Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore RMUTL

RMUTL

Published by taweelap_s, 2019-05-17 00:19:00

Description: RMUTL

Search

Read the Text Version

ช่ือเรือ่ ง / แนวปฏิบัตทิ ดี่ ี การเช็คสต็อกศลิ ปวัฒนธรรมผา นแผนท่ที างวัฒนธรรม : กรณศี กึ ษาอาํ เภอแมแ จม จงั หวดั เชียงใหม ชอ่ื -นามสกุล นายศักดน์ิ รินทร ชาวง้วิ ชือ่ สถาบนั การศกึ ษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา หนว ยงาน ศูนยวัฒนธรรมศึกษา เบอรโทรศพั ท 053-921444 ตอ 1600, 0845049247 เบอรโทรสาร 053-921444 ตอ 1600 E-Mail Address [email protected]

การเชก็ สต็อกศลิ ปวัฒนธรรมผา นแผนทที่ างวัฒนธรรม : กรณศี ึกษาอาํ เภอแมแ จม จังหวดั เชียงใหม Cultural Check Stocks through Cultural mapping: case study at Maechaem District, Chiang Mai Province ศักดิ์นรินทร ชาวงิ้ว (Mr. Saknarin Chao-ngiw) นกั วชิ าการศึกษา, ศนู ยวัฒนธรรมศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลา นนา, [email protected] ......................................................................... บทสรปุ การศกึ ษาทางดา นศิลปวฒั นธรรม เพอ่ื การพฒั นาชมุ ชน จําเปน ตอ งมกี ารสํารวจทุนทางวฒั นธรรมของ ตนเอง เพ่ือรักษามรดกทางวัฒนธรรม (Cultural Heritage) ทั้งวัฒนธรรมที่จับตองได (Tangible Cultural Assets) และวัฒนธรรมท่ีจับตองไมได (Intangible Cultural Assets) อันจะนําไปสูแผนความรวมมือ (Cooperation Plan) พัฒนาแผนที่วัฒนธรรม (Cultural Mapping) ออกแบบกระบวนการมีสวนรวมเพื่อให เกิดพื้นที่วัฒนธรรม (Cultural Space) โดยเฉพาะเปาหมายสูงสุดคือ การตอยอดและสงเสริมใหเกิด ผูประกอบการทางวฒั นธรรม (Cultural Entrepreneur) ทสี่ รางรายไดด ว ยทุนทางศลิ ปะและวฒั นธรรม ดังนั้น ความรูสวนใหญ เกิดจากความรูท่ีมีอยูในตัวคน ที่เรียกวา Tacit Knowledge ฉะนั้นจึงตองมี การแปลงความรนู ั้นมาสู Explicit Knowledge ทั้งการ Externalization และ Combination ท้ังท่ีเปนมรดก ภูมิปญญาท่ีจับตองได (Tangible Heritage) และ มรดกภูมิปญญาที่จับตองไมได (Intangible Heritage) ใน พ้ืนทห่ี น่งึ ๆ ผา นการบอกเลา เรอ่ื งราว (Story Telling) ทัง้ การสัมภาษณเชิงลึก บันทึกภาพ สังเกต มาสูการทํา แผนที่ทางวัฒนธรรม (Cultural Mapping ) และพื้นท่ีทางวัฒนธรรม (Cultural Space) เพื่อการพัฒนาใน ดานเศรษฐกิจและสังคมตอไป Summary Cultural Education for Community development must to has check stock of culture capital. It use for reserved Cultural Heritage either Tangible Cultural Assets and Intangible Cultural Assets. It continue toward co-operation plan by government or other organizations with cultural mapping and cultural space. The destination of these are continues and improve of Cultural Entrepreneur by culture capital. It just to transform Tacit Knowledge to be Explicit Knowledge by externalization and combination. KM tool for tacit knowledge to be explicit knowledge is “Story telling” by in- depth interview, field survey and collected oral history. Then export all of information to cultural mapping and cultural space for developing economic and social in Maechaem district, Chiang Mai Province. คาํ สําคญั Cultural Heritage, Cultural Mapping, Cultural Check Stocks

บทนํา วฒั นธรรม คอื ส่ิงท่มี นษุ ยทาํ ข้ึน สรางขน้ึ คดิ ขึ้น เพื่อใชใ นการดํารงชวี ิต สบื ทอด และพฒั นาสังคม ของตนเอง แสดงความเจริญงอกงามของสงั คมมนษุ ย เปน ประโยชนท ้ังทางกาย เชน การบรโิ ภค การใชส อย หรือประโยชนท างใจ เชน การชมสิ่งเจริญตา เจริญใจ (เอกรัฐ พยตั ตกิ ลุ , 2555) ทางกรมสงเสริมวัฒนธรรม ไดใหความหมายของมรดกทางวัฒนธรรมไววา “มรดกภูมิปญญาทาง วัฒนธรรม” หมายถงึ การปฏิบตั ิ การแสดงออก ความรู ทักษะ ตลอดจนเครอ่ื งมือ วัตถุ สิ่งประดิษฐ และพ้ืนท่ี ทางวัฒนธรรมที่เก่ียวเน่ืองกับส่ิงเหลาน้ัน ซ่ึงชุมชน กลุมชน หรือในบางกรณีปจเจกบุคคลยอมรับวา เปนสวน หนึง่ ของมรดกทางวัฒนธรรมของตน มรดกภูมิปญญา ทางวัฒนธรรมซ่ึงถายทอดจากคนรุนหน่ึงไปยังคนอีกรุน หนึ่งนี้ เปนส่ิงซ่ึงชุมชนและกลุมชนสรางขึ้นมาอยางสมํ่าเสมอ เพ่ือตอบสนองตอสภาพแวดลอมของตน เปน ปฏิสัมพันธของพวกเขาที่มีตอธรรมชาติและประวัติศาสตรของตน และทําใหคนเหลาน้ันเกิดความภูมิใจใน ตวั ตนและความรูสึกสืบเน่ืองกอใหเกิดความเคารพตอความหลากหลายทางวัฒนธรรม และการคิดสรางสรรค ของมนุษย และจาํ แนกออกเปน 7 สาขา ไดแ ก 1. สาขาศลิ ปะการแสดง การแสดงดนตรี รํา-เตน และละครที่แสดงเปนเรื่องราว ทั้งที่เปนการแสดงตามขนบแบบแผน มีการ ประยกุ ตเ ปลี่ยนแปลง และ/หรือ การแสดงรว มสมัยการแสดงท่เี กดิ ข้ึนนน้ั เปนการแสดงสดตอหนาผูชม และมี จุดมงุ หมายเพอ่ื ความงาม ความบนั เทิงและ/หรือเปน งานแสดงที่กอใหเกิดการคิด วิพากษ นําสูการพัฒนาและ เปลี่ยนแปลงสงั คม 2. งานชา งฝม อื ดั้งเดมิ ภูมิปญญา ทักษะฝมือชาง การเลือกใชวัสดุ และกลวิธีการสรางสรรคท่ีแสดงถึงอัตลักษณ สะทอน พฒั นาการทางสังคม และวฒั นธรรมของกลุมชน 3. วรรณกรรมพืน้ บาน วรรณกรรมท่ีถายทอดอยูในวิถีชีวิตชาวบาน โดยครอบคลุมวรรณกรรมท่ีถายทอดโดยวิธีการบอกเลา และทเ่ี ขยี นเปน ลายลกั ษณอักษร 4. กีฬาภมู ปิ ญญาไทย การเลน กีฬาและศิลปะการตอสูปองกันตัว ท่ีมีการปฏิบัติกันอยูในประเทศไทยและมีเอกลักษณ สะทอ นวิถีไทย แบง ออกเปน 3 ประเภท คอื การเลน พ้นื บา น กฬี าพนื้ บาน และศิลปะการตอ สูปอ งกันตัว 5. แนวปฏบิ ัตทิ างสงั คม พธิ กี รรมและงานเทศกาล การประพฤติปฏิบัติในแนวทางเดียวกันของคนในชุมชนท่ีสืบทอดตอกันมาบนหนทางของมงคลวิถี นาํ ไปสูสังคมแหง สันติสุขแสดงใหเห็นอตั ลักษณข องชุมชนและชาติพันธนุ น้ั ๆ 6. ความรูและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับธรรมชาตแิ ละจักรวาล องคความรู วิธีการ ทักษะ ความเช่ือ แนวปฏิบัติและการแสดงออกที่พัฒนาข้ึนจากการมีปฏิสัมพันธ ระหวางคนกบั สภาพแวดลอ มตามธรรมชาติและเหนอื ธรรมชาติ 7. ภาษา เคร่ืองมือท่ีใชส่ือสารในวิถีการดํารงชีวิตของชนกลุมตาง ๆ ซ่ึงสะทอน โลกทัศน ภูมิปญญา และ วัฒนธรรมของแตละกลมุ ชน ทั้งเสยี งพูด ตัวอักษร หรือสัญลักษณท ่ีใชแ ทนเสยี งพดู โดย ทงั้ หมดนี้เรียกวา วัฒนธรรมที่จับตองไมได (Intangible Cultural Assets) สวนอีกประเภทหน่ึง คือ มรดกทางวัฒนธรรมที่จับตองได (Tangible Cultural Assets) ไดแกประเภทสถาปตยกรรม ประติมากรรม ทัศนศิลป ประณีตศิลป ตา งๆ

ซึง่ มรดกทางวัฒนธรรม มคี ุณคาและความสําคัญตามองคการยูเนสโก (UNESCO) มอี ยู 2 กลุมดวยกัน คือ 1. คุณคาทางวัฒนธรรม (Cultural Value) ประกอบดวย คุณคาดานเอกลักษณ ดานศิลปะและเทคนิค ดานความหายาก และ 2. คุณคาทางสังคมเศรษฐกิจรวมสมัย (Economic Value) ประกอบดวย คุณคาดาน เศรษฐกิจ ดา นประโยชนใ ชสอย ดานการศึกษา ดานสังคม ดานการเมือง (เอกรฐั พยัตตกิ ลุ , 2555) การที่จะพัฒนาศักยภาพตางๆ ของพ้ืนท่ี โดยเฉพาะทางดานเศรษฐกิจ หรือวางแผนกิจกรรมอ่ืนใด ตอไปในอนาคต จําเปน ตน มกี ารรกั ษาและบง ชถี้ ึงการมีอยูของศิลปะและวัฒนธรรม ท้ังที่จับตองได (Tangible ) และ จับตองไมได (Intangible) โดยการมีสวนรวมของคนในพื้นที่ เพ่ือใหตระหนักถึงคุณคาของมรดกทาง วัฒนธรรมท่ีจะตองรวมกันธํารงรักษาเอาไว วิธกี ารดําเนินงาน เพ่ือใหไดขอมูลเชิงลึกที่ชัดเจน จึงตองสรางการมีสวนรวมของผูคนในชุมชน ท่ีมีความรู ความ เชี่ยวชาญในดานตางๆ โดยใชเครื่องมือของการจัดการความรู (KM Tool) คือ การใชเทคนิคการเลาเร่ือง (Story Telling) โดยมีกลุมเปาหมาย คือผูมีความรู นักปราชญ ผูมีประสบการณ ของคนทองถิ่น ผูเปน เจาของภมู ิปญญา ทีม่ ีความรอู นั มีอยูในตัวคน (Tacit Knowledge) ใชเ ทคนิคการเลาเรื่องเพื่อแปลงความรู สู ความรูทชี่ ัดแจง (Explicit Knowledge) อนั จะนาํ ไปใชประโยชนในขน้ั ตอนถดั ไป การเชคสตอกทางวฒั นธรรมในพ้ืนที่แมแจม นอกจากจะใชเคร่ืองมือ เทคนิคการเลาเรื่องแลว ยังตอง จัดการความรูในรูปแบบอ่ืนรวมดวย เพ่ือเปาหมาย Explicit Knowledge ที่มีความเชื่อถือ และสามารถ นําไปใชงานได 1. ขนั้ ตอนการรวบรวมขอ มลู ในขั้นตอนการเก็บรวบรวมขอมูล จึงตองวางแผนอยางเปนหลักการ โดยเฉพาะอยางยิ่ง การ วางเปาหมายขอมูลมรดกทางวัฒนธรรมไวเปน 2 อยาง น่ันคือ ที่จับตองได (Tangible ) และ จับตองไมได (Intangible) จําเปนตองใชขอมูลปฐมภูมิ คือผูนําชุมชน ผูทรงภูมิปญญาท่ีอยูในชุมชนดานตางๆ บาน เรือน วัด เปนตน และขอมูลทุตยิ ภูมิ เชนเอกสารตา งๆ ทมี่ ีผศู กึ ษาและเรยี บเรียงมาแลว การรวบรวมขอมูล ใชเทคนิคการเลาเรื่องเปนหลัก (Story Telling) โดยการสัมภาษณเชิงลึก (In- Depth Interview) มีการสํารวจ สังเกต ถายภาพ (Field Survey) เก็บบันทึกประวัติศาสตรบอกเลา (Oral History) เชน เร่ืองราวถนนสายปลาทูทีแ่ มแจม เปนตน รวมถงึ เรอื่ งเลา อนั เปนวรรณกรรมมุขปาฐะตางๆ เทาท่ี จะเก็บบนั ทึกได รวมถึงกิจกรรมตา งๆ ทางวัฒนธรรมดว ย ซึง่ นับวาเปนการระบคุ วามรูและแสวงหาความรูตาม ลกั ษณะความรูทีต่ อ งการ 2. ขนั้ ตอนการวเิ คราะหขอมูล ในขน้ั ตอนน้ี นับวาเปนการ การจัดความรูใหเปนระบบ ประมวลและกล่ันกรองความรู ดวยขอมูลใน การรวบรวมในคร้ังนี้ คือ ขอมูลท้ังปฐมภูมิ ที่เกิดจากการดําเนินงานภาคสนาม สํารวจ บันทึกภาพ บันทึกเสียงจากคําบอกเลา สังเกต อันเปนความรูในระดับที่มีอยูในตัวคน (Tacit Knowledge) ไปสู กระบวนการท่ีเรียกวา Externalization คือ การแปลง Tacit Knowledge ใหกลายเปน Explicit Knowledge และขอ มลู อีกประเภทหนึ่ง คือ ขอมูลดานทุติยภูมิ คือเอกสารตางๆ ที่มีผูเขียนเรียบเรียงไวแลว มาเรียบเรียงใหม เกิดเปนความรูใหม ซ่ึงเรียกกระบวนการนี้วา Combination เปน การสราง Explicit Knowledge จาก Explicit Knowledge 3. การสังเคราะหข อ มลู

เปนการนํา Explicit Knowledge นํามาเผยแพรเพื่อใหเขาถึงความรู และเปดโอกาสในการ แลกเปลี่ยนเรียนรูระหวางกัน โดยใชขอมูลที่ไดมาจัดทําแผนท่ีวัฒนธรรม (Cultural Mapping) รวมถึงสราง พื้นท่ีทางวัฒนธรรม (Cultural Space) ผลและอภปิ รายการดําเนนิ งาน จาก Externalization และ Combination เขาสูฐานขอมูล ไดแหลงวัฒนธรรมที่จับตองได (Tangible Heritage) จัดแสดงในแผนท่ีทางวัฒนธรรม (Cultural Mapping) ออกเปน 7 ประเภท ไดแ ก 1. แหลงประวัติศาสตร มีการนาํ เสนอผา นแผนทท่ี างวฒั นธรรม อยู 9 แหง 2. ศาสนสถาน มีการนาํ เสนอผานแผนท่ที างวัฒนธรรม อยู 21 แหง 3. บานพืน้ ถิ่นและเรอื นรานคา มกี ารนาํ เสนอผา นแผนทที่ างวฒั นธรรม อยู 31 แหง 4. สถานท่ศี กั ดิ์สิทธ์ิ มกี ารนาํ เสนอผานแผนที่ทางวัฒนธรรม อยู 6 แหง ทั้งระดับเมือง และระดับ ชมุ ชน 5. แหลงภูมปิ ญญาทองถน่ิ มีการนําเสนอผา นแผนทท่ี างวัฒนธรรม อยู 10 แหง 6. แหลง พธิ กี รรม มีการนาํ เสนอผา นแผนท่ที างวฒั นธรรม อยู 6 แหง 7. แหลง ภมู ิทัศนว ัฒนธรรม มีการนาํ เสนอผา นแผนท่ที างวัฒนธรรม อยู 4 แหง แหลงประวัตศิ าสตร ศาสนสถาน บานพ้นื ถ่ินและเรือนรานคา สถานที่ศักด์สิ ทิ ธ์ิ แหลงภมู ิปญญาทอ งถ่ิน แหลงพธิ กี รรม แหลง ภูมทิ ัศนว ัฒนธรรม สวนมรดกทางวัฒนธรรมท่ีจับตองไมได (Intangible Heritage) มีการ Externalization และ Combination สู Explicit Knowledge แลวนําไปเผยแพรในรูปแบบพื้นท่ีทางวัฒนธรรม (Cultural Space) ในพนื้ ทเ่ี สมือน http://maechaem.rmutl.ac.th

ภาษา ภาษา ภาษานับวาเปนเครื่องมือที่ใชส่ือสารในวิถี การดํารงชีวิตของชนกลุมตาง ๆ ซึ่งสะทอน โลก ทัศน ภูมิปญญา และวัฒนธรรมของแตละกลุมชน ทั้งเสียงพูด ตัวอักษร หรือสัญลักษณที่ใชแทน เสียงพดู ปจจุบัน วฒั นธรรมหลักในเขตอําเภอแมแจมคือวัฒนธรรมไทยวน ใช ภาษาไทยวนเปน หลกั อันเปน ภาษากลางในการสือ่ สารระหวา งกลมุ ชนตางๆ ที่ พดู ภาษาอื่นๆ เชน กะเหร่ยี ง ลัวะ มง งานชางฝมือด้ังเดิม งานชางฝมือด้ังเดิม ภูมิปญญา ทักษะฝมือชาง การ เลือกใชวัสดุ และกลวิธีการสรางสรรคที่แสดงถึงอัต ลักษณ สะทอนพัฒนาการทางสังคม และวัฒนธรรม ของกลุมชน โดยเฉพาะในแมแจม มีชางฝมือทั้งชายและหญิง ลวนตางแบง หนา ทีก่ นั อยางชัดเจน โดยฝกฝนต้ังแตเด็กจนเปนผูใหญ งานฝมือบางประเภท เปนของท่ีใชกันท่ัวไป และบางประเภทเปนงานเฉพาะเจาะจง โดยขอ ยกตัวอยางงานฝมือหลัก ดังตอไปนี้ ชางทอผา ชางทําปน ชางเงิน ชางจักสาน ชางพุทธศิลป เปนตน ท้ังชาว ไทยวน ลวั ะ และปกาเกอญอ ตามอตั ลกั ษณข องตน ความรู แนวปฏบิ ตั ิเก่ยี วกับธรรมชาตแิ ละจักรวาล ความรูและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับธรรมชาติและจักรวาล องคความรู วิธีการ ทักษะ ความเชื่อ แนวปฏิบัติและการแสดงออกท่ีพัฒนาข้ึนจากการมีปฏิสัมพันธระหวาง คนกับสภาพแวดลอมตามธรรมชาติ และเหนือธรรมชาติ ซึ่งองคความรูเหลาน้ี ได ฝงในชวี ิตและจติ วญิ ญาณของชาวแมแจม โดยเฉพาะความเช่ือและความศรัทธาในพอเจาหลวงทั้ง 3 พระองค นอกจากนยี้ งั มรี ะบบเหมืองฝาย อาหาร เปนตน แนวปฏิบตั ิทางสังคม พิธีกรรม และงานเทศกาล แนวปฏิบัติทางสังคม พิธีกรรม และงานเทศกาล แมแจมเปนอําเภอที่อยูหลังดอย อนิ ทนนท คลายกบั เปน ปราการก้นั การรุกล้าํ ของวฒั นธรรมภายนอกใหเขา มาไดชา ลง ทําใหแมแจม ยังอุดมไปดวยพิธีกรรม เทศกาลงานประเพณีอันเปนรากฐานดั้งเดิมเอาไวไดมากท่ีสุดแหง หนึ่งของไทย ไมวาจะเปนชาวไทยวน กะเหร่ียง ลัวะ ลวนแตพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน ทุกชาติพันธมี ความสัมพนั ธก ัน ลว นแตต องพ่ึงพาอาศัยกันเสมอ เปนพ่ีนองบานบน-บานลุม ตลอดถึงมีการแตงงานขามกลุม กันอยูตลอด ฉะนั้นความสัมพันธทางสังคมของกลุมชาติพันธตางๆ จึงไมคอยมีปญหา แตปญหามักมาจาก ผลกระทบทางระบบเกษตรขนาดใหญ โดยเฉพาะปญหาการใชน้ํา นอกจากน้ี ประเพณีตางๆ ลวนแลวแต หมุนเวียนไปกับทางพระพทุ ธศาสนา และการเพาะปลูกเปนสาํ คญั กฬี าภมู ปิ ญญาไทย กีฬาภูมิปญ ญาไทย การเลน กฬี าและศลิ ปะการตอสูปองกนั ตวั ทมี่ กี ารปฏบิ ัติกนั อยูในแมแจม ยังคงมมี นตขลงั และมีเอกลกั ษณสะทอนวิถีชีวติ ของชาวลา นนา โดย

แบงออกเปน3 ประเภท คือการเลน พ้นื บา น กีฬาพื้นบาน และศลิ ปะการตอ สปู อ งกันตวั วรรณกรรมพ้ืนบา น วรรณกรรมพ้ืนบาน วรรณกรรมที่ถายทอดอยูในวิถีชีวิตชาวบาน โดยครอบคลุม วรรณกรรมท่ีถายทอดโดยวิธีการบอกเลา และที่เขียนเปนลายลักษณอักษร ซึ่งขอ แบงออกเปนวรรณกรรมลายลักษณ กับวรรณกรรมมุขปาฐะ วรรณกรรมลาย ลักษณ ในเขตอําเภอแมแจม จะมีวรรณกรรมลายลักษณท่ีจารจดไวดวยอักษร ธรรมลานนา มีท้ังเปนวรรณกรรมในพิธีกรรม และวรรณกรรมประโลมโลก เชน คําลองสังขาร บทซอ 4 บาท บทซอกะหลา่ํ นทิ านเรอ่ื งเลาตางๆ เชน เรอ่ื งตาํ นานดอยดวน นทิ านผดี อยหลวง เปนตน สาขาศลิ ปะการแสดง ในอาํ เภอแมแ จม มีการแสดงจากกลุมชาติพันธุตางๆ โดยเฉพาะคนไทยวน อันเปน กลุมวัฒนธรรมหลัก แมวาประชากรหลักสวนใหญจะเปนกลุมปกาเกอญอ (กะเหรี่ยงสะกอ) แตวัฒนธรรมไทยวน ก็ยังคงสืบทอดกันมาอยูตลอด ควบคูไปกับ ศิลปวัฒนธรรมและประเพณีในทองถ่ินของอําเภอแมแจม ดังตัวอยางตอไปนี้ การ ฟอนเล็บหรอื ฟอนเมอื ง การฟอ นปติ การฟอนเก็บฝาย การแสดงจิกริ การแสดงชือบอื การฟอ นดาบ ฯลฯ เหลานี้เปนผลหรือขอมูลเบื้องตนที่ไดจากการเก็บขอมูลนํามาวิเคราะหและสังเคราะห กลายเปน Explicit Knowledge เพื่อเขาสูการเขาถึงและเรียนรู ทําใหทราบถึงวัฒนธรรมในพ้ืนที่ ที่ยังคงมีอยู เพ่ือที่จะ สามารถนําไปพัฒนาตอไดวา จากทุนเหลานี้ สามารถสรางประโยชนอยางใดบาง เชน การจัดการเปนแหลง ทอ งเทย่ี วทางวัฒนธรรม เชน กลมุ ทอ งเท่ียวบา นกองกาน เปน ตน นอกจากน้ี ยงั สามารถนําความรูภูมิปญญาท่ี มีอยู พัฒนาสินคาทางวัฒนธรรมตอไปในอนาคตได แตอยางไรก็ดี การตอยอดเหลาน้ี ตองอาศัยทุนทาง วัฒนธรรมที่มีอยู สืบทอด และสงตอไปยังรุนตอไป เพื่อใหชาวบานอยูได มีรายไดดี พรอมกับการอยูรอดของ วฒั นธรรมไปพรอ มกนั ปจจยั ทก่ี อใหเ กิดความสาํ เร็จ ไดแก 1. การสรางเครือขายความสัมพันธ ระหวางมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา กับเครือขาย ทางวัฒนธรรมในอําเภอแมแจม ที่เหนียวแนน และไปมาหาสูกันเสมือนญาติ แมวาโครงการ บางอยา งจะส้ินสดุ ไปแลว แตความสมั พนั ธก ย็ ังคงมสี บื เนือ่ งอยูเสมอ 2. ความไวเ น้อื เช่ือใจระหวางชาวบา นกบั ทางมหาวิทยาลยั ทําใหไดข อ มูลทเี่ ปน ความจรงิ ถูกตอง 3. ทนุ ทางวัฒนธรรมอนั เปนเอกลักษณของพ้นื ที่ รวมถงึ อัตลกั ษณเ ฉพาะตัวของชาวแมแ จม 4. งานเดิมที่ทางมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา ไดดําเนินโครงการเปนพื้นฐานอยูเดิม ก็ ยอ มทาํ ใหน าํ ผลเหลานั้นมาเสรมิ และพฒั นาตอ ยอดไดอยางดี 5. คณะทาํ งานทมี่ ีความสามารถเฉพาะดา น ปญหาและอปุ สรรค ปญหาและอุปสรรคทเี่ กดิ ข้ึน ไดแก 1. ระยะทางระหวางมหาวิทยาลยั และแมแ จม มคี วามหา งไกล และระยะเวลาท่ีลงพื้นที่มีระยะเวลาที่ จาํ กัด ท้งั ที่ขอ มลู ในพน้ื ทม่ี ีจํานวนมาก 2. การสง ตอขอ มูล ไปสูแ ผนงานการพัฒนา ท้ังหนวยงานของรฐั และทองถ่นิ ยังคงเปนไปไดนอ ย 3. สภาวะเศรษฐกจิ ท่ีเปลี่ยนแปลง ทําใหงานฝมือ หรืองานทางวัฒนธรรมเห็นผลชากวางานดานอ่ืน ทําใหขาดผสู นใจในการสืบสาน หรือรับชว งตอ ไป

4. ผูที่มีภูมิความรูกับตัว มีจํานวนนอยลง ดวยสวนใหญมักเปนผูที่อยูในวัยชรา ขาดการสงตอภูมิรู เหลาน้นั (บางครั้งเกิดจากไมม ีใครยอมทจ่ี ะรบั ภูมริ ูเ หลา น้ัน) แนวทางแกไข 1. เพื่อใหเกิดการตอเนื่องตอการพัฒนาตอยอด ควรมีการประสานงานกับสวนงานราชการ, การ ปกครองสวนทองถ่ิน และชุมชน ใหเกิดการใชขอมูล Cultural Map เปนฐานในการมุงสูการ พฒั นาพนื้ ทตี่ อไป 2. ควรเพิ่มพ้ืนท่ีทางวฒั นธรรม Cultural Space ทัง้ พนื้ ทจ่ี รงิ และพืน้ ทเ่ี สมอื น สรุป การเช็กสต็อก เปนการตรวจสอบส่ิงที่คงเหลือวามีอยูเทาไหร ศิลปวัฒนธรรมก็เชนกัน มีการ ปรับเปลี่ยนไปตามการพฒั นาของสงั คม ท้ังเกิดจากภายในและภายนอก ฉะนัน้ การตรวจสอบวาศิลปวฒั นธรรม ที่มีอยู ท่ีถือวาเปน “ทุน” ทางวัฒนธรรมนั้น มีอะไรบาง เพ่ือใหฐานในการพัฒนามีความมั่นคง ยั่งยืนสืบไป จาํ เปนตองมองผา นทุนทางวฒั นธรรมในพืน้ ทข่ี องตนเองเสยี กอ น “ทุน” ท่ีเปนภูมิปญญาตางๆ มักอยูในรูปแบบของความรูที่อยูในตัวคน หรือ Tacit Knowledge ฉะนั้นจึงตองมีการแปลงความรูนั้นมาสู Explicit Knowledge ทั้งที่เปนมรดกภูมิปญญาที่จับตองได (Tangible Heritage) และ มรดกภูมิปญญาท่ีจับตองไมได (Intangible Heritage) ในพื้นท่ีหน่ึงๆ ผานการ บอกเลาเร่ืองราว (Story Telling) มาสูการทําแผนที่ทางวัฒนธรรม (Cultural Mapping ) และพื้นท่ีทาง วัฒนธรรม (Cultural Space) เปนการจัดการความรู ไปสูการพัฒนาตอยอดตอไป เพ่ือความมั่งคั่งและย่ังยืน “คนอยูได วัฒนธรรม อยไู ด” ไปพรอ มๆ กัน บรรณานกุ รม กรมสง เสริมวัฒนธรรม. มรดกภมู ิปญญาทางวัฒนธรรม. Accessed Jan 29, 2019 From http://ich.culture.go.th/index.php/th การจดั การความรู(KM): ตวั ชว ยของผปู ฏบิ ัติงาน–ผบู รหิ ารในทกุ องคกร. Accessed Feb 6, 2019 From http://www.okmd.or.th/upload/pdf/chapter1_kc.pdf ภาสวรรธน วัชรดาํ รงคศ ักด์ิ และคณะ. 2561. โครงการพฒั นาเชิงพน้ื ที่ทางศลิ ปะและวัฒนธรรมเมือง แมแ จม จังหวดั เชียงใหม. สํานกั งานกองทุนสนบั สนนุ งานวิจยั เอกรฐั พยัตตกิ ลุ , 2555. การศึกษามรดกทางวฒั นธรรม อําเภอเชียงคาน สพู ้นื ท่ีการออกแบบ ศูนยก ารเรียนรทู างวฒั นธรรม อาํ เภอเชียงคาน จงั หวัดเลย. (ม.ป.ท)

รูปแบบการนาเสนอแนวปฏิบัติทีด่ ี โครงการประชุมสัมมนาเครือข่ายการจัดการความรู้ฯ ครง้ั ท่ี 12 “การจัดการความร้สู ู่มหาวทิ ยาลยั นวตั กรรม” (Knowledge Management: Innovative University) สาหรับอาจารย์/ บุคลากรสายสนบั สนนุ / นักศกึ ษา ชอ่ื เรือ่ ง/แนวปฏบิ ัติทด่ี ี องคค์ วามรูด้ า้ นการวจิ ยั สู่การเพิม่ ปรมิ าณงานวจิ ัยในองค์กร ชือ่ -นามสกลุ ผู้นาเสนอ คงศักดิ์ ตุ้ยสืบ, ภานุวฒั น์ วริ ชั เกษม, กร จนั ทรวโิ รจน์ และกนกวรรณ เวชกามา ชอื่ สถาบันการศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลลา้ นนา ลาปาง หน่วยงาน คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ และกองการศึกษา เบอร์โทรศัพท์มือถอื 091-7963539 เบอร์โทรสาร 054-342549 E-Mail address [email protected]

องค์ความรู้ด้านการวิจยั สกู่ ารเพมิ่ ปรมิ าณงานวิจัยในองค์กร The Research Knowledge to Increasing Organization Research Number คงศักด์ิ ตยุ้ สบื (Khongsak Tuisuep)1 ภานวุ ฒั น์ วิรชั เกษม (Panuwat Verutcarsam)2 กร จันทรวิโรจน์ (Korn Chantaraviroat)3 กนกวรรณ เวชกามา (Kanokwan Vechgama)4 1อาจารยส์ าขาบริหารธรุ กิจ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลลา้ นนา ลาปาง [email protected] 2เจ้าหน้าที่บริหารงานทว่ั ไป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลลา้ นนา ลาปาง [email protected] 3อาจารยส์ าขาบรหิ ารธรุ กจิ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลลา้ นนา ลาปาง [email protected] 4ผู้ช่วยศาสตราจารย์สาขาวชิ าการจดั การ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลลา้ นนา ลาปาง [email protected] บทสรปุ กิจกรรมการจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพ่ือการเพ่ิมปริมาณผลงานวิจัยระดับสถาบัน ขับเคล่ือนโดยทีมงานคณาจารย์และบุคลากรภายในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลาปาง โดยใช้เครื่องมือการจัดการความรู้ด้านฐานความร้บู ทเรียนและความสาเร็จ และ การเล่า เรอื่ ง โดยกิจกรรมมีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1. เพ่ือสง่ เสรมิ สนบั สนุนให้มกี ระบวนการดา้ นการวิจัยเป็น แนวทางสาหรับบุคลากร 2. เพ่ือเพ่ิมจานวนการขอสนับสนุนทุนวิจัยในปีถัดไปหลังจากการจัด กิจกรรม ผลจากการจัดกิจกรรมได้รูปแบบในการดาเนินการตั้งแต่การขอสนับสนุนงบประมาณ จนกระทงั่ ถึงการเขยี นบทความวิจยั ในรูปแบบกระบวนการช่ือ ESPUA ซ่งึ ย่อมาจาก คน้ หาความ เช่ียวตนเอง (Expertise), ทราบแหล่งทุนเป้าหมาย (Source of fund), เขียนโครงร่างนาเสนอ ขอสนับสนุนทุน (Proposal and research), นาผลจากการวิจัยไปใช้ประโยชน์ (Useful research) และ การเขียนบทความวิจัย (Article of research) ผลจากดาเนินกิจกรรมด้านการ วิจัยตามกระบวนการส่งผลให้ปริมาณการขอสนับสนุนทุนวิจัยเพ่ิมข้ึนจากปี 2559 ร้อยละ 40 เป็นระยะเวลา 2 ปี คาสาคัญ: การวจิ ัย องคค์ วามรู้ การจัดการความรู้

Summary The activity of knowledge management ( KM) for more research proposal was steered by team working in Rajamangala University of Technology Lanna Lampang. The tools of KM are 1. The lesson learned and best practices databases and 2. The story telling by the researchers who were accepted. The objectives of these activity are 1. Pushing the process from KM activity to lecturer and researcher. 2. Increasing the research proposal after KM activity. The results of KM activity is new process named ESPUA ; Expertise, Source of fund, Proposal and research, Useful research, Article of research. After using the ESPUA, the research proposal increased 40% between 2 years later. Keywords : Research, Knowledge, Knowledge Management. บทนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลาปาง เป็นส่วนหนึ่งของมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลล้านนาซึ่งได้ถกู แบ่งเพ่อื กระจายการศึกษารองรับประชาชนเป็น 6 เขตพน้ื ที่ คือ เชียงใหม่ ลาปาง เชียงราย น่าน ตาก และ พิษณุโลก ที่มุ่งเน้นในการพัฒนาทุกภาคสว่ นของ มหาวิทยาลัยสู่ความเป็นอัตลักษณ์ในเรื่องของอุตสาหกรรมเกษตร เพ่ือผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติ กิจกรรมท่ีมีส่วนสาคัญย่ิงในการก้าวไปสู่อัตลกั ษณ์คือการเปน็ ชมุ ชนแห่งการเรียนรูข้ องคณาจารย์ บุคลากร ซ่ึงปฏิเสธไม่ได้เลยว่ากิจกรรมหน่ึงท่ีมีความสาคัญคือ กิจกรรมการจัดการความรู้ใน องค์กร ซึ่งเป็นกจิ กรรมท่มี งุ่ เนน้ การจดั การระบบความรู้ ระบบความคดิ และถา่ ยทอดส่กู ารปฏิบัติ ไดอ้ ย่างชดั เจนและแท้จริง และยังเปน็ กลไกที่สาคัญในการจัดการความรขู้ ององคก์ รให้บรรลุตาม วัตถุประสงค์ เป็นวิธีการหรือข้ันตอนในการปฏิบัติกิจกรรมการจัดการความรู้ตามที่กาหนดไว้ (พรรณี สวนเพลง, 2552) นอกจากนม้ี ผี ู้เชี่ยวชาญได้กล่าวไว้เกี่ยวกับการจัดการความรู้ คือการนา ความรู้ไปสู่การปฏิบัติ โดยสามารถพูดได้อย่างชัดเจนคือควรอย่างย่ิงที่ต้องมีการกระทาภาย หลังจากการจัดการความรู้เพ่ือเพ่ิมคุณค่าส่ิงที่มีอยู่ในองค์กร (ประพนธ์ ผาสุขยืด, 2550) เนื่องมาจากความรู้เปน็ สงิ่ ที่สาคญั เปรียบดงั ทรัพย์สินท่ีมีคา่ ยิ่งในองค์กร หากรักษาไวไ้ ดเ้ ทียบเท่า กบั การไดเ้ ปรยี บในการแขง่ ขันได้ ซ่งึ ขนึ้ อยู่กับความสามารถขององคก์ รท่จี ะทาให้ขับเคล่ือนไปได้ อย่างดีและมปี ระสิทธภิ าพอย่างไร โดยกระบวนการที่เป็นทั้งระบบค้นหา สร้าง รวบรวม จัดเกบ็ เผยแพร่ ถา่ ยทอด แบ่งปนั และใช้ความรู้ (บญุ ดี บญุ ญากิจ, 2549)

เป็นท่ที ราบกันดีว่างานวิจัยเปน็ หนึง่ ในพันธกจิ หลักของคณาจารย์ผู้สอนในมหาวิทยาลัย จาก 4 พนั ธกจิ หลกั คอื การเรียนการสอน วจิ ยั บริการวชิ าการ ทานุบารุงศลิ ปวฒั นธรรม ซึง่ การ วจิ ยั หากกล่าวกนั ตามหลกั วิชาการแล้วหมายถึง การกระทาของมนุษย์เพ่อื ค้นหาความจริงในสิ่งใด สิ่งหนึ่งที่กระทาด้วยพ้ืนฐานของปัญญา ความมุ่งหมายหลักในการทาวิจัยได้แก่การ ค้นพบ (discovering), การแปลความหมาย, และ การพัฒนากรรมวธิ แี ละระบบ สู่ความก้าวหน้า ในความรู้ด้านต่าง ๆ ในเชิงวิทยาศาสตร์ที่หลากหลายในโลกและจักรวาลการวิจัยอาจต้องใช้ หรือไม่ต้องใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ก็ได้ (Wikipedia, การวิจัย) นักวิชาการส่วนมากจึงมีความ พยายามย่ิงที่จะก้าวสู่สนามการวิจัยเป็นหนทางสู่เวทีการวิจัย และ พัฒนา และเป้าหมายสูงสุด ของงานวิจัยคือ เชิงบุกเบิก เชิงก่อ และ เชิงประจักษ์ เหล่านี้ล้วนแล้วแต่เป็นจุดเร่ิมต้นของการ พัฒนาท่ีเร่ิมจากสถานศึกษา สู่ชุมชน จากชุมชนสู่การพัฒนาในภาพจังหวัด ประเทศ และ นานาชาติ ต่อไป การวิจัยท่ีมีกระบวนการที่ดีและเป็นการจัดการความรู้จากผู้ร้ทู ี่มีการปฏิบัติมา ยาวนานและมีสิ่งรับประกันถึงความเป็นมืออาชีพในด้านการวิจัยยิ่งเป็นบทเรียนที่ควรย่ิงต่อ การศึกษาและเป็นจุดเร่มิ ของการพฒั นาตอ่ ไป วิธกี ารดาเนนิ งาน การดาเนินการการจัดการความรู้เก่ียวกับงานวิจัยนี้ใช้วิธีการฐานความรู้บทเรียนและ ความสาเร็จ (Lesson Learned and Best Practices Databases) การจัดการองค์ความรู้ใน องคก์ รได้มกี ารจัดเกบ็ องค์ความรูท้ เี่ กดิ ข้ึนจากประสบการณ์ ท้ังใน รูปแบบของความสาเร็จ ความ ล้มเหลวและข้อเสนอแนะในเรื่องท่ีสนใจ โครงการ หรือกลุ่มท่ีปรึกษา และ การเล่าเร่ือง (Story Telling) เรื่องราวที่บอกเล่าทาให้ผู้ฟังเข้าไปร่วมอยู่ในความคิด มีความรู้สึกเสมือนเป็นส่วนหนึ่ง ของเร่ืองที่ เลา่ มคี วามตอ้ งการท่ีจะหาคาตอบเพือ่ แก้ปัญหาเร่ืองราวและความคิดตา่ งๆ ในเรอื่ งท่ี เลา่ นนั้ กลายเปน็ ของผู้ฟัง ผฟู้ ังมใิ ชเ่ ปน็ เพียงผ้สู ังเกตภายนอกอกี ตอ่ ไป ทั้งสองเครอ่ื งมือนไี้ ด้ดาเนินไปในขณะเดยี วกันกบั การจัดกจิ กรรมการจัดการความร้ดู ้าน การวิจัยและการนาไปใช้ประโยชนโ์ ดยมกี ระบวนการในการดาเนินกิจกรรมการจดั การความรู้ดงั น้ี Public relation Sharing Selecting team Announcement KM activity Lesson learn & reflection ภาพท่ี 1 กระบวนการดาเนินกจิ กรรม จากภาพท่ี 1 สามารถอธิบายได้เปน็ ขอ้ ๆ ถึงกระบวนการดาเนนิ กจิ กรรมตงั้ แตก่ ารค้นหาโจทยถ์ ึง การถอดบทเรยี นภายใต้กจิ กรรมการจดั การความรู้ (Knowledge Management) ลาดับขน้ั ดงั นี้

ประชาสัมพนั ธเ์ พ่ือเข้าร่วมกจิ กรรมการจดั การความรู้ (Public relation) เสนอหวั ข้อทท่ี ่านสนใจในการดาเนนิ กิจกรรมการจัดการความรู้ (Sharing) และคดั เลือก หัวข้อท่ีได้รับการลงชื่อได้มากท่ีสุด โดยเลือกจากงานในหน้าที่หลักหรืองานสนับสนุน (รอง) แต่งตั้งคณะดาเนินกิจกรรมตามรูปแบบคาส่ังการดาเนินงานของมหาวิทยาลัย และ คดั เลือกบคุ ลากรในเครอื ข่ายวทิ ยากรกระบวนการ (Selecting teamwork) แจ้งวันเวลาสถานท่ีในช่ัวโมงกิจกรรมของทางมหาวิทยาลัยเพ่ือความพร้อมเพรียงของ บุคลากรทง้ั สายสนบั สนนุ และสายวชิ าการ (Announcement) ดาเนินกจิ กรรมการจัดการความรู้ (Knowledge management activity) ถอดบทเรียนและส่งข้อมูลย้อนกลับจากการจัดการความรู้ (Lesson learn and reflection) ผลและอภิปรายผลการดาเนินงาน จากการดาเนินกิจกรรมไดผ้ ลทกี่ ่อใหเ้ กิดประโยชน์คอื การเร่มิ การวิจัยควรมกี ารวางแผน ต้ังแต่เริ่มต้นต้ังแต่การตัดสินใจในการขอสนับสนุนงบประมาณในการดาเนินงานและสามารถ อธิบายเป็นข้ันตอนดังภาพในกระบวนการท่ีมีอักษรย่อคือ ESPUA ซึ่งเป็นข้อค้นพบใหม่และ สามารถจดจาไดง้ ่ายในการออกเสยี งภาษาไทยวา่ “เอสปวั โมเดล” ดงั น้ี Expertise Science, Social science, Engineer, Architect Source of fund Government, Private organization Proposal and research Preparing and writing proposal Useful research Transfer academic Article Choose for Journal and impact factor

ภาพที่ 2 รปู แบบ “ESPUA” ผลจากการถอดบทเรยี นเก่ยี วกับขนั้ ตอนของ “องค์ความรดู้ า้ น การวจิ ัยส่กู ารเพ่ิมปริมาณงานวิจัยในองคก์ ร” ที่มา: กิจกรรมการจดั การความรูด้ า้ นการวิจยั มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลล้านนา ลาปาง จากภาพที่ 2 สามารถอธิบายไดด้ ังน้ี 1. เริ่มต้นจากความเช่ียวชาญในแต่ละศาสตร์ของนกั วิจัย ผนวกกับการตัดสินใจที่จะทา วิจัยในรูปแบบ มาจากความต้องการของแหล่งทุน (Demand pull) ควรมีการเรียนรู้เพิ่มเติม และมคี วามคิดสรา้ งสรรค์ หรอื ตามความเช่ียวชาญของนกั วิจัย (Supply push) 2. วิธีการและความต้องการของแหล่งทุน คือการศึกษาความต้องการระดับประเทศ ระดับจังหวัด สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา และต้ังเป้าหมายเพื่อพัฒนาตนเอง จากนั้นศึกษาข้ันตอนวิธกี ารขอทุน เลือกแหล่งทุน ว่าเป้าหมายคือแหล่งทุนขนาดเล็กหรือแหลง่ ทุนขนาดใหญ่ บริหารงานวิจัยภายใต้ระยะเวลาและจานวนงานวิจัยที่มีอยู่ ถ้าหากยังไม่มีความ พร้อม ควรยิ่งท่ีต้องเป็นอาสาสมัครเป็น Co-research เม่ือยังไม่พร้อมในการเป็นหัวหน้า โครงการ หรือจัดต้ังกลุ่มทางการวิจัย เมื่องานวิจัยเข้าสู่ยุคการบูรณาการศาสตร์ควรมีการจัดต้งั กล่มุ วจิ ัยไว้เพ่อื ดาเนนิ การวจิ ัยและขอสนับสนุนจากหนว่ ยงานต่าง ๆ 3. การวางแผนการวจิ ัย โดยเริม่ ต้นท่กี ารเขียนโครงการเสนอโดยคานงึ ถงึ ทรัพยากรที่มอี ยู่ทั้งของนักวจิ ัย ทีมวจิ ัย และองคก์ รทส่ี งั กัดอยู่ หน่วยงานทีเ่ กีย่ วขอ้ ง คอื หน่วยงานภาคีทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั การศึกษา ทรพั ยากรใช้ไดจ้ ริงทั้งของนักวจิ ัย ทีมวจิ ัย และองคก์ รท่สี งั กดั อยู่ ผลผลิต (Output) มคี วามชัดเจน บอกเปน็ ขั้นตอน 1,2,3 เตรียมแผนสารอง บ่งบอกถึงการบรหิ ารความเสี่ยงภายในโครงการวิจยั กาหนดใชป้ ระโยชน์ใหช้ ัดเจน ทั้งบคุ คล หน่วยงาน องคก์ ร ฯลฯ จากนั้นเข้าสูก่ ระบวนการ 4. ดาเนินการวิจัย ดาเนินการวจิ ัยตามศาสตร์วชิ าการของผู้วิจัย และหากการดาเนินการ ไม่เป็นไปตามแผนท่ีวางไว้ มีทางเลือก คือ ควรใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เข้าช่วย และ การคืนทุน และถ้าหากดาเนินการวิจัยเสร็จส้ินตามระยะเวลา และได้ผลการศึกษาตามที่ ตงั้ เป้าหมายและสอดคล้องกับวัตถปุ ระสงค์แล้วน้ัน จึงก้าวสู่ 5. การตพี มิ พ์หรอื ที่มักถกู เรียกวา่ “บทความวิจยั ” ท่มี กี ระบวนการจากบทเรียนดงั นี้

เลอื กฐานขอ้ มลู วา่ มคี วามประสงคจ์ ะลงบทความในฐานใด โดยมีใหเ้ ลอื ก คอื ฐาน TCI, Scopus เลือกท่ีมี Impact Factor ย่ิงมากยิ่งดี โดยแต่ละสายวิชา คือ วิศวกรรมศาสตร์, วิทยาศาสตร์, สังคมศาสตร์ จะมีความแตกต่างกัน และตามเกณฑ์ สกอ./กพอ. ซ่ึงข้อนี้จะส่งผล ใหง้ ่ายต่อการนาเสนอเพือ่ ขอผลงานทางวชิ าการตอ่ ไป การเขียนบทความวิจัย คัดเลือกผลงานที่มีอยู่ และให้น่าสนใจ โดยคานึงถึงเกณฑ์ของ สานักพมิ พ์ทีจ่ ะไปตพี ิมพ์ จากน้นั นาส่ง หากแหล่งทีจ่ ะตีพิมพ์รับตีพิมพ์จงึ นาบทความมาแก้ไขให้ ตรงตามระยะเวลาท่กี าหนด หากปฏิเสธใหท้ ราบวา่ ในคร้งั ตอ่ ไปหากสง่ อีกคร้งั ต้องรอบคอบกว่าที่ เคยเป็น อ่านเพื่อระดมความรู้ เพ่ือให้รู้เขารู้เรา รวมถึงเพ่ือให้ทราบว่าแบบการเขียนของแต่ละ แหลง่ ตีพิมพ์ นาไปสู่การวางแผนการเขียนบทความ ซึ่งการเขียนบทความ ประกอบดว้ ยองคป์ ระกอบ ดังนี้ 1.บทคดั ยอ่ (Abstract) 2.เกริ่นนา (Introduction) ซ่ึงเปน็ ส่วนท่ดี ึงความสนใจการอ้างอิง ที่มีความใหม่ของข้อมูล ทันสมัย 3.วิธีการ (Methods) ต้องมีความละเอียดและชัดเจน 4. วิเคราะห์ผล (บางบทความไม่มี ซึ่งขึ้นอยู่กับสาขาวิชา) 5.รายงานผล ควรใส่ความคิดเห็นที่ น่าเชื่อถือทางวิทยาศาสตร์ 6.รูปประกอบ ไม่ควรตัดต่อ ปรับแต่งรูปภาพ เน่ืองจากมีผลต่อการ พิจารณา และกราฟ หากเป็นไปได้ควรนาไปในส่วนโปรแกรมอื่นท่ีไม่ใช่ Excel 7. สรุปผล หาก วัตถุประสงค์ซ่ึงควรตระหนักว่าไม่ควรมีความซ้าซ้อน (Conclusion) กับบทคัดย่อ และไม่ควร เขียนแบบเกนิ จริง จากผลที่ได้จากการดาเนินกิจกรรมสอดคล้องกับการศึกษาของ วรางคณา (2557) ท่ี กล่าวถึงการ AAR น้ันเม่ือนาผลมาปรับปรุงจะเป็นการจับความรู้ท่ีเกิดขึ้นนาไปสู่การวางแผน ต่อไป ซึ่งภายหลังการดาเนินกิจกรรมสามารถแสดงผลการดาเนินการวิจัยท่ีเพ่ิมมากขึ้นสืบเน่ือง จากมองเห็นกระบวนการทชี่ ดั เจนข้ึนดังนี้ ป/ี คณะ วิทยาศาสตร์ฯ บรหิ ารธุรกิจฯ วิศวกรรมศาสตร์ 2559 4 7 4 2560 9 8 7 2561 15 14 7 ตารางท่ี 1 จานวนโครงการวจิ ยั ท่เี สนอขอสนบั สนนุ ทุนและดาเนนิ การ

จานวนงานวจิ ยั ปี 2559-2561 20 10 0 วิทยาศาสตรฯ์ บริหารธรุ กจิ ฯ วิศวกรรมศาสตร์ 2559 2560 2561 ภาพท่ี 3 กราฟแสดงวิวฒั นาการของโครงการวจิ ยั ทีม่ พี ัฒนาการท่เี พ่มิ ข้นึ ภาพที่ 4 กจิ กรรมการจัดการความรู้ KM day ปีงบประมาณ 2559 วทิ ยากรและผ้ดู าเนนิ กจิ กรรม KM Day ดา้ นกระบวนการวิจยั โดย ผศ. ดร. วรรณา อรรมวรรธน์, ดร. ปยิ ะมาสถ์ ตณั ฑเ์ จรญิ รัตน์ และ ดร. สุรพล ใจวงษส์ า

สรุป การดาเนินกิจกรรมถอดบทเรียนเก่ียวกับกระบวนการวิจัยภายใต้หัวข้อ “องค์ความรู้ ด้านการวิจัยสู่การเพ่ิมปริมาณงานวิจัยในองค์กร” ได้ผลจากการดาเนินกิจกรรมและนาไปใช้ใน องค์กรในภาพรวมโดยการกระจายผลการดาเนินกิจกรรมทางเว็บไซต์ภายในหนว่ ยงาน ส่งผลต่อ จานวนของการขอสนับสนุนด้านการวิจัยท่เี พ่มิ ข้นึ รอ้ ยละ 40 ระหว่างปี 2559-2561 แสดงให้เห็น ถึงกระบวนการของการจัดการความรู้ และ ถอดบทเรียนเพ่ือนาไป ใช้จริงในองค์กรเป็น กระบวนการที่เป็นส่วนหน่ึงของการผลักดันด้านการพัฒนากิจกรรมหลักภายในองค์กรได้ แต่ ผลกระทบของกิจกรรมจาเป็นยง่ิ ที่ต้องใชเ้ วลาเนือ่ งจากกระบวนการเก่ยี วกับการวิจยั มีระยะเวลา เข้ามากากับช่วงเวลาการขอสนับสนุนทุนวิจัย จึงทาให้กิจกรรมและผลต้องใช้ระยะเวลา 2 ปีข้ึน ไปเพือ่ เห็นข้อแตกต่างก่อนและหลังการใช้กระบวนการ บรรณานุกรม วรางคณา จันทรค์ ง. 2557. จลุ สารสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สขุ ภาพออนไลน.์ มุมวจิ ัย. ฉบบั ท่ี 1 พรรณี สวนเพลง. 2552. เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมสาหรบั การจัดการความรู้. กรุงเทพ : ซเี อ็ดยเู คชน่ั . 43-44 ประพนธ์ ผาสกุ ยืด. 2550. การจัดการความรู้ฉบบั ขับเคล่อื น LO. กรุงเทพฯ : ใยไหม. บุญดี บุญญากจิ . 2549. การจดั การความรู้จากทฤษฎีสูก่ ารปฏบิ ตั ิ. กรุงเทพฯ : สถาบนั เพม่ิ ผลผลติ แหง่ ชาต.ิ วิกิ สารานกุ รมเสรี. 2562. การวิจัย. สืบคน้ จาก https://th.wikipedia.org/wiki/การวจิ ัย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook