ความฉลาดทางดจิ ิทัล (DQ-Digital Quotient) เมือ่ ก่อนเราให้ความสำคัญด้านความฉลาดทางเชาวนป์ ญั ญา (IQ-Intelligent quotient) มีการพฒั นา ทักษะความสามารถใหผ้ ู้คน โดยเน้นทค่ี วามฉลาดทางปัญญาทม่ี หี ลากหลาย และบางเร่ืองมลี ักษณะเฉพาะตัว ตอ่ มาให้ความสำคัญกบั การใชช้ ีวิตอย่างมคี วามสขุ โดยใช้ความฉลาดทางอารมณ์ (EQ-Emotional quotient) เป็นพื้นฐาน ในยคุ ชีวติ วิถีใหม่ มกี ารใชเ้ ทคโนโลยีดิจทิ ัลกนั มาก มีกิจกรรมอยบู่ นโลกไซเบอร์ จงึ ต้องอาศัยความ ฉลาดทางดจิ ิทลั (DQ-Digital quotient) เพอ่ื เพ่มิ ขีดความสามารถการดำรงชีวิต ท่ที ำใหใ้ ช้ชีวติ ในโลกดจิ ิทลั ได้ ดขี ้ึน 1. ดจิ ิทลั กับชีวติ วิถีใหม่ การระบาดของโรคโควิด 19 ทำใหเ้ กิดการปรบั ตัวใชเ้ ทคโนโลยดี ิจิทัลมากข้นึ เปน็ จังหวะเดยี วกบั ทท่ี ่วั โลกกำลังใหค้ วามสำคัญในเรื่องดจิ ิทลั และเตรยี มพรอ้ มรับการใช้ดิจิทัลในอนาคต หน่วยงาน องค์กร ทัง้ ภาครัฐ และเอกชน ใหค้ วามสนใจในการปรบั เปล่ยี นมาใช้ดจิ ทิ ัลแทนการทำงานแบบเดิม (Digital transformation) ดังนั้นการใช้ดิจทิ ัลจึงไม่จำกัดอย่แู ค่ในวงแคบ ๆ อกี ต่อไป แต่จะเป็นบรรทดั ฐานใหม่ (New Normal) ของทุก คน โดยเฉพาะอย่างยงิ่ กับคนรุน่ ใหมท่ ่เี ปน็ ชาวพืน้ เมืองดจิ ิทัล (Digital native) อยแู่ ล้ว ท่ีพรอ้ มรบั กบั เทคโนโลยีใหม่ เชน่ อินเทอรเ์ นต็ ของสรรพส่งิ หรอื ไอโอที (Internet of Things) ปัญญาประดิษฐ์ (AI) เคร่ืองจักรอตั โนมัติ และหุ่นยนต์ การใช้คลาวด์ สื่อใหม่ ข้อมลู แบบบก๊ิ ดาต้า ท้งั น้สี ำหรับประเทศไทยมี เปา้ หมายเพื่อตอบรบั นโยบายประเทศไทย 4.0 การให้บริการแบบใหม่ที่เป็นดิจิทลั เป็นกระบวนการการบริการบนแพลตฟอรม์ ดจิ ทิ ัล เช่น การส่งั อาหาร การเรียกรถแท็กซี่ การซอ้ื ขายออนไลน์ เปน็ การใชบ้ รกิ ารเรยี กผา่ นสมาร์ทโฟน มีการใช้ข้อมลู ขา่ วสาร แบบดจิ ิทัล การประชาสัมพนั ธ์ การตลาดแบบดจิ ิทลั การใชช้ วี ิตบนโลกไซเบอร์จงึ มีบทบาทใชด้ ิจทิ ัลเพิ่มขึ้น ผู้คนมที กั ษะการสอ่ื สาร ใช้ไลน์ เฟสบุก ใชส้ อ่ื สงั คม (Social media) มเี ครื่องมือสืบคน้ ข้อมูล หาความรู้ เรยี นรู้พฒั นาตนเอง ผู้คนในยุคชีวิตวถิ ีใหม่ จงึ มชี ีวิต สงั คมบนโลกไซเบอร์ ควรต้องมีจรยิ ธรรม ทัศนคติ คา่ นิยม และบุกคลิกภาพที่เชื่อมโยงกับการใช้ดจิ ทิ ลั เพื่อการดำเนินชีวติ อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ทส่ี ำคัญต้องมี ความฉลาดทางดจิ ิทัล (Digital Quotient) เพ่ืออยู่ในโลกวิถีใหม่อย่างมคี วามสุข โควิด 19 และ พัฒนาการทางเทคโนโลยกี ำลังเปน็ แรงกดดันใหต้ ้องปรับเปลยี่ นวิถีชวี ติ เข้าใช้ดิจทิ ลั เร็ว ขน้ึ ผู้ทีม่ ีความฉลาดทางดิจิทัล จะไดใ้ ช้ชีวติ ท่ีเชอ่ื มโยงดิจทิ ัลไดด้ ี ปัจจบุ นั ผคู้ นในยุควิถีใหม่ จะตอ้ งมีการ แสดงออกทางสังคม การอยรู่ ่วมกนั ในโลกไซเบอร์ การเรียนรู้ที่ใช้เครือ่ งมอื สมัยใหม่ การทำงาน ตลอดจนการ ดำเนนิ ชีวิตวถิ ใี หม่ จะหลอมรวมกบั เทคโนโลยีอย่างเปน็ เน้อื เดยี ว
ผู้คนในยุคใหม่ ทงั้ นกั เรยี น นิสิตนกั ศึกษาประชาชน จำเป็นตอ้ งมี อัตลกั ษณต์ ัวตนในไซเบอร์ เพราะมี การอวตารเป็นอวาตาร์ เข้าสู่สงั คมไซเบอร์ มีการปรบั เปล่ียนบคุ ลกิ ภาพ วธิ ีการสอ่ื สาร ทักษะวิธีคิด ท่ีมี เทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามาเกี่ยวข้อง ดังนั้นการพฒั นาทักษะของคนในยุควิถีใหมจ่ งึ ไมใ่ ช่แค่การเรยี นรู้ เฉพาะเร่อื ง ทเี่ ป็นพน้ื ฐานแบบเดมิ เชน่ ภาษา วทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ ประวัตศิ าสตร์ และภมู ศิ าสตร์ เทา่ นัน้ แตต่ ้อง เนน้ การพฒั นาทกั ษะดิจิทลั การใช้เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั อย่างชาญฉลาด ปลอดภัย และเหมาะสม อีกด้วย เรม่ิ เดิมที เราให้ความสำคญั ทางด้านความฉลาดทางเชาวน์ปัญญา (IQ-Intelligent quotient) มีการ พัฒนาทักษะความสามารถและใหค้ วามสำคัญกบั เรื่อง พหุปัญญา (Multiple intelligence) ท่ผี ู้คนจะมีความ ฉลาดทางปญั ญาที่หลากหลายเฉพาะตวั ได้ ต่อมาให้ความสำคัญกบั การใชช้ วี ิตอย่างมีความสุข ซึง่ ตอ้ งอาศยั ความฉลาดทางอารมณ์ (EQ-Emotional quotient) ขณะนเ้ี ราก้าวสยู่ คุ ดิจิทัล จำเป็นต้องอาศัยความฉลาด ทางดิจิทัล (DQ-Digital quotient) เพอื่ เพ่มิ ขีดความสามารถการดำรงชีวิต การศึกษาและหลกั สูตรการเรยี นรู้ ทางดิจทิ ลั ได้รับการพฒั นาและปรับตวั ไปมาก เพ่ือใหเ้ กดิ ความเข้าใจประโยชน์ และโทษของเทคโนโลยดี จิ ิทลั ทที่ ำให้ใชช้ ีวิตในโลกดจิ ทิ ัลต่อไปได้ดีข้นึ โดเมนความฉลาดทางดิจิทัล ความฉลาดทางดิจิทัล เก่ียวโยงกบั การพัฒนา 3 เรอ่ื งที่สำคัญทจ่ี ำเปน็ ดังน้ี ความเป็นพลเมืองดิจิทัล (Digital Citizenship) มนษุ ย์อยู่รวมกนั เปน็ สังคม เป็นพลเมืองของประเทศ การเปน็ พลเมืองดจิ ิทัลจึงหมายถึงการพัฒนาความสามารถในการปฏบิ ัติตามกฎ ระเบียบ ของสงั คมดิจิทลั รับรู้ ถึงสง่ิ ท่คี วร หรอื ไม่ควรปฏบิ ัติ อันตรายที่อาจแอบแฝงอยู่ในโลกไซเบอร์ เชน่ การเข้าใจตวั ตนทอี่ ยใู่ นโลกไซ เบอร์ ความเปน็ ส่วนตวั การขโมยข้อมูลสว่ นตวั มจิ ฉาชพี ในโลกไซเบอร์ และการปลอมแปลงแอบแฝงการ กระทำการในโลกไซเบอร์สเปซ ท่ีสรา้ งปญั หาให้สังคม เป็นตน้
ความคดิ สร้างสรรค์ทางดจิ ทิ ลั (Digital Creativity) มีความรู้ ทกั ษะ ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี ดจิ ิทัลอยา่ งสรา้ งสรรค์ เชน่ การสือ่ สาร การสร้างสือ่ เน้ือหา พนื้ ฐานการคิด การโคด้ ซงึ่ เปน็ ความสามารถใน การใชเ้ ทคโนโลยแี ละเครื่องมือดจิ ทิ ัลตา่ ง ๆ ใหเ้ ปน็ ประโยชน์ ได้การเปน็ ผูใ้ ชด้ ิจทิ ัลอยา่ งชาญฉลาด (Smart Digital User) มคี วามรู้ ความสามารถ ในการใชเ้ ทคโนโลยดี ิจทิ ลั เพ่อื นำมาสร้างสรรค์ทเ่ี ป็นประโยชน์ สร้าง งาน สรา้ งอาชพี ใหม่ ๆ ซ่งึ มีความเปลยี่ นแปลงการทำงานแบบเดิม ๆ สามารถดำเนินกิจกรรมทใ่ี ชด้ จิ ทิ ลั และ การใหบ้ รกิ ารทางดิจทิ ัลใดด้ ียิ่งขึน้ ในอดีตทุกประเทศใหค้ วามสำคัญในการพัฒนาทักษะและการศึกษาของประชากรดว้ ยเรื่อง 3R คือ การอ่าน (Read) การเขยี น (wRite) และทักษะการคิดวิเคราะห์ คณิตศาสตร์ (aRithematics) แต่ในปัจจบุ นั ท่วั โลกเพม่ิ ให้ความสำคัญกับทักษะและความรู้ด้านดิจิทลั ท่ีต้องมีควบคู่ไปกบั ทักษะการอ่าน การเขยี น และ ทกั ษะทางคณติ ศาสตร์ ซงึ่ ทักษะดจิ ทิ ัลเป็นเสาหลักต้นทีส่ ี่สำหรบั นกั เรยี น ที่เนน้ ใหท้ ุกคนมีความรู้ ความเข้าใจ ดิจิทัล และใชช้ ีวติ บนโลกอนาคตอยา่ งมคี วามสุข การใช้ดิจิทลั จงึ ไมใ่ ชแ่ ค่เรื่องเฉพาะกบั คนทำงานองค์กรท่ีอย่ใู นสาขาดิจิทลั เท่านั้น แต่เกี่ยวข้องกบั ทุก คน ดังนัน้ ต้องพฒั นาให้ทุกคน เด็ก นักเรียน ครู ประชาชน มคี วามฉลาดทางดจิ ทิ ลั (DQ) หากประชากรมี ความฉลาดทางดิจิทลั จะชว่ ยใหป้ ระเทศชาติพัฒนาไดอ้ ีกมาก
2 ความฉลาดในการร้จู กั ตัวตน และ การใชด้ ิจทิ ัล ชวี ติ วิถใี หมข่ ึ้นกบั การใช้ดจิ ทิ ัล เรามีสมาร์ทโฟนเสมือนเป็นกระเปา๋ สตางค์ เชน่ เป๋าตงั (ช่ือการ ประยกุ ต์ทางด้านการเงนิ และการรับจ่ายเงินออนไลน์ของธนาคารกรงุ ไทย) เปน็ หนึ่งโครงการของรัฐบาลที่ให้ เกิดการใช้จา่ ยออนไลน์ผ่านโครงการเทย่ี วดว้ ยกนั คนละคร่งึ โอนเงนิ และดขู ้อมูลจาก กยศ. เป็นต้น ลองนกึ ดู ว่าจะรู้ได้อย่างไรว่าตัวตนใครเปน็ คนใชจ้ า่ ย ใครเป็นเจา้ ของเงินออนไลน์ การใช้จา่ ยผ่านสมารท์ โฟนทำใหง้ ่าย ต่อการใชอ้ ยา่ งไร เม่อื เริ่มเปิดบญั ชแี บบเดิมกบั ธนาคาร ธนาคารต้องขอบตั รประชาชน และตรวจสอบบตั รประชาชน กอ่ น โดยผูเ้ ปดิ บัญชีตอ้ งยนื ยันตวั หรอื ให้เจ้าหนา้ ทธี่ นาคารได้เห็นตัวตนเทียบกบั การตรวจสอบจากบตั ร ประชาชน ธนาคารใชบ้ ตั รประชาชนตรวจสอบกับสำนกั ทะเบียนราษฎร กระทรวงมหาดไทย เม่ือเปิดบญั ชี ธนาคารจึงต้องใหย้ นื ยนั ตัวตนเริ่มต้นให้ถูกต้องก่อน เราเรยี กข้ันตอนแรกนว้ี า่ KYC- Know your customer หรือ การพสิ จู นย์ ืนยนั ตวั ตนจากโลกกายภาพ หลังจากนัน้ ธนาคารจะมอบสิทธิใหเ้ ราสรา้ ง อวาตาร์ (ให้บญั ชีท่ี ทำธรุ กรรมแบบดจิ ิทัล) ท่จี ะแทนตัวตนในโลกไซเบอร์ (กรณี เปา๋ ตัง มีการใหถ้ า่ ยรปู ตวั เอง ใหร้ ะบบตรวจ สแกนใบหน้าเทยี บกบั ข้อมลู ท่ีระบบใชต้ รวจสอบเช่นฐานขอ้ มลู บัตรประชาชน) การรู้จกั ตวั ตนทางกายภาพ (Know Your Customer-KYC ) เพอื่ เชื่อมโยงอวาตาร์ การทำ KYC เพ่ือท่ีจะให้สรา้ งตัวตนในโลกไซเบอร์ เชื่อมโยงความรับผิดชอบบนโลกไซเบอร์กบั ตัวตน ในโลกจริง ธนาคารจงึ จะยอมให้ใชต้ ัวตนในโลกดจิ ทิ ัล ทบ่ี ่งบอก หรือตรวจสอบได้ เช่นใช้รหัสผา่ น เพราะ รหัสผ่านที่แทนตัวตนในโลกไซเบอร์เชอื่ มโยงไปหาตวั ตนจริงได้ บางคร้ังมกี ารยนื ยันตวั ตนอยา่ งอื่นร่วมด้วย เช่นการเป็นเจา้ ของหมายเลขโทรศัพท์ ด้วยการส่งรหัส OTP (One time password) มาทีโ่ ทรศัพท์ ของผู้นนั้ เพื่อให้ยนื ยันตัวอีกครั้ง สรา้ งความมั่นใจมากย่งิ ขึ้น
ทุกวนั น้แี มใ้ ชด้ ิจิทัลออนไลนม์ ากแล้วกจ็ ริง เรามีระบบไซเบอร์ทตี่ ้องทำรว่ มกับทางกายภาพ ที่ เชื่อมโยงตวั ตนกายภาพกบั ตัวตนเสมือนจรงิ เปน็ แบบฝาแฝดดจิ ิทัล ในการใชง้ านในสังคมไซเบอร์แบบดจิ ิทลั แตเ่ รายังไม่ได้เข้าสู่ความเป็นดจิ ทิ ัลโดยสมบูรณแ์ บบ เพราะ ‘ตัวตนในโลกไซเบอร์’ ของมนุษย์ ซึ่งต้องพิสูจน์ หรอื รจู้ กั ได้อย่างมัน่ ใจ ซง่ึ ยังคงต้องอาศยั โลกกายภาพ เช่น บัตรประชาชน ใบขับข่ี ไบโอเมทรกิ ซ์ เชน่ ลายนิว้ มอื ลายมา่ นตา รูปหน้า เสยี งพูด ฯลฯ เพื่อบอกว่า “เราเปน็ ใคร” แต่เมื่อไหร่ก็ตาม ทต่ี ัวตนสามารถ ระบแุ ละยืนยนั บนโลกไซเบอร์ได้ (Digital Identity) เมือ่ นั้นการใช้ดิจทิ ลั บนโลกไซเบอรจ์ ะมีความสมบูรณ์ การ ดำเนนิ ชีวติ บนโลกไซเบอร์จะมสี ภาพทร่ี จู้ ักตัวตนแบบดิจทิ ัลโดยตรง รูปแบบสังคมจะเป็นสงั คมดิจทิ ัล ไร้ กระดาษ ไรเ้ งินสด และจะเป็นเศรษฐกิจดจิ ทิ ลั แบบสมบูรณ์ แนน่ อนวา่ ภายใตด้ ิจทิ ลั จะต้องมอี ัตลกั ษณ์ (Digital Identity) ท่ีรูจ้ กั กนั ได้ ฯลฯ นยิ ามทุกสิ่งทุกอย่างในสงั คมกายภาพ จะย้ายไปอยู่ในโลกดจิ ิทัล จากในบทกอ่ น ไดน้ ิยามคำว่า อวาตาร์ (Avatar) ตัวตนสมมติในโลกไซเบอร์ การทำกจิ กรรมต่าง ๆ ของตัวตนนี้ ถ้าได้รบั การยอมรับ กค็ อื ความจรงิ คำถามอยู่ทีว่ ่า จะยอมรบั ตวั ตนน้ีได้อยา่ งไร ตวั ตนนี้คือใคร มี ลกั ษณะพิเศษเฉพาะตัว (Digital identity) อย่างไร จะพิสูจน์เพือ่ การยอมรับได้อยา่ งไร เปรยี บเทยี บกับโลกกายภาพ เรายอมรบั เพราะเรารู้จกั เห็นหนา้ เหน็ อตั ลกั ษณ์ประจำตวั เชน่ เสยี งพดู รูปรา่ งหน้าตา หรอื ส่ิงบ่งบอกเฉพาะตัวเชน่ ลายน้ิวมือ แต่เมื่อเราทำธุรกรรมกับคนท่ไี ม่รจู้ ักมาก่อน มีการใช้ บัตรประชาชน ใบขบั ข่ี เราเช่ือบตั รประชาชน เพราะเราเช่ือในสถาบนั ของรัฐที่ออกบัตร คือกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ที่ดูแลปฏบิ ัตติ ามกฎหมาย เพราะเป็นองค์กรท่ีรัฐกำหนดให้ดูแลเรอ่ื งนโ้ี ดยเฉพาะ หรือ อย่างเราเชอื่ ธนบตั ร เพราะเรารวู้ า่ มสี ถาบนั ออกธนบัตรคือธนาคารแห่งประเทศไทย จงึ ทำใหม้ ีมูลคา่ เงนิ ใช้ใน การซือ้ ของได้ เราเชื่อในเอกสารทางราชการอกี หลายอยา่ ง เชน่ โฉนดท่ีดิน ใบรับรองทางราชการตา่ ง ๆ เพราะ เราเช่ือในสถาบนั ที่ออก หากไม่ยอมรับ สงิ่ นั้นกไ็ ร้ค่าทนั ที ดงั นน้ั ถา้ มีการทำให้ อวาตาร์ ที่มี Digital identity ท่ยี อมรับ นา่ เชื่อถือ จงึ ต้องมหี นว่ ยงานให้การ รับรอง จะทำให้การดำเนินกิจกรรมในโลกไซเบอร์เปน็ ท่ยี อมรับ เช่นการซอื้ ขายของ การโอนเงินดิจิทลั เกิดข้นึ ได้ ทางดา้ นกฎหมาย จงึ ต้องเข้ามาดูแล คุ้มครอง เหมือนกับทอี่ ยใู่ นโลกกายภาพ ในโลกกายภาพ มีการกำหนดตวั ตนโดยใชส้ งิ่ แทนเรา เชน่ การใชบ้ ัตรประชาชน บตั รเครดิต บางครงั้ ถา้ เราทำส่ิงเหล่านี้หาย หรือถูกโจรกรรม อาจมีคนเอาไปใช้สวมรอยแทน หรอื การถ่ายเอกสาร พร้อมลงลายมือ ชือ่ รับรอง การปลอมแปลงแทนที่ เมือ่ มีการนำไปใช้ การพสิ จู น์อัตลกั ษณ์บนส่ิงเหล่านท้ี ำได้ยาก เกิดชอ่ งว่าง สรา้ งปัญหาได้ จึงต้องดแู ล รักษาสง่ิ เหลา่ นีใ้ ห้ดี ในโลกกายภาพการเก็บอัตลักษณ์ตัวตนยังแยกส่วน เชน่ กรมการปกครองมฐี านขอ้ มูลบัตรประชาชน มีการเก็บลายนว้ิ มือ รูปหน้า แตส่ ำหรบั ข้อมูลบัญชกี ารเงินอยทู่ ี่ ธนาคาร ข้อมลู หมายเลขโทรศัพท์อย่ทู ผี่ ูใ้ หบ้ ริการโทรศัพท์ ขอ้ มูลการศึกษาอยู่ท่ีสถานศึกษา ข้อมลู การ รกั ษาพยาบาลอยู่ทีโ่ รงพยาบาล ตา่ งที่กนั
ประชาชนเรม่ิ มคี วามคุ้นชนิ กับการใช้ดจิ ทิ ัล ในการใช้งานทางดิจิทลั ออนไลน์ทางไซเบอร์ เชน่ การใช้งานกับธนาคาร มีการกำหนดชื่อบญั ชผี ู้ใช้ (User name) รหสั ผ่าน (Password) การทีธ่ นาคารยอมให้มีการโอนเงิน หรือทำธุรกรรม เพราะธนาคารมี ขอ้ มูลเรา และพสิ จู น์อัตลกั ษณ์ความเป็นตัวตนเราทางไซเบอรไ์ ด้ จงึ ใช้งานทางไซเบอรไ์ ด้ การจัดทำอตั ลกั ษณ์ ตัวตนทางดจิ ทิ ลั เพ่ือใหเ้ กดิ การยอมรับจงึ เป็นเรื่องสำคัญ ซ่ึงตอ่ ไปอาจนำอัตลักษณ์ดจิ ิทัลน้ี มาเชือ่ มโยง ยนื ยนั พสิ ูจนร์ ่วมกนั ทำให้เกิดการยอมรับรว่ มกนั จนกลายเปน็ เสมือนบัตรประชาชนทางดิจทิ ัล (National digital identification) ซึ่งเร่ืองนีท้ างภาครฐั กำลังดำเนินการอยู่ ได้รับความสนใจ มรี ูปแบบการทำหลายแบบ เช่นการ ทำเป็นโมบายไอดี ซึ่งอย่รู ะหว่างการพัฒนาเพื่อใชง้ านในอนาคต อัตลักษณ์เพื่อแสดงตวั ตนในไซเบอร์จึงมีความสำคัญอย่างย่ิง ที่ผู้ใชต้ ้องดแู ลปกป้อง เพ่ือไมใ่ ห้ มิจฉาชพี ปลอมตัวไปใช้ หรือนำไปสรา้ งความเสียหายใหก้ บั เรา ในชีวติ วิถใี หม่ ธนาคารอาจมีขนั้ ตอนเพ่ือความ ปลอดภัยเพ่มิ เติม หรอื สร้างความมั่นใจให้เราไดม้ ากขึ้นกว่าการใช้เฉพาะรหัสผา่ น หรือรหสั พิน ธนาคารอาจมี การสรา้ งความปลอดภยั ในการพสิ ูจน์ตัวตนทางดิจิทัลแบบหลายขนั้ ตอน (Multi steps) หรอื ที่เรยี กวา่ การ พสิ จู นต์ วั ตนแบบหลายปัจจัย กรณีนจี้ ะป้อนรหสั ผ่านอยา่ งเดียวไมเ่ พียงพอ จงึ จำเปน็ ต้องใชข้ ั้นตอนอนื่ เข้าช่วย เช่น การสง่ รหสั OTP (One time password) มาให้ทางโทรศพั ท์ เป็นรหัสให้ใชค้ รั้งเดียวและทำในเวลาจำกดั หรอื สรา้ งเปน็ ควิ อารโ์ ค้ดให้สแกนร่วม ดว้ ยวธิ ีนี้ แมว้ ่าผูร้ า้ ยจะไดร้ หัสผ่าน หมายเลขโทรศพั ท์ วันเกดิ และ ขอ้ มลู อืน่ ๆ ก็จะไม่สามารถดำเนนิ การต่อไดน้ อกเสยี จากว่าผรู้ า้ ยจะมีโทรศัพทข์ องผเู้ ป็นเจ้าของดว้ ย
ในการดแู ลปกปอ้ งความเปน็ ตัวตน ดว้ ยการใชร้ หัสผ่าน ในกรณีท่ใี ชง้ านรว่ มกัน เช่นมีบัญชหี ลายที่ ไม่ ควรใชร้ หัสผ่านเดยี วกนั กับบัญชีท้ังหมด คนสว่ นใหญไ่ ม่อยากสร้างรหสั ผา่ นหลาย ๆ ตัว แยกตามบัญชี เพราะ จะจดจำยาก และยง่ิ ใชร้ หัสผา่ นทีค่ าดเดายากที่ไม่ซ้ำกนั จำนวนมาก ยิ่งทำใหย้ ุ่งยาก แต่อยา่ งน้อยควรมี รหัสผ่านแยกต่างหากจากกัน เชน่ บัญชอี ีเมลและเว็บไซตใ์ ช้รหัสผ่านหนงึ่ การลอ็ กอนิ เกยี่ วกับธรุ กรรมการเงนิ บตั รเครดติ อีกรหัสผ่านหนึ่ง ยงิ่ ไมค่ วรใชร้ หัสผา่ นเดยี วกันกับการใชโ้ ปรแกรมทางสอ่ื สงั คม เช่น เฟสบุก ทวตี เตอร์ ฯลฯ เพราะจะเพม่ิ ความเสี่ยงใหม้ ากย่ิงข้นึ
3 ความปลอดภยั และดูแลปกปอ้ งตนเองในโลกดจิ ทิ ลั ในการดำเนนิ ชวี ิตวถิ ีใหม่ การแสดงตัวตนบนโลกออนไลน์เป็นสง่ิ ที่หลีกเล่ียงไมไ่ ด้ การแสดงตวั ตน หลายอยา่ งเป็นข้อมลู ทีผ่ ู้ไมห่ วังดีอาจปลอมแปลง หรือนำเอาอตั ลักษณ์ของเราไปใช้ในทางที่ผดิ หรือมี ผลกระทบกับตัวเราได้ เพราะนอกจากอัตลักษณ์ตวั ตนแลว้ ยงั มขี ้อมูลกิจกรรมทเ่ี ราทำ เช่น ข้อมูลการใชง้ าน การทอ่ งเว็บ เมื่อเขา้ ชมเว็บไซต์ การซือ้ สนิ ค้าทางอินเทอร์เนต็ บริการตา่ ง ๆ ข้อมูลการเขา้ ร่วมกิจกรรม การ ทำงานจากระยะไกล หรือการดำเนินการเกี่ยวกบั ธรุ กรรมต่าง ๆ การเสยี ภาษี เมื่อเราสัง่ ซอื้ สินคา้ การใช้จ่าย การแบง่ ปันรูปภาพ หรอื การใชส้ ่ือสงั คมตา่ ง ๆ. อาจมีข้อมูลทเ่ี กยี่ วกบั ตัวเรา ครอบครัวเรา ขอ้ มูลเหลา่ นนั้ เปน็ ขอ้ มลู เฉพาะตัวเรา ท่ที ำใหผ้ ้ไู มห่ วังดี หรอื มจิ ฉาชีพ ร้จู ักเรามากข้ึน อาจสวมรอยเป็นเรา แลว้ สร้างความ เสยี หายให้เราได้ ตัวตน หรอื อวาตาร์ บนโลกไซเบอร์ หมายถึง รหัส หรือข้อมลู ที่บอก หรอื พิสจู น์ได้ ถงึ ความสมั พนั ธ์ ทางกายภาพวา่ เป็นเรา อัตลักษณเ์ รา เช่น ชื่อล็อกอนิ รหสั ผ่าน หมายเลขรหสั ที่บอกตัวตน หมายเลขโทรศัพท์ อีเมลแอดเดรส รหสั บัตรประจำตัว บัตรเครดิต หรือแม้แต่ข้อมูลโปรไฟลท์ ่ีบอกในการใช้เครือข่ายสังคมต่าง ๆ วธิ ีปกป้องตวั ตนในโลกไซเบอรจ์ ึงมคี วามสำคัญ เพราะขณะที่เราติดตอ่ กับใครก็ตามบนโลกไซเบอร์ เราอาจไมร่ จู้ ักว่าคนท่เี ราตดิ ต่อดว้ ยเปน็ ใคร ซ่ึงวลที ่ตี ดิ ปากคอื “คณุ ต้องคิดเสมอวา่ คนที่ตดิ ตอ่ กับคณุ บนโลก ไซเบอร์อาจไม่ใช่ที่คุณคิดอยู่” อาจเปน็ การปลอมมาตดิ ตอ่ เราก็ได้ ดงั ตัวอยา่ งท่ีเหน็ จากการปลอมอีเมลมา ตดิ ตอ่ เรา หรอื ทีเ่ ราเคยพบจากอีเมลบ่อย ๆ ซ่ึงทำให้หลงผิดได้ ความเสย่ี งอาจเกิดข้ึน หากมีผไู้ ม่หวงั ดี รู้และ ปลอมตวั ตนเปน็ เรา หรอื เขา้ มาใช้แทนเราในการทำกจิ กรรมทีเ่ ราต้องรับผิดชอบ เช่นปลอมตวั เป็นเราเพ่ือ ติดต่อกับญาตหิ รือคนร้จู กั เพื่อหลอกลวง รหสั ผ่าน หรอื pin code หรือรหัสท่ียอมให้เราเข้าใช้งานบนโลกไซเบอร์ เชน่ เปดิ อเี มล ซือ้ ขาย ของ โอนเงนิ ต้องดูแลรักษาใหด้ ี รหัสผ่าน คอื รหัสเฉพาะตัว เปน็ สายอักขระ หรือ คำทเี่ ป็นความลบั ท่ีร้กู นั เฉพาะ ใช้สำหรบั ยนื ยันตัว พสิ จู นค์ วามเป็นเจ้าของ หรือสทิ ธิ์ เพ่ือเขา้ ถึงแหล่งขอ้ มูล รหสั ผ่านทดี่ ีตอ้ งเป็นความลับ เฉพาะตัว ปกป้องไมใ่ หค้ นอื่นเข้าถงึ ได้ หรอื นำไปใช้ได้ รหสั ผ่านเปน็ รหสั เฉพาะบุคคล เหมอื นการแสดงอตั ลักษณ์ที่จะบอกวา่ เราคือใครในโลกไซเบอร์ รหัสผา่ นอาจจะเป็นคำทส่ี รา้ งขนึ้ มาให้รู้เฉพาะ ไม่จำเป็นต้องเป็นคำที่มีอยู่จรงิ ในพจนานุกรม รหสั ผา่ นท่ดี ี จงึ ตอ้ งยากตอ่ การเดา รหสั ผา่ นอาจจะเปน็ การนำคำหลายคำมารวมกนั สว่ นคำว่า พาสโคด้ (Passcode) ใช้กับ ข้อมลู ลบั ท่เี ป็นตวั เลขลว้ น อยา่ งเชน่ รหสั ลับบคุ คล (PIN) ท่ีใช้ในการเข้าถงึ เอทีเอ็ม เข้าถึงการใช้สมาร์ทโฟน รหัสพาสโค้ดโดยท่ัวไป มักจะตัง้ ขนึ้ ให้ส้นั เพียงพอทีง่ ่ายตอ่ การจำและพมิ พ์ แต่ก็ต้องมคี วามปลอดภัยพอท่ผี ูอ้ น่ื จะทำการถอดหรอื คาดเดาได้
รหัสผา่ นเปน็ รหสั เฉพาะบคุ คล เหมอื นการแสดงอัตลกั ษณท์ จี่ ะบอกว่าเราคือใครในโลกไซเบอร์ การตังรหัสผา่ นทีด่ ี ควรมีหลกั การ ดงั น้ี ควรมีความยาวไม่น้อยกว่า 8 ตวั อักษร และตัวอักษรต้อง ประกอบด้วยอักขระดงั ต่อไปนี้ มีตวั อักษร (a-z, A-Z) ตัวเลข (0-9) เคร่ืองหมายหรืออกั ขระพเิ ศษ (!@#$%^&*()+|~-=\\’{}[]:”;’<>?./) ผสมรวมกัน ไมค่ วรต้งั รหสั ผา่ น ด้วยขอ้ มลู ระบตุ ัวตนทร่ี ้กู ันได้ เชน่ ช่อื นามสกุล เลขบัตรประจำตัว หรือวนั เดือนปี เกิด ข้อมลู ตดิ ต่อ เบอรโ์ ทรศัพท์ ชอื่ บุคคลรอบขา้ ง ชื่อแฟน ชอ่ื เพ่อื น หรือสตั ว์เลยี้ ง คำในพจนานกุ รม คำที่มี การสะกดจากหลังไปหน้า อย่างเช่น password -> drowssap, admin -> nimda, root -> toor ใชร้ ปู แบบ ตัวอกั ษรหรือตวั เลขทเี่ ป็นทีน่ ิยม เช่น aaabbb, qwerty, 12345 หรือรปู แบบการตั้งรหสั ผา่ นท่ีคล้ายคลึงกัน ในแตล่ ะบญั ชี อย่างเช่น kaset1, kaset2, 1kaset, kaset?, kaset! เปน็ ตน้ ข้อควรปฏบิ ัติเพิ่มเติมในกรณีทีต่ อ้ งใช้หลายแอบปลเิ คชัน หลายงาน ท่ีแตล่ ะงานต้องใชร้ หสั ผา่ น ใหใ้ ช้ รหสั ผ่านแยกกนั ไม่เหมือนกัน หากเป็นคนละบัญชีผูใ้ ช้งาน โดยเฉพาะรหัสผ่านท่ีใชเ้ ขา้ ถึงข้อมูลสำคญั หาก กลัวว่าจำยากอาจจะใช้วิธีตั้งรหัสผา่ นเปน็ พวกเดียวกนั แตเ่ ปลยี่ นตวั เลขทตี่ ามหลังเพอ่ื แยกความแตกต่าง อยา่ เลอื กจัดเกบ็ รหสั ผา่ นอัตโนมตั ิบนเครื่อง (Remember Password) ถา้ เครือ่ งน้ันมผี อู้ ่นื ใช้ร่วมดว้ ย ต้องไมบ่ อก รหสั ผ่านใหผ้ อู้ ื่น ไมค่ วรทำการจดรหัสผา่ น ลงบนโพสอทิ หรอื กระดาษ ติดไวก้ บั เคร่อื ง หรอื ลงในไฟลเ์ ก็บไว้ใน เครอ่ื ง ถ้าจำเปน็ อาจเกบ็ เปน็ เอกสารไวท้ ่ีปลอดภยั ตอ้ งเปลย่ี นรหัสผา่ นทุก ๆ ประมาณ 3 เดอื น เพื่อลดโอกาส ทีใ่ ครจะมาถอดรหสั การพมิ พ์รหัสผา่ นเป็นภาษาไทย แต่ใช้แป้นพิมพ์ภาษาอังกฤษ เปน็ อีกแนวทางหน่ึงทีใ่ หจ้ ำ ได้ง่ายข้ึน
บนโซเซียลมีเดียมักเปน็ จุดอ่อน เพราะมโี ปรไฟล์ตัวเองเปิดเผย เชน่ โปรไฟล์ในเฟสบกุ ท่ีมคี นเหน็ ได้ ดังน้นั บางคนจึงไม่ให้ข้อมูลอะไรมากนกั บนโปรไฟล นอกจากน้ี เว็บไซตส์ ่วนใหญม่ ีการใช้คกุ ก้ี (โปรแกรมทฝี่ ัง อย่บู นเว็บไซต์โหลดมาทบ่ี ราวเซอร์) ในการเกบ็ ข้อมูลผเู้ ยี่ยมชม ซ่ึงข้อมูลท่ีเก็บ อาจมีข้อมลู สว่ นตวั เพอื่ รจู้ กั กบั ผู้ใช้ ข้อมูลดังกล่าวจะช่วยให้เวบ็ ไซต์น้นั สามารถใหบ้ ริการในครงั้ ต่อไปได้ตรงตามความต้องการของผ้ใู ช้ นอกจากนีก้ ารใช้โปรแกรมค้นหา (Search engine) อาจมีการใชค้ ุกก้เี พื่อเก็บข้อมูลของผ้ใู ชว้ า่ คน้ หาคำอะไร เคยทำอะไรบ้าง หรอื แมแ้ ต่การใช้โซเซยี ลมีเดยี กม็ ีการใชค้ ุกก้ี โปรแกรมเหลา่ นน้ั เก็บและวิเคราะห์การใชง้ าน ของผใู้ ช้ ดคู วามชอบ รสนิยม หรือพฤตกิ รรมการใช้งาน เราจงึ ควรศึกษานโยบายของโปรแกรมต่าง ๆ ในเร่ือง นโยบายคุ้มครองความเปน็ ส่วนตวั ท่ีกำหนดโดยโปรแกรมดังกล่าวด้วย จะไดร้ ูว้ ่า โปรแกรมเหลา่ นเ้ี กบ็ ข้อมูล ส่วนตวั อะไรเราบ้าง และเอาไปใชท้ ำอะไร เราจะมคี วามเสย่ี งหรือไม่ ถ้าข้อมูลรว่ั ไหล ดังนั้นต้องระลกึ เสมอวา่ การเยี่ยมชมเวบ็ ไซต์ การใช้โซเซยี ลในการกดไลก์ กดแชร์ หรอื โพสข้อความ เพยี งช่วั ครอู่ าจเปน็ การให้ข้อมลู ส่วนตัวในทกุ รูปแบบได้ ตง้ั แตต่ ำแหนง่ ที่อยู่ และเวลาการใช้งาน อายุ ความ นยิ ม ไปจนถึงงาน ชั่วโมงการทำงาน การเดินทาง การพบปะผคู้ น หรอื แมก้ ระท่งั ชว่ งเวลาพักร้อน การไม่อยู่ บา้ น ซึง่ เปน็ การเปิดทางให้กับการโจรกรรมทบี่ ้านได้ การใชโ้ ซเซียล หรือการออนไลนต์ ่าง ๆ เชน่ ใช้ เฟสบกุ อินสตราแกรม ทวีตเตอร์ หรืออ่ืน ๆ ตอ้ ง เรียนรู้และทำความเข้าใจเกยี่ วกับการตั้งค่าความเป็นสว่ นตัวของข้อมูลท้ังหมดในบัญชี และต้ังคา่ บัญชขี องเรา ให้เป็นส่วนตวั แคไ่ หน ใครเข้าถงึ ได้ ต้องตรวจสอบให้แน่ใจว่าไม่ไดเ้ ปดิ เผยข้อมลู สว่ นตวั มากจนเกินไป เพราะ อาจมีใครท่มี ุ่งมน่ั หาข้อมูลเพ่ือประสงคร์ า้ ยได้ ชีวติ วิถีใหมม่ ีการซ้ือขายของออนไลน์จนเปน็ กิจประจำวัน มักมีการใหข้ ้อมูลสว่ นตัวในทกุ ครง้ั เพราะ เป็นข้อมูลทจ่ี ำเป็น การบันทึกรายละเอียดบตั รเครดติ ทางออนไลน์ ตอ้ งระลึกและระมดั ระวงั ตอ้ งเช่ือม่ันใน เว็บน้นั วา่ เป็นเวบ็ ทเี่ ราไวใ้ จ และสงั เกตช่อื ยูอารแ์ อลทกุ ครั้งว่ามีอะไรผดิ ปกติจากทเ่ี คยใช้ มีตัวอักษรบางตัวผิด ไป และกอ่ นการกรอกขอ้ มลู ต้องทำบนระดับชน้ั ความปลอดภยั https:// เสมอ ส่ิงทอ่ี าชญากรตอ้ งการกค็ ือ อีเมลและรหัสผา่ นเพือ่ ท่จี ะได้นำไปใชท้ ำธรุ กรรมทางการเงิน หากบันทกึ รายละเอียดรหัสไว้ในบราวเซอร์ ใครก็ ตามทีส่ ามารถเขา้ ถงึ โปรไฟลบ์ ราวเซอรข์ องเราได้ กจ็ ะสามารถเขา้ ถึงรายละเอยี ดเหลา่ น้ันได้เชน่ กัน ข้อควรระวงั อีกเรอ่ื งคอื ไวรสั คอมพิวเตอร์ โทรจนั และแรนซมั แวร์ การดาวนโ์ หลดขอ้ มูล เชน่ ภาพ คลปิ ข้อความ อาจมสี ง่ิ ทีแ่ นบมาโดยไมร่ ู้ มิจฉาชีพจะฝังโปรแกรมที่ออกแบบมาเพือ่ การโจรกรรม จึงทำให้แรน ซัมแวรห์ รอื มัลแวรเ์ ข้าคกุ คามคอมพิวเตอร์ได้ เช่นเข้ามาลว้ งขอ้ มูล ทำลายข้อมลู เข้ารหสั ข้อมลู แรนซัมแวร์ บางตวั เขา้ มาขโมยหรอื จัดการกบั ข้อมูลของเรา เพ่ือเรียกค่าไถ่ จงึ ต้องระมัดระวัง เราต้องหมั่นทำสำเนาขอ้ มูล เก็บไวด้ ว้ ย
ภยั คกุ คามอีกเรอื่ งทใ่ี ชโ้ จรกรรมข้อมูล และรหสั ผ่าน ด้วยการปลอมหนา้ เว็บ หรือท่เี รยี กวา่ ฟิสซิ่ง (Phishing) หรือส่งอีเมลมาหลอกใหต้ ดิ ต่อกลับ ฟชิ ชิ่ง เป็นการหลอกลวง เช่นทำหน้าเว็บเหมือนธนาคาร หรือ แหล่งเปา้ หมายทเี่ ราตดิ ตอ่ แลว้ แจ้งวา่ เรามปี ญั หาให้เปลี่ยนรหัสผา่ น หรือ หลอกให้ทำธุรกรรมการเงนิ ซ่ึง ขอ้ มลู ที่กรอกทุกตวั ซึ่งอาจมีขอ้ มูลรหสั ผา่ น จะถูกส่งไปให้มิจฉาชพี โดยทั่วไปแล้วจะเป็นการพยายามล่อลวง เพอ่ื ขอหมายเลขบัญชธี นาคารหรือรายละเอียดการเข้าส่รู ะบบ หรือตวั อยา่ งที่พบเห็นท่วั ไป ท่ีมเี ศรษฐี อยาก โอนมรดก หรอื หลอกวา่ ไดร้ บั รางวลั เพือ่ ต้องการโอนเงินให้ แม้เร่ืองดังกลา่ วจะรู้กันดี แต่การหลอกลวงก็ยัง พบเห็นบอ่ ยมาก พึงระวังวา่ เมื่ออาชญากรไซเบอร์ได้ขอ้ มลู เฉพาะตัว ข้อมลู ส่วนบุคคล รหสั ผ่านแล้ว นอกเหนือจากการ ทน่ี ำขอ้ มลู ไปขาย หรือขู่เรยี กคา่ ไถ่แลว้ อาจนำไปใช้อย่างไม่ถกู ต้อง ผิดกฎหมาย หรือนำไปใช้เพ่ือคุกคาม แบล็คเมล มจิ ฉาชีพบนโลกออนไลนย์ ังสามารถนำไปซือ้ สนิ ค้าออนไลนโ์ ดยใช้หมายเลขบัตรเครดติ ดำเนนิ การ โอนเงนิ หรือขโมยเงนิ ในบัญชี บางครงั้ นำข้อมูลไปตดิ ต่อกับญาตพิ ่นี ้อง คนร้จู กั เพ่ือหลอกเงิน มิจฉาชพี บาง รายอาจเขา้ ยดึ บัญชี ทำให้เราเขา้ ระบบไม่ได้ แลว้ เปน็ ตัวตนเรา ทำในส่งิ ผิดกฎหมาย
4 ความฉลาดทางอารมณ์และความสามารถส่ือสารดิจิทัล คนรนุ่ ใหมเ่ กิดมาในสภาพท่มี ีสิ่งแวดล้อมทางดจิ ิทลั (Digital ecology system) อย่รู อบตวั มขี องใช้ ทางดิจทิ ัลให้เหน็ ต้ังแตข่ องเล่น วิดีโอเกม เกมออนไลน์ สมารท์ โฟน แท็บเล็ต คอมพิวเตอร์โน้ตบกุ ฯลฯ ค้นุ เคย กบั การใช้อินเทอรเ์ น็ต ส่ือสารข้อมลู ในหลากหลายรูปแบบ ทัง้ ข้อความ ภาพ คลิปวดิ ีโอ ใชส้ ่ือสงั คมแบบใหม่ ๆ มกี ารใช้ในวิถีชีวติ ปกติใหม่ เช่นการออนไลน์ต่าง ๆ การใช้เงิน ใช้เรยี นออนไลน์ ใชส้ ่งั สนิ ค้า และอ่นื ๆ อกี มาก สมารท์ โฟนเป็นส่วนหน่งึ ของชีวติ วถิ ีใหม่ เม่อื ส่ิงแวดลอ้ มทางดิจทิ ลั ทำให้ส่อื สาร ได้รวดเร็ว อสิ ระ ไร้พรมแดน โดยไม่ต้องเหน็ หนา้ อีกฝ่าย มี ชวี ิตโลดแล่นในโลกไซเบอร์ การใชค้ อมพิวเตอร์ทำงานหลายอย่าง หลายวนิ โดว์ อัพโหลด และดาวนโ์ หลด ขอ้ มูล อยู่กบั สอ่ื และขอ้ มูลจำนวนมาก อทิ ธิพลของส่งิ เหลา่ น้ี ทำให้คนร่นุ ใหม่ทำกิจกรรมหลายอยา่ งได้ในเวลา เดยี วกัน เช่น ทำการบ้าน ฟังเพลง เปิดหลายวนิ โดว์ ใช้เฟสบุกในเวลาเดยี วกัน การทำงานจงึ คอ่ นขา้ งเร็ว เปลี่ยนหนา้ จอไปมา ไมช่ อบทำอะไรท่ีใช้เวลานาน เช่นดคู ลิปที่ยาวเกินไป ส่งิ เหลา่ นสี้ ง่ ผลตอ่ พฤติกรรมใหม้ ี ความอดทนตอ่ การรอคอยตำ่ การส่อื สารด้วยเทคโนโลยีสมัยใหมม่ กี ารสื่ออารมณ์ดว้ ยรปู แบบวธิ ีเฉพาะ มกี าร
สร้างคำ สร้างภาษา หรือหาวิธกี ารเลยี นเสียง เชน่ 555 ส่งรปู ภาพหรือสติกเกอรส์ ื่ออารมณ์แบบต่าง ๆ การใช้ ชีวติ ของคนรุน่ ใหม่ จงึ มีลกั ษณะท่ีแตกต่างจากคนรุ่นก่อน ๆ มาก การใช้สัญลกั ษณส์ ือ่ สารเพ่อื สื่ออารมณ์ ส่งิ ทีเ่ หน็ ชดั วา่ มที กั ษะใหม่ ๆ ทางดา้ นดิจทิ ัลเกิดขนึ้ มาก คนรนุ่ ใหม่เรียนรไู้ ดเ้ อง สว่ นใหญไ่ ด้รับจาก การใช้ และประสบการณ์มาจากการเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง ได้ลงมอื ทำ แต่ความสำคัญของการพัฒนาเดก็ และ เยาวชนตอ้ งปลกู ฝังในสิง่ ถกู ทักษะเหลา่ นต้ี ้องไดร้ ับการปลูกฝงั เรยี นรู้และฝึกฝนในแนวทางท่ดี ี เพือ่ ว่าเมื่อ เติบโตมาจะมีความฉลาดทางดิจทิ ลั เป็นพลเมืองดจิ ทิ ลั ที่มีคุณภาพของประเทศชาติ โดยพ้นื ฐานของ DQ ความฉลาดทางดา้ นอารมณ์บนโลกดจิ ิทลั เปน็ เร่อื งหนึง่ ท่สี ำคัญ เป็นทกั ษะความสามารถ ในการรบั รูส้ อ่ื ทางอารมณ์ในการโตต้ อบระหว่างบุคคลในรปู แบบดิจิทัล ใหเ้ กยี รติ และเคารพผอู้ นื่ มีทักษะ ความสามารถในการสื่อสารและทำงานรว่ มกับผ้อู ่ืน เคารพชอ่ื เสียงและความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งกัน ความฉลาดทางอารมณ์จึงเป็นความสามารถในการรบั ร้ถู ึงอารมณค์ วามร้สู ึกท่สี ง่ ผา่ นการตอบสนองบน แพลตฟอร์มดิจิทลั สามารถส่งผลต่อพฤตกิ รรม ความคิด จินตนาการ หรือแม้แต่การสร้างสรรค์ ริเร่ิม การตัดสนิ ใจ อารมณ์ของมนุษย์ มคี วามละเอียดอ่อน ไม่ใชเ่ คร่ืองจกั รที่ทำงานภายใต้กลไก อารมณ์ของมนษุ ย์ที่ ถา่ ยทอดผา่ นแพลตฟอรม์ และเทคโนโลยีดิจิทลั เชน่ การพูดผา่ นโทรศพั ท์ การสง่ ข้อความบนไลน์ การโพสบน เฟสบุก การเขียนอีเมล ข้อความ ไปจนถงึ การส่งอีโมทคิ อน (Emoticon) และอโี มจิ (Emoji) สติกเกอร์ ล้วน แลว้ แตส่ ่ืออารมณ์ ลองนึกดวู ่า ถา้ เราโพสคำด่า เชน่ “ไอบ้ ้า” ออกไป จะมีคนอา่ นอกี จำนวนมาก ไม่ร้วู า่ เป็น ใคร พวกเขาจะรบั ความรู้สึกนี้อย่างไร
การสอนเด็กตง้ั แตย่ ังเยาว์วัย ตามสภาพการใชเ้ ทคโนโลยี ทั้งทบี่ า้ นและโรงเรยี น จึงมีความสำคญั เพือ่ ใหร้ ับมอื หรือเข้าใจและประมวลผลอารมณ์ความรสู้ ึก การถ่ายทอดอารมณม์ ีการใช้ทเี่ พ่มิ ขึน้ อยา่ งต่อเนื่อง ตามการพฒั นาเทคโนโลยี การเตรียมพร้อมทางดา้ นจิตใจจึงกลายเป็นเร่ืองท่สี ำคญั ทกั ษะความฉลาดทางอารมณ์ทางดจิ ิทัล ช่วยทำให้มีความสามารถเข้าสงั คมไซเบอร์ ทำกิจกรรมบนโลก ออนไลน์ ดว้ ยการเอาใจใส่ และเขา้ ใจความรู้สึกของคนอ่นื มีนำ้ ใจและความรู้สึกเห็นใจ ช่วยเหลอื และสรา้ ง สัมพนั ธท์ ี่ดกี บั บุคคลอนื่ ๆ เพื่อเข้าสงั คมไซเบอร์อยา่ งมีความสขุ ทักษะความฉลาดทางอารมณ์เชอ่ื มโยงกบั ทักษะการสี่อสารทางดจิ ิทลั (Digital Communication) เพราะเป็นความสามารถของการสอื่ สาร พูดคุย สง่ ขา่ วสารบนโลกออนไลน์ มปี ฏิสัมพันธ์ ร่วมกันทำกิจกรรม ตา่ ง ๆกบั ผอู้ นื่ โดยใช้เทคโนโลยี ใช้เครอื ข่ายสงั คมและส่ือดิจิทัลร่วมกับผ้อู ่ืนบนโลกออนไลน์ โดยรบั ผิดชอบ และตระหนักถงึ ผลกระทบจากการกระทำ การโพสข้อความ รปู ภาพ หรือคลปิ ออกไป จะมีผู้รับความรสู้ กึ นนั้ ดงั นัน้ ต้องเขา้ ใจความรสู้ กึ ของผู้พบเห็นส่ือเหล่านั้นดว้ ย และยังมีความสามารถ สืบคน้ และตดิ ตามส่ือ ใช้ส่อื เพื่อประโยชนต์ ่อการเรยี นรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในการใชง้ านบนสื่อสังคมมีข่าวสารจำนวนมาก เผยแพร่มาจากผ้คู นมากหน้า หลายระดับ อาจมี จุดประสงคแ์ อบแฝง การโนม้ นา้ วความคดิ ข้อมูลที่ได้รบั ทางออนไลน์ทีเ่ ผยแพร่กนั มาต่อ ๆ ควรต้งั ขอ้ สงสัย และตรวจดูความน่าเช่ือถือ ข้อมลู บนอินเทอรเ์ น็ตมีมาก ตอ้ งรู้วา่ เนือ้ หาอะไร เป็นสาระ มีประโยชน์ สามารถ วิเคราะหแ์ ละประมวลข้อมูลจากแหลง่ ข้อมลู ที่มาจากหลากหลายที่ โดยเม่ือใชส้ อื่ ออนไลนป์ ระเภททีม่ ีการป้อน ข่าว (Feed) ส่วนใหญจ่ ะมีเอไอ ท่ีคอยวเิ คราะหพ์ ฤติกรรมผู้ใช้ วา่ ชอบอ่านเรื่องอะไร กดไลก์ แชร์เรอ่ื งอะไร หรอื วิเคราะห์ทัศนคติ ความชอบ และจะปอ้ นข้อมูลประเภทน้นั มาให้ จนทำใหเ้ สพตดิ การบรโิ ภคส่อื ได้
5 ความฉลาดรู้ดจิ ิทลั ชีวิตวถิ ีใหมเ่ ปน็ ชวี ติ ท่สี ่วนหนง่ึ อยู่บนโลกไซเบอร์ ผู้คนเริ่มมีความคนุ้ ชินกบั กิจกรรมบนโลกออนไลน์ รฐั บาลเปดิ ให้หน่วยงานภาครฐั บริการแบบดิจทิ ลั มากขน้ึ มีโครงการใหมข่ องรัฐท่ีใชร้ ูปแบบออนไลน์ เช่น การ ลงทะเบยี นสิทธติ า่ ง ๆ การบริการ การโอนเงนิ ช่วยเหลือ การสง่ เสริมใหม้ กี ารซ้ือขายดว้ ยเงนิ ดิจิทัล สง่ เสรมิ ให้ ประชาชนคุน้ ชินกับการใช้ดิจิทัล นอกจากความฉลาดทางดิจิทัลทมี่ คี วามหมายถึงการมีทักษะความสามารถใน การใช้ดจิ ิทัลแล้ว ยังรวมถึงการใช้เทคโนโลยีที่รคู้ ุณคา่ การค้นหาขอ้ มลู ข่าวสาร การอา่ น การประเมินผล สังเคราะห์ สรา้ งสรรคแ์ ละแบ่งปันข้อมูล สอ่ื และเทคโนโลยีที่เก่ยี วกับดิจทิ ลั จากที่กล่าวถึงคำว่า คลาวด์ (Cloud) มาแล้ว คลาวดเ์ ปรียบเสมอื นโลกอนิ เทอรเ์ น็ตทม่ี ีข้อมลู ข่าวสารอยู่เปน็ จำนวนมาก หากจะแปลตรงตัว คงได้คำว่า “กลมุ่ เมฆข้อมลู ”เป็นทเ่ี ก็บและประมวลผลข้อมลู การใช้งานคำนี้ หมายถงึ ข้อมลู สารสนเทศ และความรู้ ที่อยูใ่ นโลกไซเบอร์ เข้าถึงได้จากทกุ ที่ ทกุ เวลา เสมอื นลอ่ งลอยอยู่ รอบ ๆตัวเรา คลาวด์ ยังมีความหมายรวมไปถึงกระบวนการ หรือการทำงาน การประมวลผลบนไซเบอร์ ท่ีทำให้ เกดิ การใหบ้ ริการทเ่ี รยี กใชอ้ อนไลน์ได้จากทกุ ที่ ทกุ เวลา การโอนย้าย แลกเปลยี่ นข้อมูลระหวา่ งกัน การสรา้ ง กจิ กรรมบริการต่าง ๆร่วมกันไดอ้ ีกด้วย ความจำเปน็ ของการใช้คลาวด์ หรือกลมุ่ เมฆหมอกแห่งข้อมูล ขา่ วสาร ความรู้ เพราะข้อมูล ขา่ วสาร ความรู้มมี ากมาย ยากทีจ่ ะเก็บไวท้ ี่คอมพวิ เตอรท์ ่เี ราใชง้ านได้ หากเก็บไว้ในคลาวดจ์ ะสามารถเรยี กใช้ได้ทุก เวลา ทุกสถานที่ ทต่ี ่อเข้าอินเทอร์เน็ตได้ และยังใชอ้ ุปกรณ์อะไรทเี่ รามีอยู่ได้ เช่น สมารท์ โฟน แท็บเล็ต โน้ต บุก หรอื คอมพิวเตอร์ที่เชอ่ื มต่ออนิ เทอรเ์ นต็ การเกบ็ ในคลาวด์จงึ สร้างประโยชนต์ ่อการใช้งานไดม้ ากกวา่ เมฆ หมอกแห่งความรจู้ งึ มีบทบาทท่ีสำคัญต่อการใช้งาน คลาวดจ์ ึงเป็นขมุ ความรู้ท่ีย่ิงใหญ่ เช่น วกิ ิพีเดยี สารานุกรมออนไลน์ทม่ี เี น้ือหาเกือบทกุ ภาษารวมกัน กว่ายสี่ ิบลา้ นเร่ือง เปน็ แหลง่ ความรใู้ หญ่ทเ่ี ติบโตอยา่ งต่อเนื่องตลอดเวลา เปน็ แหล่งความรู้ท่ีลอยอยู่ใหเ้ รียกใช้ ไดท้ ุกท่ที ุกเวลา ปจั จบุ นั สงั คมกา้ วสู่สงั คมออนไลน์ มีการดำเนินกิจกรรมบนโลกออนไลนม์ ากขนึ้ การประยกุ ตต์ า่ ง ๆ ทำอยบู่ นเครือขา่ ย ข้อมลู ขา่ วสารอย่ใู นเครือขา่ ย เพ่อื เรียกใช้ในภายหลังได้ เพ่ือให้เข้าใจวิธกี ารใชง้ าน ลองดู ตัวอยา่ งการเรยี นรู้แบบใหม่ เช่น การใชร้ ะบบการคน้ หา เพื่อหาแหลง่ ความรู้ท่อี ยู่ในเมฆหมอกแหง่ ความรู้
นักเรียนรุ่นใหม่รจู้ กั เคร่ืองมอื ทใี่ ชใ้ นการเรียนร้ไู ด้ดี เม่อื ชีวิตอยรู่ ่วมกับข้อมูลข่าวสารและความรูท้ เ่ี ก็บในรปู ดิจิทัลท่ีอยู่ในอินเทอร์เน็ต รวมกันเสมือนเปน็ กลุ่มเมฆแหง่ ข้อมลู ข่าวสารความรู้ การอยู่รว่ มกนั ของผูค้ นกับดิจทิ ัลจงึ ต้องมีการเขียนและการอ่านดจิ ิทลั ยิ่งใน ปจั จบุ นั เทคโนโลยกี ้าวหนา้ มากขึ้น ผใู้ ชเ้ ปน็ ท้ังผู้อ่านและผเู้ ขยี นขอ้ มูลบนอินเทอร์เน็ตได้ ดังตวั อยา่ งนวตั กรรม เครือข่ายสังคม เช่นเฟสบกุ มีผู้คนเขา้ ไปใช้ สรา้ งกลุม่ สังคมต่าง ๆ มากมาย ทุกคนเปน็ ทงั้ ผู้อา่ นและเขียน ข้อมลู ดจิ ิทัล ขนาดของข้อมูลที่เพ่มิ ข้นึ ในแตล่ ะวนั มจี ำนวนมากมายมหาศาล และมีขนาดเพ่ิมขึ้นอย่างมากใน อนาคต ชีวิตวถิ ใี หม่อยูก่ บั การใชด้ จิ ิทัลในการทำกิจกรรมตา่ ง ๆ
การพัฒนาทักษะทจ่ี ำเปน็ สำหรบั การดำเนนิ ชีวติ ในเรอ่ื งแรกคอื ทักษะการแก้ปัญหา การคิดอยา่ งเปน็ ระบบ เพื่อใชเ้ ทคโนโลยชี ่วยแกป้ ญั หา ทกั ษะน้เี น้นความสามารถแสวงหาความรู้ นำความรมู้ าใชใ้ หเ้ กิด ประโยชน์ และวางลำดับการคดิ เพ่ือแก้ปญั หาต่าง ๆ มีความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ปัญหาตา่ ง ๆ ไม่วา่ จะ เป็นสาเหตหุ รือผลกระทบท่ีอาจเกิดขึ้น และนำไปสู่การคิดแกป้ ัญหาอย่างเปน็ ระบบและเหมาะสม ซึ่งเหน็ ได้ชดั วา่ มีนวตั กรรมใหมๆ่ เช่นการใชค้ อมพวิ เตอร์ และอุปกรณ์ที่สมารท์ ชว่ ยในการแก้ปญั หาใหม้ นษุ ย์ เพื่ออำนวย ความสะดวกต่าง ๆ ทกั ษะทีส่ อง คือความคิดสรา้ งสรรค์ คอื ความสามารถในการคิดหรือออกแบบสร้างสรรคส์ ่ิงใหม่ ๆ ท่ีมี ประสิทธิภาพ มีประโยชน์ หรือคมุ้ ค่ากว่าของเดมิ ท่ีมีอยู่ รวมไปถึงการต่อยอดแนวคิด เดิม ๆ สสู่ ง่ิ ใหม่ โดยการ ท่ที ำใหเ้ กดิ การเรยี นรู้ ด้วยการนำเอาความรู้มาสรา้ งสรรค์ คดิ และทำต่อได้ด้วยตนเอง ความคดิ สรา้ งสรรค์ ทำ ใหเ้ กดิ การพฒั นาและสรา้ งนวัตกรรมให้เกิดข้นึ ความฉลาดรดู้ จิ ทิ ลั จึงรวมถึง การเห็นคุณคา่ ของเทคโนโลยีดจิ ิทลั เห็นความสำคัญของการใช้ เทคโนโลยี เรยี นรูแ้ ละเขา้ ใจเทคโนโลยอี ย่างสรา้ งสรรค์ และรู้ทนั เทคโนโลยี ประยุกต์ใชเ้ ทคโนโลยีได้อยา่ ง เหมาะสม สามารถดำเนนิ ชีวติ ร่วมกบั เทคโนโลยีอย่างมีความสขุ ตอ้ งเข้าใจว่า เทคโนโลยีมสี ว่ นช่วยให้เกิดการ เรียนรไู้ ดม้ าก และเร็ว ต้นทุนต่ำ สามารถประยุกต์ใช้ประโยชน์ตอ่ การเรยี นรไู้ ดใ้ นทุกระดับ ตัง้ แต่การเรียนรู้ ระดบั บุคคล ระดบั กลุ่ม การแลกเปล่ียนเรียนรู้ หรือการเรียนรรู้ ว่ มกัน ความฉลาดทางดิจิทลั ยังเก่ียวโยงกบั การทำงานทใ่ี ชด้ ิจิทัล การเข้าใจชีวติ ในโลกยคุ วิถีใหม่ท่ตี ้องพึ่งพา ดจิ ิทลั เขา้ ใจวา่ ดิจิทัลเกี่ยวข้องกับชีวติ ความเปน็ อยู่อย่างไร ตอ้ งใช้ชวี ติ อยา่ งมคี า่ สามารถอยู่รว่ มกับผอู้ ื่นใน สงั คมดจิ ิทัล ในไซเบอรไ์ ด้อย่างมคี วามสุข สามารถปฏบิ ัติตวั ได้เหมาะสม มีกาลเทศะ มีคุณธรรม มจี รยิ ธรรม สามารถยอมรับในความแตกตา่ งของผอู้ นื่ ได้ ซง่ึ เร่ืองน้เี ปน็ เรือ่ งจำเป็นที่จะลดความขัดแย้งท่เี กดิ ขึ้นในประเทศ ได้มาก กจิ กรรมสำหรับชวี ิตวิถใี หม่ ทุกคนเป็นทั้งผสู้ รา้ งสอื่ และบริโภคส่อื ใช้ส่อื ขอ้ มูล ข่าวสาร ทำงานผา่ น อุปกรณ์ดิจทิ ลั ลองนึกดวู ่า การเขียนข้อความ บางขอ้ ความ หรือเขียนโจมตี ใหร้ า้ ย ว่ากลา่ ว จะกระจาย ออกไปไดม้ าก มีผรู้ ับได้เป็นจำนวนมาก อาจมีผลกระทบที่รุนแรงได้ และอาจต้องรับผิดชอบกับผลการกระทำ ดงั นั้นการใชช้ ีวติ วิถใี หม่ บนโลกไซเบอร์ จำเปน็ ตอ้ งทราบสิทธิ เสรภี าพ และความรบั ผดิ ชอบ เช่นเดยี วกบั บน โลกกายภาพ โดยเฉพาะเมอื่ ใชส้ ทิ ธบิ นส่ือสาธารณะ เชน่ การโพสคำใหร้ า้ ยเพยี งคำเดียว บางครง้ั อาจกระทบถึง ประซากร สังคมในระดับตา่ ง ๆ ไมว่ า่ จะเป็นระดับชุมซน ระดับประเทศ ระดับ โลก สทิ ธใิ นการกระทำ การแสดงออกในการส่อื สาร หรือเสรภี าพในการนำเสนอ ต้องมาพร้อมกับความ รับผิดชอบ ซ่ึงรวมถึงความรบั ผิดชอบต่อตนเอง และความรับผดิ ชอบต่อสงั คม การกระทำตอ้ งไมเ่ ข้าขา่ ยละเมดิ สิทธผิ อู้ นื่ หม่ินประมาท หรอื กระทำผิดกฎหมาย และต้องมีความรบั ผดิ ชอบ เม่ือกระทำในพน้ื ที่ไซเบอร์บน โลกทเี่ ปิดแบบสาธารณะ การกระทำการสร้างสือ่ และเผยแพรส่ อื่ ต้องไม่ให้ผิดกฎหมาย การใช้สทิ ธิ เสรีภาพอย่างถกู ต้อง พรอ้ มรบั ผดิ ชอบ จะทำให้การ อยู่รว่ มกันในสังคมมีความสงบสขุ การกระทำที่ไม่ขดั ต่อกฎหมาย คำนึงถึง
คุณธรรม จรยิ ธรรม ศลี ธรรม อันดีงามของสงั คม ถอื เป็นพืน้ ฐานที่ทกุ คนพึงต้องทราบ เพื่อจะอยู่ในโลกไซเบอร์ ที่มีการเชื่อมโยงผู้คนจากทกุ ประเทศใหร้ บั รขู้ ่าวสารรว่ มกนั อยา่ งมีความสุข ปัญหาสว่ นใหญจ่ ึงเกิดขึ้นท้ังจากการสง่ สื่อ การสรา้ งสอื่ ทีไ่ ด้จากการใช้เทคโนโลยีสมยั ใหม่ มีการนำมา หรอื คดั ลอกมาจากอินเทอรเ์ น็ต การคัดลอก การตกแตง่ เปลีย่ นแปลงภาพ เพื่อนำมาประกอบการนำเสนอ ซึง่ อาจจะเปน็ การละเมดิ สทิ ธิ์ ซึง่ อาจมีปญั หาไม่ว่าจะเป็นด้านจรยิ ธรรมหรอื กฎหมาย จะอา้ งว่า “ไมร่ ู้” เพ่ือให้พ้น ผิดไม่ได้ การนำภาพ หรอื ช้นิ ส่วนดจิ ิทัลอน่ื มาใช้โดยไม่ได้ตระหนกั ถึงสทิ ธว์ิ า่ ทำได้หรือไม่ บางคร้งั ผนู้ ำชิ้นสว่ น ดจิ ิทลั ภาพ หรือข้อมลู จากสื่อ อินเทอร์เน็ตมาแลว้ คิดว่าใคร ๆ กม็ สี ทิ ธใิ ชไ้ ด้ ความจรงิ หาเปน็ เชน่ น้ันไม่ ตัวอยา่ งเช่น ภาพในอินเทอร์เนต็ จำนวนมาก ไดร้ บั การคุ้มครองความเปน็ เจ้าของสทิ ธิข์ องผสู้ รา้ ง หรอื ผู้ ประดษิ ฐ์ ผ้ใู ดจะละเมดิ ลิขสทิ ธิ์ไมไ่ ด้ กฎหมายตามพระราชบัญญัติ ลิขสิทธิ์ปี พ.ศ. 2537 ห้ามการกระทำซ้ำ หรือดัดแปลง งานท่ีมเี จ้าของเผยแพรต่ ่อสาธารณชน ถ้าจะนำมาใช้ประกอบเขียนผลงาน จำเป็นต้องขอ เจา้ ของลิขสิทธ์เิ สียกอ่ น มีขอ้ ยกเว้นใหน้ ำไปใช้ในเชงิ ประโยชนส์ าธารณะได้บางกรณี เช่น การเรยี นการสอนท่ี ไมไ่ ดก้ ระทำเชงิ ธุรกจิ การวจิ ัยหรอื ศึกษางานนน้ั อันมใิ ช่การกระทำเพ่ือการค้าหากำไร เชน่ ทำซำ้ ดัดแปลง นำ ออกแสดง เพ่ือประโยชนก์ ารเรียนการสอนของตน หรือทำบทสรปุ โดยผสู้ อน หรอื สถาบันการศึกษาเพือ่ สอบ เพอ่ื แจกจ่าย หรอื จำหนา่ ยแก่ผู้เรยี นในชัน้ เรียน โดยไมไ่ ด้แสวงหากำไร และยังยกเว้นเพ่ือประโยชน์ในการวิจัย และการศกึ ษา ตราบใดท่ีเจา้ ของสิทธไ์ิ ม่เสยี ผลประโยชน์ แต่บางคร้ังขอบเขตของกฎหมายทจี่ ะถูกฟ้องและไม่ ถกู ฟ้องก็ยากทจ่ี ะรู้ได้
6 ความฉลาดเรื่องสทิ ธิการใชด้ จิ ิทัล ชนิดเครอื่ งหมายแสดงสิทธิงานสร้างสรรค์ ในการคน้ หาขอ้ มลู ภาพ ส่ิงประดิษฐ์ ไมว่ า่ จะเปน็ งานวรรณกรรม งานศลิ ปะ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ฯลฯ งานตา่ ง ๆ สามารถแบ่งไดห้ ลายรูปแบบ เชน่ แบบสามารถนำไปใช้แชรต์ อ่ ได้ แต่ไม่สามารถนำมาแก้ไข ดดั แปลง หรือ ขายต่อได้ หรือ แบบเอาไปใชไ้ ด้ตามสทิ ธิท์ ีเ่ จ้าของกำหนด โดยปฏบิ ัตติ ามเงอ่ื นไขของเจา้ ของ สทิ ธ์ิ หรอื แชรต์ ่อได้ แตต่ อ้ งใหเ้ ครดิตงานน้ัน หรอื อาจบางงานมกี ารขอใหช้ ว่ ยบรจิ าคสมทบ สว่ นแบบ fair use จะเปน็ งานท่สี ามารถไปศึกษา เขียนวจิ ารณ์ ใช้ไดอ้ ย่างเหมาะสมโดยไม่ต้องขออนุญาต และตอ้ งไม่กระทบ กบั เจา้ ของสทิ ธ์ิ ส่วนงานท่ีกำหนดไว้เปน็ แบบ Creative commons สามารถนำไปใช้ได้ ตามกฎเกณฑท์ ่ี เจา้ ของผลงานได้ประกาศกำหนดไว้ และจะต้องเครดิตผลงานนัน้ ทกุ คร้ัง และต้องดูวา่ เจา้ ของงานให้ใชเ้ ชงิ พาณชิ ย์หรือไม่ สว่ นงานอีกประเภทหนงึ่ ทีเ่ รยี กว่าแบบ Public domain หรอื งานสาธารณะ สามารถนำไปใช้ ได้ โดยไม่ต้องขออนุญาตแต่ควรใหเ้ ครดติ อา้ งอิงที่มา งานประเภทน้ี จะครอบคลุมผลงานที่หมดอายุแลว้ ในการทำงานทางวิชาการ จงึ ควรรู้กฎเกณฑ์ในการนำภาพมาเตมิ ต่อดัดแปลง เช่น ต้องการนำภาพแผนที่ ประเทศไทยมาแตง่ เตมิ ให้เห็นสถานที่ ในทางปฏิบตั ถิ า้ วาดภาพแผนทป่ี ระเทศไทยเองกห็ มดปัญหา แต่ในความ เป็นจรงิ เชือ่ วา่ เกอื บทุกคนจะคน้ หารปู แผนทปี่ ระเทศไทยจากอนิ เทอร์เนต็ จะได้แผนทีป่ ระเทศไทยมากมาย เพ่ือให้เลอื กทีจ่ ะดัดแปลงต่อเติม ในแผนที่เหล่าน้ัน กจ็ ะมที ั้งทีม่ ลี ิขสทิ ธิ์ บางรปู ให้ทำซำ้ ได้ บางรูปเปน็ CC- Creative Commons บางรปู เปน็ Public domain (สาธารณะ) ดังนนั้ จึงเปน็ หน้าท่ีของเราท่จี ะต้องทำการ เลือก ซึ่งบางภาพจะมีปา้ ยประกาศสทิ ธกิ ำกับไวช้ ดั เจน ตวั อย่างในการค้นหาดว้ ยกเู กิล กเู กลิ ช่วยทำให้การคัดแยกประเภทของการจัดจำแนกภาพไวแ้ ล้ว โดย ค้นหาดว้ ยคยี ์เวริ ์ด คำวา่ “map of Thailand” ถ้าตอ้ งการภาษาองั กฤษก็ใส่ English ต่อไป โดยอยู่ใน mode ค้นรปู จะไดร้ ปู แผนทีป่ ระเทศไทยเปน็ ร้อยเป็นพันรปู และเป็นการยากต่อการตัดสินใจในการเลือกรปู มาใชใ้ น งานวา่ รูปใดอนญุ าตให้ใช้และดดั แปลงได้ การใช้รูปแตล่ ะรูปมกี ฎเกณฑ์อย่างไร กเู กลิ จงึ ชว่ ยผู้ใชโ้ ดยมี “เคร่ืองมอื ค้นหา Tools” ในเครื่องมือคน้ หา ถ้าคลิกเข้าไปกจ็ ะพบวา่ มี ขนาด Size สี Color ประเภท Type
เวลา Time และทส่ี ำคญั ท่เี ราต้องการคือ “สทิ ธ์ใิ นการใชง้ าน Usage rights ” ในหัวขอ้ เกี่ยวกับสิทธิก์ ารใช้ งานจะใหเ้ ลือกไดอ้ ีก คือ ทงั้ หมด (All) สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ (Creative Common Licenses)โฆษณาและสญั ญาอนญุ าตอน่ื ๆ (Commercial & Other Licenses)ผลงานสร้างสรรค์ทไ่ี ม่มีใครสามารถถือตวั เป็นเจา้ ของได้ เช่น งานที่หมด ลขิ สทิ ธิ์ โดยงานน้นั ไมไ่ ด้ถกู คุ้มครองด้วยกฎหมายลิขสิทธ์ิ เป็นของสาธารณะ เช่น ผลงานท่ีเคยมีลิขสิทธิ์ แต่ เจ้าของตายไปแลว้ เป็นเวลากว่า 50 ปี เชน่ บทกลอนสุนทรภู่ ผลงานที่ผผู้ ลติ ไมต่ อ้ งการใหม้ ลี ขิ สทิ ธิ์อาจระบไุ ว้ ให้เปน็ สมบัติสาธารณะ การคัดลอกงานจาก Public domain ถงึ แม้จะไม่ผิดกฎหมายแต่จะตอ้ งคำนงึ ถงึ ทาง จรยิ ธรรม เช่น การคัดลอกกลอนที่เป็นสมบตั ิสาธารณะ และทำให้มีการเขา้ ใจวา่ เปน็ ของตน ก็จะผดิ จรยิ ธรรม เร่อื ง plagiarism ควรมีเครดิตการอ้างอิงที่มา หรือใสเ่ ครื่องหมาย “ ” อญั ญประกาศ ใหร้ วู้ า่ ไมใ่ ชข่ องเรา เช่น สุนทรภู่ กล่าวไว้ว่า “แลว้ อย่าไวใ้ จมนษุ ย์ มันแสนสดุ ลึกล้ำเหลือกำหนด......” \"สำหรบั ป้ายกำกับ Creative commons เป็นแนวทางทส่ี นับสนุนการสรา้ งและนำสื่อกลับมาใช้ โดย ไมถ่ ูกจำกัดจากลขิ สิทธิ์แบบเต็มท่ี สญั ญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ เอ้ือให้ผสู้ รา้ งสรรค์นำมาใชง้ านต่อยอดได้ สะดวกขึ้น (http://cc.in.th) บางครัง้ เจา้ ของสทิ ธิอาจประกาศใบอนญุ าตแบบเฉพาะซึ่งแยกได้หลายแบบดงั นี้ ไอคอนการประกาศสิทธงิ านแบบ ครีเอทีฟคอมมอนแบบตา่ งๆ
Search
Read the Text Version
- 1 - 20
Pages: