มห้อง -กิจกรรมบทบาทสมมุติและสถานการณ์จาลอง -กิจกรรมเกมการสร้างประโยคแข่งกนั สรา้ งผงั คาศพั ท์ทเี่ หมอื นกันและแตกตา่ งกนั -กจิ กรรมเพอ่ื นเชค็ เพ่ือน การออกเสยี งถกู กบั ผิด ให้มีศัพทย์ ากทผี่ สู้ อนมอบหมาย -กิจกรรมการแข่งขันการแปลภาษาตามเนือ้ เร่อื งที่มอบหมายให้ 4 รปู แบบการสอนแบบบรู ณาการส่ือการเรียนการสอนรว่ มกบั เกมหรอื กิจกรรมในห้องเรียน การใช้ส่ือจริง (Authentic material) ที่ผู้เรียนสามารถพบได้ในชีวิตประจาวันในการสอน (โฆษณาทาง ทีวี, ประกาศรับสมัครงาน, รายงานข่าว สารคดี คลิปวีดิโอต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตจริง ไม่ใช่ส่ือท่ีสร้างมาเพื่อการ เรียนการสอนเพียงอย่างเดียว) เพ่ือกระตุ้นใหผ้ ู้เรียนเห็นคณุ ค่าของการเรียนภาษาที่จะตอ้ งนาไปใช้ในการประกอบ อาชีพ และเพ่อื ให้ผเู้ รียนคนุ้ เคยกบั ภาษา สแลง และคาศพั ท์ท่ีใชใ้ นชวี ิตประจาวนั การใช้รูปแบบการเรยี นสาเรจ็ รูป สาหรับสภาพการใช้แบบเรียนสาเร็จรูป อาจารย์ได้จัดสภาพห้องเรียนโดยจัดให้นักศึกษาน่ังเป็นกลุ่มคละกัน ระหวา่ งนักศึกษาท่ีเรยี นดี และนักศึกษาท่ผี ลการเรียนปานกลางถึงอ่อน นอกจากนี้หากนักศึกษาไม่ปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนในแต่ละบทเรียน ก็เป็นสาเหตุอีกประการหนึ่งที่ทา ใหผ้ ลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นด้วยวิธีนี้ของนักศึกษาบางคนต่าลงได้ แต่นักศึกษาส่วนใหญ่จะพึงพอใจกับการเรียนด้วย แบบเรียนสาเร็จรูปในความคิดเห็นของผู้สอนและนักศึกษา พบว่า ผู้สอนมีความคิดเห็นว่าแบบเรียนสาเร็จรูปมี วตั ถปุ ระสงค์ของบทเรยี น สอดคล้องกับเนื้อหามีเนือ้ หาครบถ้วนตามหลกั สูตรมคี ณุ สมบัติชว่ ยสง่ เสริมการเรียนดว้ ย ตนเอง ช่วยลดเวลาในการสอนของครู แต่ผู้สอนควรมีการเตรียมการสอนล่วงหน้าเพื่อแก้ปัญหาหากนักศึกษาไม่ เขา้ ใจบทเรยี น และแก้ปญั หาท่ีเกดิ ข้ึนได้ ส่วนในด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาในวิชาบรรยายโดยทั่วไปมีระดับต่ากว่า แต่เมื่อใช้ แบบเรียนสาเร็จรูปเข้าช่วยในการเรียนการสอนร่วมกับการสอนแบบบรรยายปกติในช้ันเรียน พบว่า แบบเรียน สาเรจ็ รปู จะมีสว่ นชว่ ยเสรมิ สรา้ งความเขา้ ใจในวชิ าบรรยายใหน้ ักศึกษาไดม้ ากยง่ิ ขึ้น 8
การใช้ Social Network เข้ามามีสว่ นรว่ มในการเรียนการสอน Kahoot! เป็นเครอ่ื งมือท่ีใช้กับระบบสารสนเทศท่ีช่วยในการประเมนิ ผเู้ รียนผ่าน Smart Phone เพียงขอใหม้ ีสัญญาณทเี่ ช่อื มต่อกบั Internet ได้ เราก็นา Kahoot! มาชว่ ยในการประเมินผลผู้เรียนได้ฟรี ๆ เพยี งแคเ่ ราใหผ้ ู้เรียนเชอ่ื มต่อสัญญาณ Internet แล้วเข้าไปท่ี Kahoot.it ผเู้ รยี นกจ็ ะพบกบั หน้าจอในลักษณะน้ี ผ้สู อนก็จะแสดงคาถามทลี ะขอ้ โดยมกี ารต้งั คา่ จบั เวลาในการตอบแตล่ ะขอ้ ได้ดว้ ย โดยขอ้ คาถามก็จะโชวข์ ้ึนจอ ฉาย LCD ได้ขณะสอน (ดั่งภาพจอฝงั่ ซ้ายมอื ) และหนา้ จอมือถือของผ้เู รยี น ก็จะให้เลอื กวา่ จะตอบขอ้ ใด (ดงั ภาพ จอฝงั่ ขวามือ) ตามสีที่กาหนดไว้เป็นตัวเลอื ก โดยผู้สอนสามารถตัง้ คา่ ว่าจะเฉลยดว้ ยหรอื ไม่ ซ่งึ ผมจะอธิบายเฉลยด้วย เพราะจะได้สอนผู้เรียนไป ในตวั และระบบยังแสดงวา่ มีคนตอบถูกกี่คน (ดังภาพจอฝ่งั ซา้ ยมอื ) โดยหน้าจอในมือถือของผู้เรียนแสดงผลว่าตอบ ผิดหรือถกู และผู้ตอบมคี ะแนนรวมแล้วเท่าใด หากผูส้ อนสร้างกจิ กรรมให้ทา้ ทายผู้เรียนและเร้าความสนใจ ผเู้ รียนจะสนุกมาก เพราะพวกเขาต้อง แขง่ ขนั กันตอบให้ถูกและเรว็ จึงจะได้คะแนนสงู ๆ 9
และเมอื่ ตอบคาถามครบทุกข้อระบบยงั รวมคะแนน และจัดอนั ดบั ว่าใครคือ The Winner พร้อมท้ัง Download ผลสรปุ ของผู้เรยี นแต่ละคน วา่ ใครตอบผิด ตอบถูกในขอ้ ใด เพอื่ ให้ผสู้ อนนาผลไปพฒั นาผ้เู รียนต่อไดเ้ ปน็ รายบุคคล บทสรุป หลงั จากมกี ารดาเนนิ การนาการจดั การความรู้โดยการแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ ด้านการเรียนการสอน ไปปรบั ใช้ ในการเรียนการสอน ปรับปรุงการเรียนการสอนในรูปแบบต่าง ๆ เช่น มคอ.3 เพ่ือนามาปรับใช้ในภาคเรียนท่ี 1/60 เปน็ ต้น การได้ลองใช้เทคนิคต่าง ๆ ท่คี ณะกรรมการร่วมแลกเปลี่ยนกัน เลือกใชห้ ลายเทคนิค ผสมผสานกัน พัฒนาการเรียนรู้นักศึกษาการกาหนดตัวช้ีวัดเพ่ือประเมินผล และพัฒนาการด้านการเรียนภาษาต่างประเทศของ ผู้เรียน เช่น พัฒนาการด้านการฟัง การเขียน การพูดท่ีชัดเจน การอ่าน ก่อให้เกิดความตื่นตัว เกิดทักษะ ผลสัมฤทธ์ิผู้เรียนและมีการพัฒนาทักษะด้านภาษาต่างประเทศ เช่น ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน ภาษาญ่ีปุ่น ฯลฯ เพ่ิมขึ้นอย่างชัดเจน โยเฉพาะนักศึกษาช้ันปีที่ 1 และ ๒ และนาไปสู่การปรับเปล่ียนวัฒนธรรมการสอนแบบใหม่ แทนที่วัฒนธรรมและรูปแบบการสอนแบบเก่ามีลักษณะการบรรยายและทาแบบฝึกหัดเพียงอย่างเดียว ซ่ึงผล โดยรวมเป็นที่นา่ พอใจมาก 10
แนวทางพัฒนาการเรยี นรสู้ ู่การเปน็ บัณฑติ นกั ปฏบิ ัติ ของนกั ศกึ ษาคณะบรหิ ารธรุ กจิ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลรัตนโกสินทร์ นิธนิ พ ทองวาสนาสง่ 1 อาจารย์ประจาสาขาการจดั การ คณะบริหารธรุ กิจ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลรตั นโกสินทร์ E-mail: [email protected] บทสรุป การส่งเสริมให้ผู้เรียนได้มีโอกาสเข้าร่วมโครงการแข่งขันทักษะทางวิชาการในระดับชาติและ นานาชาติ นับเป็นปัจจัยสาคัญท่ีช่วยพัฒนาการเรียนรู้สู่การเป็นบัณฑิตนักปฏิบัติ ของนักศึกษาใน คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ โดยสาระในบทความนี้มุ่งนาเสนอ แนวทางในการดาเนินงานเพ่ือพฒั นาองค์ความรู้ให้แก่นักศึกษาสู่การเป็นบัณฑติ นักปฏิบัติ โดยมงุ่ เน้น ท่ีผลลัพธข์ องการเรียนรเู้ ป็นหลกั เพือ่ ให้แก่อาจารยผ์ สู้ อนในระดบั อุดมศกึ ษาไดน้ าเอาแนวคดิ ดังกล่าว ไปประยุกต์ใช้ในการสร้างรูปแบบการเรียนการสอนภายใต้การเรียนรู้โดยการปฏิบัติ (Action Learning) และการสอนงาน (Coaching) แก่นักศึกษาในเชิงประจักษ์ได้ โดยผลลัพธ์ของการเรียนรู้ ดงั กลา่ วจะสะท้อนให้อาจารย์ผู้สอนและนักศึกษาเกิดการพัฒนาศักยภาพของตนเองอย่างต่อเน่ืองจน เป็นที่ยอมรับต่อคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิและองค์กรภายนอก ดังน้ันการส่งเสริมให้นักศึกษาเข้า ร่วมโครงการแข่งขันทักษะทางวิชาการในระดับชาติและนานาชาติ นอกจากจะเป็นเครื่องมือสาคัญท่ี ส่งผลใหน้ ักศึกษาเกดิ การพฒั นาศักยภาพสู่การเปน็ บัณฑิตนักปฏบิ ตั ิแลว้ ยงั สง่ ผลต่อการสร้างชอ่ื เสียง และความนา่ เชือ่ ถอื ของมหาวทิ ยาลัย ให้เป็นทย่ี อมรบั ตอ่ หนว่ ยงานในระดบั สากลอกี ดว้ ย Summary Encouraging students to have the opportunity to participate in national and international academic skills competition programs would be an essential factor that develops learning to be a graduated practitioner of the Faculty of the Business Administration Rajamangala University of Technology Rattanakosin. The article aims to propose guidelines for the operation to develop knowledge for students to become the graduated practitioner focusing on the results of learning. It significantly encourages
the lecturers at the higher education level to apply such concepts to create teaching and learning styles under the Action Learning and Coaching for students. The results of learning will reflect the lecturers and students to develop their potential continuously until being accepted to the qualified committee and external organizations. They are therefore encouraging students to participate in national and international academic skills competition programs and in addition to being a valuable tool that results in the development of potential students to become graduated practitioner, also affecting the reputation and credibility of the university to be accepted at the international level. คาสาคญั การพัฒนาการเรยี นรู้ บัณฑติ นกั ปฏิบตั ิ นักศกึ ษาคณะบริหารธรุ กิจ ทักษะทางวิชาการ บทนา ต้ังแต่อดีตจนถึงปัจจุบันรูปแบบการจัดการเรียนการสอนในประเทศไทย ได้มีการ เปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง โดยช่วงสมัยแรกวธิ ีการเรียนการสอนจะยึดองค์ความรู้จากอาจารย์ผสู้ อน เป็นหลัก หรือ เรียกได้อีกอย่างว่า “ครูเป็นใหญ่ท่ีสดุ ในชั้นเรียน” ส่วนผู้เรียนมีหน้าทีใ่ นการเรียนตาม รปู แบบการเรยี นการสอนของอาจารย์ผู้สอนเท่านัน้ ซึง่ ในเวลาต่อมา รปู แบบการจดั การเรยี นการสอน ได้มีการเน้นให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเองมากขึ้น โดยอาจารย์ผู้สอนจะใช้เวลาในการบรรยาย หรือถ่ายทอดองค์ความรู้น้อยลง แล้วคอยทาหน้าที่เป็นพี่เลี้ยงหรือท่ีปรึกษาโครงงานที่ได้มอบหมาย ใหแ้ กผ่ ูเ้ รียนแทน เพอื่ ให้ผู้เรียนเกดิ การเรียนรู้ และความเข้าใจถงึ เน้ือหาบทเรยี นได้ด้วยตนเอง หรอื ที่ เรียกว่า TLLM (Teach Less, Learn More) คือการสอนให้น้อยลง เรียนรู้ให้มากข้ึน (ไพฑูรย์ สินลา รัตน์, 2559) โดยองค์กรยูเนสโก (UNESCO, 2017) ได้กล่าวถึง ผู้เรียนยุคใหม่ว่าต้องเป็นคนที่รู้จักท่ี จะเรียนรู้ (Learning to Know) ใฝ่หาความรู้ เป็นผู้เรียนท่ีรู้จักลงมือปฏิบัติได้ (Learning to Do) รู้จักท่ีจะอยู่ร่วมกับผู้อ่ืน (Learning to Live Together) และรู้จักเรียนรู้ความเป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ (Learning to Be) ซึ่งคุณลักษณะที่กล่าวถึงมานี้ล้วนเป็นทักษะพ้ืนฐานด้านสังคมที่ส่งผลให้ผู้เรียนใน ยุคใหม่สามารถท่ีจะเรียนรู้และปรับตัวให้อยู่ในสังคมอนาคตได้ ซึ่งแนวโน้มในการเปล่ียนแปลง รูปแบบการจัดการเรยี นการสอนดังกล่าว สง่ ผลใหอ้ าจารยผ์ ู้สอนตอ้ งตระหนักถงึ แนวทางในการวัดผล การเรยี นรขู้ องผู้เรียนในเชงิ ประจกั ษ์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ ได้มีการกาหนดอัตลักษณ์เอาไว้อย่างชัดเจน ในการสง่ เสรมิ ให้นักศึกษาเป็น “บัณฑติ นกั ปฏิบัติ” โดยแนวทางดังกลา่ วจะประสบความสาเร็จได้นั้น จะต้องเริ่มจากวิธีการจัดการเรียนการสอนของอาจารย์ผู้สอนทุกคนที่มุ่งเน้นให้เกิดผลลัพธ์ของการ เรียนรู้ตามท่ีได้กาหนดไว้ในวัตถุประสงค์ของการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา แห่งชาติ ซง่ึ ผลลพั ธเ์ ชงิ ประจักษท์ ี่ทางคณาจารย์ในคณะบริหารธุรกจิ ได้มุง่ เน้นให้เกดิ ขึ้นอย่างต่อเน่ือง คือ การพัฒนาศักยภาพของนักศึกษาแบบผ่านการนาเอาเคร่ืองมือการจัดการความรู้ (KM Tools) อย่างการเรียนรู้โดยการปฏิบัติ (Action Learning) และการสอนงาน (Coaching) เข้ามาประยุกต์ใช้ ภายใต้แนวคิดในการพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษาให้เป็นบัณฑิตนักปฏิบัติที่แท้จริง ซ่ึงการ พัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษาผ่านกิจกรรมที่ส่งเสริมให้นักศึกษาเข้าร่วมโครงการแข่งขันทักษะทาง วิชาการในระดับชาติและนานาชาติ นับเป็นเคร่ืองมือสาคัญท่ีส่งผลให้นักศึกษาเกิดการพัฒนา ศักยภาพของตนเองทั้งในด้านวิชาการและภาวะผู้นา โดยกิจกรรมดังกล่าวจะสะท้อนให้ผู้เรียนเกิด การเรียนรู้จากโจทย์ปัญหาจริง เกิดกระบวนการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ตลอดจนลงมือปฏิบัติเพ่ือ แก้ไขปญั หาผ่านการให้คาแนะนาของอาจารย์ที่ปรึกษาในบทบาทของพ่เี ลี้ยงท่ีช่วยแนะนาองค์ความรู้ ให้แก่นักศึกษาในเชิงปฏิบัติ จนสามารถใช้เป็นแนวทางในการสร้างวิธีการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) ในด้านการเรียนการสอนเพือ่ พัฒนาบณั ฑิตต่อไปได้ จากขอ้ มลู ที่กล่าวมาข้างต้น ผศู้ กึ ษาจงึ มีการศึกษาแนวทางในการพัฒนาการเรยี นร้สู ู่การเป็น บัณฑิตนักปฏิบัติ ของนักศึกษาคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ เพือ่ ให้เกดิ แนวทางในการสรา้ งรูปแบบการเรียนการสอนที่สอดคล้องกับอัตลกั ษณ์ตามที่มหาวิทยาลัย ได้กาหนดไว้ วิธีการดาเนินงาน วิธีการดาเนินงานของการศึกษาแนวทางในการพัฒนาการเรียนรู้สู่การเป็นบัณฑิตนักปฏิบัติ ของนักศกึ ษาคณะบรหิ ารธรุ กิจ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลรัตนโกสินทร์ มีรายละเอยี ดข้ันตอน ดังรปู ภาพที่ 1
รปู ภาพที่ 1 ข้ันตอนการสร้างแนวทางในการพัฒนาการเรียนรูส้ กู่ ารเป็นบัณฑิตนกั ปฏบิ ัติ จากรูปภาพที่ 1 สามารถอธิบายถึงขั้นตอนการสร้างแนวทางในการพัฒนาการเรียนรู้สู่การ เป็นบัณฑิตนักปฏิบัติ ของนักศึกษาคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสนิ ทร์ เปน็ ลาดบั ดงั น้ี 1. อาจารย์ผู้สอนร่วมกันวางแผนกาหนดแนวทางในการพัฒนาการเรียนรู้สู่การเป็นบัณฑิต นกั ปฏิบัติ ท้งั ในด้านเทคนิคการสอน และวธิ กี ารประเมินผลพร้อมตัวชว้ี ดั ในแต่ละรายวิชา โดยม่งุ เน้น ท่ีผลลัพธ์ของการเรียนรู้เป็นหลัก ซึ่งในขั้นตอนดังกล่าวอาจารย์ผู้สอนควรมีการพิจารณาถึงวิธีการ เลือกเนื้อหาการเรียนรู้ท่ีมีความเหมาะสม ควบคู่ไปกับประสบการณ์ของอาจารย์ผู้สอนภายใต้การ ถ่ายทอดองค์ความรู้แบบผสมผสานด้วยการเรียนแบบโครงงาน (Project Based Learning) ซ่ึง นับเป็นฐานที่สามารถช่วยให้ผู้เรียนมีวิจารณญาณเพิ่มข้ึน (Thorne, 2003) รวมถึงเป็นช่องทางที่ สามารถเปดิ โอกาสให้ผเู้ รยี นไดศ้ ึกษาค้นควา้ และลงมือปฏบิ ัติด้วยตนเองตามความสามารถ ความถนัด และความสนใจโดยอาศัยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือกระบวนการอ่ืนใดไปใช้ในการศึกษาหา
คาตอบในเร่ืองน้ันๆ โดยมีอาจารย์ผู้สอนคอยเป็นพ่ีเล้ียงที่ช่วยกระตุ้น แนะนา และให้คาปรึกษาแก่ ผู้เรยี นอย่างใกล้ชิด (กระทรวงศึกษาธกิ าร, 2544) 2. อาจารย์ผู้สอนในแต่ละรายวิชารวบรวมและคัดเลือกข้อมูลโครงการแข่งขันทักษะทาง วิชาการในระดับชาติและนานาชาติ ที่มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ในแต่ละ รายวิชามาใช้เป็นแนวทางในการบูรณาการเนื้อหาบทเรียนตามแผนการเรียนรู้เชงิ ปฏิบัตริ ่วมกัน โดย นาเอารายละเอียดของโครงการมาพิจารณาร่วมกับคาอธิบายของรายวิชาที่เกี่ยวข้อง ตลอดจน พจิ ารณาความสัมพันธข์ องเนอื้ หาในแต่ละบทท่มี ีความเชื่องโยงกบั โครงการแข่งขนั ดงั กล่าว 3. อาจารยผ์ ้สู อนยกตวั อย่างกรณศี ึกษาท่ีเปน็ โจทย์ของโครงการแข่งขันทักษะทางวชิ าการใน ระดับชาติและนานาชาติที่ได้คัดเลือกไว้แล้ว มาถ่ายทอดองค์เป็นความรู้พร้อมอธิบายตัวอย่างให้แก่ นักศึกษาได้ลงมือปฏิบัติจริงในลักษณะการเรียนรู้โดยการปฏิบัติ (Action Learning) และการสอน งาน (Coaching) ตามแผนการเรียนรู้ โดยมีการกาหนดส่งช้ินงานและช้ีแจงเกณฑ์ในการคะแนน ซ่ึง รูปแบบและวิธีการสอนอาจมีการสร้างรูปแบบการเรียนรู้ผ่านการนาเอาส่ือเทคโนโลยีสารสนเทศเข้า มาประยุกต์ใช้เป็นเครื่องมือส่งเสริมการเรียนการสอนได้ เนื่องจากเคร่ืองมือดังกล่าวสามารถแก้ไข ปัจจัยเชิงสาเหตุของสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ท่ีมีต่อผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของนักศึกษาได้ตาม ความเหมาะสมกับชั้นเรียนและรายวชิ าของตนเอง (นธิ ินพ ทองวาสนาส่ง และคณะ, 2561) 4. อาจารย์ผู้สอนประเมินผลการเรียนรู้ตามตัวชี้วัดท่ีกาหนด ซึ่งควรใช้แผนการเรียนรู้เป็น ส่วนหนึ่งในกระบวนการประเมินผลอย่างต่อเนื่อง เพ่ือให้ได้เป้าหมายของการพัฒนาทักษะที่มุ่งการ ปฏิบัติ ตัวอย่างเช่น การตั้งเป้าหมาย การเลือกวิธีการเรียนรู้ การค้นหาข้อมูลและแหล่งต่างๆ และ การประเมินความก้าวหน้าของโครงงาน เพื่อให้กิจกรรมการเรียนรู้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น (นันทนา ฐานวิเศษ และ วาสนา กีรติจาเริญ, 2561) หลังจากน้ันจึงดาเนินการพิจารณาจากช้ินงาน ของนักศึกษาท่ีสาเร็จ แล้วทาการคัดเลือกชิ้นงานที่มีช่วงคะแนนอยู่ในเกณฑ์ระดับดี ถึงระดับดีมาก เพื่อเตรียมจัดทาข้อมูลเพื่อส่งชิ้นงานเข้าร่วมประกวดแข่งขันทักษะทางวิชาการในระดับชาติและ นานาชาตติ ามท่ไี ด้คัดเลือกไว้ 5. อาจารย์ผู้สอนติดตามผลลัพธ์ท่ีเกิดข้ึนหลังจากการส่งช้ินงานเข้าร่วมประกวดแข่งขัน ทกั ษะทางวิชาการในระดบั ชาติและนานาชาติตามท่ีไดค้ ัดเลือกไว้ โดยวิเคราะห์ผลงานของนักศึกษาท่ี เข้าร่วมแข่งขันจากมหาวิทยาลัยอื่นที่ได้รับรางวัลและทาการหาข้อบกพร่องท่ีเกิดขึ้นของผลงานจาก นักศึกษามหาวิทยาลัยตนเองทไ่ี ด้สง่ เข้าประกวดแข่งขันทักษะทางวชิ าการดังกล่าว เพื่อก่อให้เกิดการ สร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization) ซึ่งพิจารณาได้จากแนวทางการสร้างวินัย 5 ประการ ของ Senge, Perter M (1990) ที่ประกอบด้วย ความรอบรู้แห่งตน (Personal Mastery)
แบบแผนความคิดอ่าน (Mental Models) วิสยั ทัศนร์ ่วม (Shared Vision) การเรยี นรู้ของทีม (Team Learning) และการคิดอย่างเป็นระบบ (Systematic Thinking) จากน้ันจึงนาเอาผลลัพธ์ท่ีเกิดขึ้นไป ปรับปรุงและพัฒนาองค์ความรู้ในการแข่งขันทักษะทางวิชาการในระดับชาติและนานาชาติตาม คณุ สมบัติของบณั ฑิตนักปฏบิ ัติตอ่ ไป ผลและอภิปรายผลการดาเนนิ งาน หลังจากท่ีผู้ศึกษาเร่มิ แนวทางการพัฒนาการเรยี นรู้สกู่ ารเปน็ บัณฑิตนักปฏบิ ัติ ของนักศึกษา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ พบว่า นักศึกษาเกิดการพัฒนา ทกั ษะทางดา้ นวิชาการมากขน้ึ โดยจากการสังเกตการณ์ (Observation) พบว่า นักศกึ ษาทไ่ี ด้เข้าร่วม โครงการแข่งขันทักษะทางวิชาการในระดับชาติและนานาชาติส่วนใหญ่ เกิดองค์ความรู้ในรายวิชาท่ี เก่ียวข้องมากข้ึน รวมถึงมีความกล้าแสดงออก กล้าตัดสินใจในการทางานแบบเป็นทีมมากขึ้น โดย ตัวช้ีวัดท่ีสาคัญอย่างหนึ่งท่ีได้จากการส่งนักศึกษาเข้าร่วมโครงการแข่งขันทักษะวิชาการดังกล่าว คือ ผลงานเชิงประจักษ์ ตัวอย่างเช่น โล่รางวัลและเกียรติบัตร ท่ีเป็นที่ยอมรับของคณะกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิในโครงการแข่งขันท้ังในระดับชาติและนานาชาติ ซ่ึงหลังจากท่ีผู้ศึกษาได้ดาเนินการตาม ข้นั ตอนการสร้างแนวทางในการพัฒนาการเรยี นรูส้ ู่การเป็นบัณฑิตนักปฏิบัติ โดยเริม่ ดาเนินการตั้งแต่ วนั ที่ 1 มกราคม 2560 ถึง 31 มกราคม 2562 มีผลลัพธ์ของการเรยี นรมู้ ีดงั ต่อไปนี้ ตารางที่ 1 ผลลัพธข์ องการเรียนรจู้ ากแนวทางในการพัฒนาการเรียนรสู้ ู่การเป็นบณั ฑติ นกั ปฏิบัติ ชื่อโครงการแขง่ ขันทกั ษะ ช่วงเวลา/ จานวนนักศึกษาทส่ี ่ง ผลงานเชงิ ประจักษ์ ทางวิชาการ หนว่ ยงานท่จี ดั เขา้ รว่ มประกวด การประกวดแผนธุรกิจในการ วนั ที่ 1 กุมภาพนั ธ์ 2560 เข้าร่วมประกวดจานวน ผ่ า น เ ข้ า ร อ บ น า เ ส น อ ป ร ะ ชุ ม ท า ง วิ ช า ก า ร จัดโดย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้ง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 24 คน (6 ทมี ) ผลงาน 6 ทมี สุดทา้ ย ท่ี 55 ( ส า ข า เ ศ ร ษ ฐ ศ า ส ต ร์ แ ล ะ ระหว่างวันท่ี 1 พฤษภาคม ผ่านเข้ารอบจานวน 4 บรหิ ารธุรกิจ) 2560 – 8 กนั ยายน 2560 คน (1 ทีม) โครงการพัฒนาธุรกิจนวัตกรรม จัดโดย วิทยาลัยนวัตกรรมการ ใหมท่ ่ีมกี ารเตบิ โตสูง จั ดก า ร แ ละ ศูนย์บ่ มเพาะ เข้าร่วมประกวดจานวน ผ่า นเข้ า ร อ บ นา เสนอ ( Startup Thailand League) วิ ส า ห กิ จ ม ห า วิ ท ย า ลั ย 36 คน (11 ทีม) ผลงาน 40 ทีม (จานวน 5 ประจาปงี บประมาณ 2560 เ ท ค โ น โ ล ยี ร า ช ม ง ค ล ทีม) จ า ก ทีมท่ีเข้ า ร่ว ม รัตนโกสนิ ทร์ ผ่านเข้ารอบจานวน 14 โครงการทัง้ หมดจานวน 62 คน (5 ทีม) ทีม ผ่า นเข้ า รอ บ นา เสนอ ผลงาน 20 ทีม (จานวน 2
โครงการประกวดแข่งขันการ วันท่ี 30 ธันวาคม 2560 เข้าร่วมประกวดจานวน ที ม ) ที่ ไ ด้ ไ ป น า เ ส น อ เ ขี ย น แ ผ น ธุ ร กิ จ Digital จัดโดย คณะบริหารธุรกิจ 24 คน (4 ทีม) Pitching Day ณ สถาบัน Business Startup ภายใต้หัวข้อ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช เทคโนโลยีพระจอมเกล้า Sky Route มงคลพระนคร เข้าร่วมประกวดจานวน เจา้ คณุ ทหารลาดกระบงั โครงการแขง่ ขนั กจิ การเพอื่ สังคม ระหว่างวันท่ี 6-7 กันยายน 6 คน (1 ทมี ) ( Social Enterprise) ค ณ ะ 2561 - บริหารธุรกิจ 9 มทร. จัดโดย คณะบริหารธุรกิจ เข้าร่วมประกวดจานวน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช 64 คน (8 ทมี ) รางวลั ชนะเลศิ อันดบั ท่ี 2 โครงการประกวดแผนงานการ มงคลกรงุ เทพ พัฒนาชุมชนแบบชาญฉลาดและ ระหวา่ งวันที่ 6-7 ตุลาคม 2561 ผ่านเข้ารอบจานวน 8 รางวลั ชนะเลศิ อนั ดบั ที่ 3 ยั่งยนื จั ด โ ด ย บ ริ ษั ท เ ช ฟ ร อ น คน (1 ทีม) (ประเทศไทย) จากัด ร่วมกับ รางวลั ชนะเลศิ โครงการสัมมนาและการแข่งขัน มลู นธิ กิ องทนุ การศึกษาเพอื่ การ เข้าร่วมประกวดจานวน รางวัลชนะเลิศอนั ดบั ท่ี 2 ทั ก ษ ะ ท า ง วิ ช า ก า ร ด้ า น พฒั นา (EDF) 3 คน (3 ทีม ร่วมกันกับ รางวลั ชนะเลศิ อันดับท่ี 3 บริหารธรุ กิจ 9 มทร. ครัง้ ท่ี 7 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ระหว่างวันที่ 28-30 มกราคม ราชมงคล พน้ื ทีอ่ นื่ ) 2562 จัดโดย มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจกั รพงษภูวนารถ สรุป จากท่ีกล่าวมาข้างต้น แสดงให้เห็นว่า การกาหนดแนวทางการพัฒนาการเรียนรู้สู่การเป็น บัณฑิตนักปฏิบัติ จะเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลได้ก็ต่อเมื่ออาจารย์ผู้สอนและนักศึกษาเกิด ความเข้าใจในการถ่ายทอดเน้ือหารายวิชาและโจทย์ของโครงการแข่งขันทักษะทางวชิ าการอย่างถ่อง แท้ จนสามารถนาเอาองค์ความรู้ด้านบริหารธุรกิจที่มีอยู่มาบูรณาการร่วมกันกับโจทย์ของโครงการ แข่งขันทักษะทางวิชาการท่ีได้รับ ซึ่งจะเห็นได้ว่าผลลัพธ์ของการเรียนรู้ในแต่ละครั้งจะสะท้อนให้ อาจารย์ผู้สอนและนักศึกษาเกิดการพัฒนาศักยภาพของตนเองอย่างต่อเนื่อง ผ่านหัวข้อโครงการใน แต่ละหน่วยงานท่ีจัดแข่งขันทักษะทางวิชาการ จนเป็นท่ียอมรับต่อคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิและ หน่วยงานภายนอก ดังน้ันการส่งเสริมให้นักศึกษาเข้าร่วมโครงการแข่งขันทักษะทางวิชาการใน ระดบั ชาติและนานาชาติ นอกจากจะเปน็ เคร่อื งมือสาคัญทส่ี ่งผลใหน้ ักศึกษาเกิดการพฒั นาศกั ยภาพสู่
การเป็นบัณฑิตนักปฏิบัติแล้ว ยังส่งผลต่อการสร้างช่ือเสียงและความน่าเช่ือถือของมหาวิทยาลัยให้ เปน็ ทยี่ อมรบั ต่อหน่วยงานในระดบั สากลอกี ดว้ ย รปู ภาพที่ 3 ผลการดาเนินงานตามแนวทางการพฒั นาการเรยี นรู้สู่การเป็นบัณฑติ นักปฏิบัติ บรรณานกุ รม กระทรวงศึกษาธิการ. (2544). แนวทางการนามาตรฐานหลักสูตรไปสู่การออกแบบจัดการเรียนรู้ และการวัดประเมนิ ตามสภาพจริง. กรงุ เทพมหานคร: ครุ สุ ภาลาดพรา้ ว. นิธินพ ทองวาสนาส่ง และคณะ. 2561. การพัฒนาการเรียนรู้: เครื่องมือการส่งเสริมการเรียนการ สอน ในยุค 4.0. โครงการประชุมสัมมนาเครือข่ายการจัดการความรู้ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคล สถาบันการพลศึกษา และสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ครั้งที่ 11. นครราชสมี า.มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน. นันทนา ฐานวิเศษ และ วาสนา กีรติจาเริญ. (2561). การศึกษาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน หน่วยการ เรียนรู้งานและพลังงาน และความสามารถในการแก้ปัญหาของนกั เรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ด้ ว ย ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น รู้ โ ด ย ใ ช้ ปั ญ ห า เ ป็ น ฐ า น . ว า ร ส า ร วิ ท ย บ ริ ก า ร มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์, 29(2), 43-50
ไพฑูรย์ สินลารัตน์. 2559. เอกสารประกอบการบรรยาย “การศึกษาไทย 4.0 เป็นย่ิงกว่า การศึกษา”. วิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรุ กจิ บณั ฑิต. Senge, Perter M. 1990. The Fifth Discipline: The Art and Practice of the Learning Organization. New York: Doubleday. Thorne, K. (2003). Blended learning: how to integrate online & traditional learning. London: Kogan Page. United Nation Educational, Scientific and Cultural Organization ( UNESCO) . 2017. The four pillars of learning. Retrieved from www.unesco.org/new/en/education/networks/global-networks/aspnet/about- us/strategy/the-four-pillars-of-learning/
Search
Read the Text Version
- 1 - 19
Pages: