เรอ่ื ง งานช่างกล่มุ สาระการเรยี นรู้ การงานอาชพี และเทคโนโลยี นาเสนอโดย คณุ ครศู ริ กิ ุล คาเป็ ก
วสั ดุช่างวสั ดชุ ่าง คอื วสั ดทุ ่ีใชใ้ นงานช่างเป็ นวิชาสาหรบัช่างทุกสาขาของงานอุตสาหกรรมเพราะเป็ นวิชาท่วี ่าดว้ ยคณุ สมบตั ิในการใชง้ านและการจาแนกมาตรฐานของวสั ดชุ ่างต่างๆทใี่ ชใ้ นงานอตุ สาหกรรมชนดิ ของวสั ดชุ ่างวสั ดชุ ่างจาแนกไดเ้ ป็ น2ประเภทคอื วสั ดงุ านและวสั ดชุ ่วยงานวสั ดงุ านคอื วสั ดทุ ใ่ี ชง้ านจรงิ ๆการผลติ ไดร้ ปู แบบตามวตั ถุประสงค์ ในการใชง้ านวสั ดชุ ่วยงานคอื วสั ดทุ ่ีใหว้ สั ดงุ านทางานอยา่ งมีประสทิ ธิภาพโดยช่วย ในกระบวนการผลติ เม่ือส้นิ สดุ กระบวนการแลว้ ช้นิ งานนน้ั ๆจะไม่ปรากฏวสั ดชุ ่วยงานอยูเ่ ลยวสั ดชุ ่วยงานไดแ้ ก่นา้ มนั ฯลฯ
1. โลหะ วสั ดชุ ่าง 1.1 โลหะพวกเหลก็ สินแร่เหลก็ - เหลก็ ดิบ เหลก็ บริสุทธ์ิ เหลก็ หล่อ เหลก็ กล้า เหลก็ ประสม 1.2 โลหะทีไ่ ม่ใช่เหลก็ 1.2.1 โลหะหนัก - ทองแดง เงิน ตะกวั่ ดบี ุก สังกะสี ฯลฯ 1.2.3โลหะเบา - อะลูมเิ นียม แมกนีเซียม ไทเทเนียม เบริลเลยี ม2.อโลหะ 2.1 สารสังเคราะห์ - พลาสติก แก้ว กาว สีฯลฯ 2.2 สารธรรมชาติ - ไม้ ยาง ทราย หนัง กามถัน
วสั ดุช่าง โลหะ คอื วสั ดุทไ่ี ด้จากการถลุงจากสินแร่ต่างๆท่ี เกดิ โดยธรรมชาตมิ กี ารจดั เรียงอะตอมเป็ น ระเบียบกว่าอโลหะโลหะแยกแบ่งออกเป็ น ก. โลหะทีเ่ ป็ นเหลก็ (Ferrous Metal)ได้แก่ เหลก็ หล่อ เหลก็ กล้า เหลก็ ประสม ข. โลหะทีไ่ ม่ใช่เหลก็ (Non-ferrous Metal) ได้แก่ อะลูมเิ นียม ทองแดง สังกะสี ตะกว่ั ฯลฯ โลหะท่ี ไม่ใช่เหลก็ นีย้ งั เป็ นพวกโลหะหนังและโลหะเบา การแบ่งโลหะเบายดึ ความหนาแน่นเป็ นเกณฑ์
วสั ดชุ ่าง อโลหะ คอื วสั ดุทไี่ ด้จากธรรมชาติ หรือได้จาก การสังเคราะห์ขึน้ มา เช่น พลาสตกิ ปูนซีเมนต์ แก้ว ไม้ ยาง นา้ มนั ฯลฯมคี ุณสมบัตติ ่างจาก โลหะ การเรียงตวั ของอะตอมไม่เป็ นระเบยี บ อโลหะสามารถแยกได้ 2 ประเภท คอื ก. สารธรรมชาติ คอื วสั ดทุ เี่ กดิ ตามธรรมชาติ เช่น ไม้ ยาง ใยหนิ หนังสัตว์ เป็ นต้น ข. สารสังเคราะห์ คอื วสั ดุทผ่ี ลติ หรือ สังเคราะห์ด้วยฝี มอื มนุษย์เช่น กาว พลาสตกิ แก้ว เป็ นต้น
ลกั ษณะสาคญั ของโลหะวสั ดชุ ่างลกั ษณะสาคญั ๆของโลหะวสั ดุช่างมีอยดู่ ว้ ยกนั หลายลกั ษณะ เช่น1. ผวิ ผิวของโลหะแตล่ ะชนิดไม่เหมือนกนั เช่นเหลก็ กลา้ : ผิวเรียบ เมด็ เกรนละเอียด สีเทา เคาะมีเสียงดงั กงั วานเหลก็ หล่อ : ผวิ หยาบ เมด็ เกรนโตหยาบ มีสีดา ขรุขระ2. ลกั ษณะการเลอื กวสั ดุมาใช้งาน1.ความหนาแน่น 2. ความแขง็ ของผวิ 3. ความเปราะ 4. ความสามารถ ในการอดั รีดข้ึนรูป 5. ความแกร่งและความยดื หยนุ่ ตวั3. ส่วนผสมในโลหะวสั ดุช่างโลหะท่ีบริสุทธ์ิน้นั บางคร้ังเวลานาไปใชก้ อ็ าจจะไม่มีแขง็ แรงหรือ อาจจะเกิดการกดั กร่อนสึกหรอได้
ลกั ษณะต่างๆของวสั ดชุ ่าง1.ลกั ษณะภายนอก2. ความแข็งของวสั ดุ3. ความเปราะวสั ดุทแ่ี ข็งมากจะเปราะทาใหห้ ลอมไดง้ า่ ย4. ความสามารถในการตี5.อตั ราสว่ นผสม6. ความเหนียว7. ความยดื หยุน่8. คณุ สมบตั ใิ นการนาไฟฟ้ า9. คณุ สมบตั ใิ นการนาความรอ้ น10. คณุ สมบตั กิ ารทดลองใชแ้ มเ่ หล็กดูดได้
การซอ่ มแซมอปุ กรณ์ เครอื่ งมือและเครอื่ งใช้ อุปกรณ์ เครื่องมอื และเครื่องใช้ในบ้าน เช่น ค้อน เลอ่ื ย คมี กรรไกรตดั กงิ่ กล่องใส่ของ รองเท้านักเรียน และกรอบรูป เมอื่ ใช้งานไป ระยะหนึ่งหรือใช้งานไม่ระมดั ระวงั และใช้งาน ไม่ถูกวธิ ี อาจเกดิ การชารุดได้ ซึ่งอุปกรณ์ เคร่ืองและเครื่องใช้ทชี่ ารุดเลก็ น้อย นักเรียน สามารถซ่อมแซมได้ด้วยตนเอง โดยใช้ หลกั การซ่อมแซมและวธิ ีการทถ่ี ูกต้อง
การซ่อมแซมอปุ กรณ์ เครอ่ื งมือและเครอ่ื งใชม้ ีประโยชนด์ งั น้ี1.เป็ นการใชเ้ วลาว่างใหเ้ ป็ นประโยชน์2.วสั ดุ อุปกรณแ์ ละเครอ่ื งมือที่ชารดุ สามารถนากลบั มาใชไ้ ดอ้ กี3.ประหยดั ค่าใชจ้ า่ ยในการจา้ งช่างซ่อมแซมวสั ดุ อปุ กรณ์ เครอื่ งมือเครอ่ื งใชแ้ ละประหยดั ค่าใชจ้ า่ ยในการซ้อื วสั ดุ อปุ กรณแ์ ละเครอ่ื งมือใหม่4.ใชง้ านวสั ดุ อุปกรณ์ เครอ่ื งมือและเครอื่ งใชท้ ่ีซอ่ มแซมแลว้ ไดอ้ ย่างปลอดภยั5.ฝึ กทกั ษะในการซอ่ มแซมวสั ดุ อปุ กรณ์ เครอื่ งมือและเครอ่ื งใช้6.เป็ นจุดเรมิ่ ตน้ ในการพฒั นาฝี มือของตนเองไปส่กู ารประกอบอาชพีช่าง
ความปลอดภยั ในการซอ่ มแซมอปุ กรณ์ เครอ่ื งมือและเครอื่ งใช้การซ่อมแซมอปุ กรณ์ เครื่องมอื และเครื่องใช้ควรคานึงถึงความปลอดภยั เพอ่ื ป้ องกนั อุบัติเหตุหรืออนั ตรายทอ่ี าจเกดิ จากการทางานโดยปฏบิ ัติได้ ดังนี้1.ตรวจสอบสภาพของวสั ดุ อปุ กรณ์ และเครื่องมือท่จี ะใช้ในการซ่อมแซม ถ้าหมดอายุการใช้งานหรือชารุด ไม่ควรนามาใช้2.มคี วามระมัดระวังและไม่ประมาท ขณะใช้วัสดุ อุปกรณ์ และเครื่องมอื ในการซ่อมแซม3.เกบ็ วสั ดุ อปุ กรณ์ และเคร่ืองมอื ที่ใช้ในการซ่อมแซมให้เป็ นระเบียบหลงั ใช้งาน ไม่วางเกะกะบนพนื้ เพราะอาจจะสะดุดหกล้มได้4.ถ้าได้รับบาดเจบ็ จากการทางาน ต้องรีบบอกครูผู้สอนหรือผ้ใู หญ่ท่ีอย่ใู กล้ทนั ที เพอื่ จะได้ช่วยปฐมพยาบาลให้ทันที
เอกสารอา้ งองิอาพล ซอ่ื ตรง. ม.ป.พ. วสั ดชุ ่าง กรงุ เทพฯ.สนุ นั ทา ไพศาลศลิ ป์ 2551. การงานอาชพี และเทคโนโลยีป. 4. สานกั พมิ พบ์ รษิ ทั พฒั นาคุณภาพวิชาการ (พว.) จากดั . กรงุ เทพฯ.
Search
Read the Text Version
- 1 - 11
Pages: