Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุปงาน ศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ (Co-Learning Space)

สรุปงาน ศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ (Co-Learning Space)

Published by Thongpoon Wannasongkham, 2021-09-27 04:05:08

Description: สรุปงาน ศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ (Co-Learning Space)

Search

Read the Text Version

สารบญั หน้า บทนา แนวคดิ ในการดำเนนิ งานศนู ย์การเรยี นรู้ต้นแบบ (Co-Learning Space)……………….1 องคป์ ระกอบเพอ่ื การให้บริการศูนย์การเรยี นรูต้ น้ แบบ (Co-Learning Space)………….2 ภาพประกอบเปรียบเทยี บกอ่ นและหลังการดำเนนิ งาน.......................................................3 ขนั้ ตอนการดาเนินงาน การจัดเตรียมองค์ประกอบภายในศนู ย์การเรียนรู้ตน้ แบบ ( co-Learning Space)............5 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การให้บรกิ าร และงบประมาณทใี่ ช้ (แยกตามโซนทใี่ หบ้ ริการ)....9 ภาพประกอบ...........................................................................................................14 สรปุ ผลดาเนนิ งาน จานวนผูร้ ับบริการ....................................................................................................24 ผลการประเมินความพงึ พอใจของผ้รู บั บริการ........................................................................24 ปญั หาอุปสรรค และขอ้ เสนอแนะ………………………………………………………………………………..26 ภาคผนวก คาสัง่ แต่งต้ังคณะกรรมการดาเนินงาน........................................................................ คณะผจู้ ัดทา.................... .........................................................................................

บทนำ แนวคิดในการดำเนินงานศนู ยก์ ารเรียนร้ตู ้นแบบ (Co-Learning Space) ของ ห้องสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี จงั หวัดอุดรธานี วิถีชีวิต การเรียนรู้ การทำงานของคนไทยในยุคปัจจุบันที่เปลี่ยนไป รูปแบบการทำงาน มักจะไปน่ัง ทำงาน อ่านหนังสอื ประชุม หรอื ทำงานกลุ่มตามสถานที่สาธารณะ มากข้นึ ไม่ว่าจะเปน็ รา้ นกาแฟ หอ้ งสมุด หรือ ตาม co-Working Space ต่างๆ ด้วยเหตุผลหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นต้องการพื้นที่ในการสร้างแรงบันดาลใจ ใหม่ๆทเี่ ออื้ ต่อการเกิดแนวคดิ ใหมๆ่ ในการทำงาน หรอื บางครงั้ จะร้สู กึ ว่ามสี มาธมิ ากกวา่ ทบ่ี า้ น ท่โี รงเรยี น หรือที่ ทำงานแต่พ้ืนท่ีลักษณะเช่นนีท้ ่ีมีใหบ้ รกิ รในปัจจุบันยังเป็นข้อจำกดั ในการเขา้ ถงึ ของหลายๆคนไม่ว่าจะเป็นเรื่อง ของระยะเวลา การเปิด-ปิดบริการ ค่าใช้จ่าย หรือถ้าเปิดให้ใช้บริการฟรี สิ่งอำนวนความสะดวกต่างๆหรือ บรรยากาศ อาจยังไม่ตอบโจทน์สำหรับการทำงานหรือการอ่านหนังสืออย่างมีสมาธิรวมไปถึงความปลอดภัย ต่างๆในการเดนิ ทางไปใชบ้ ริการในสถานทีเ่ หล่านั้นประกอบกับสภาพสงั คมทีเ่ ปลี่ยนแปลงไปทำให้รูปแบบการ เรียนรขู้ องผู้รับบรกิ ารหอ้ งสมดุ เปลี่ยนไปด้วยคนปัจจุบนั มีการนำเทคโนโลยีมาใช้ในการคน้ ควา้ หาความรู้มากขึ้น ดว้ ยเหตุนีห้ ้องสมดุ ประชาชนจึงจำเป็นต้องปรับเปลย่ี นรูปแบบการบรกิ ารให้การเรยี นรู้ตอ้ งพฒั นาให้มีรูปแบบท่ี หลากหลายเป็นไปตามความต้องการของผู้รับบริการทุกช่วงวัยยิ่งขึ้นจากแนวคิดดังกล่าวสู่การพัฒนาแหล่ง เรยี นรู้ให้มลี ักษณะเป็นศูนยก์ ารเรียนรู้ co-Leaning Space ซึ่งสำนักงาน กศน.เปน็ หน่วยงานทม่ี ภี ารกจิ หลกั ใน การจดั การศึกษาตามอธั ยาศยั ใหก้ บั ประชาชนทกุ ชว่ งวยั และมีแหล่งเรยี นรู้ให้บริการหลากหลายรูปแบบห้องสมุด แระชาชนก็เป็นหนึ่งในแหล่งเรียนรู้ที่ให้บริการประชาชนควบคู่กับภารกิจอื่นๆของ กศน.จึงถึงเวลาแล้วที่จะ พัฒนาให้เปน็ แหล่งเรยี นรู้สำหรับทกุ เพศ ทกุ วยั ทุกอาชีพ ได้มโี อกาสเข้าถงึ ไดง้ า่ ยสามารถตอบทุกโจทย์ปัญหา ความต้องการของประชาชนอย่างแทจ้ รงิ ศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ ( co-Leaning Space)หรือพื้นที่แหล่งการ เรียนรู้ร่วมกันจึงเกิดขึ้นภายใต้แนวคิดที่ว่า การให้ที่มากกว่าแค่เพียง “พื้นที่” แต่ยังเป็นสถานที่ที่สร้างแรง บันดาลใจและแสดงถงึ การแบง่ ปัน ทไี่ มเ่ พยี งแค่แบง่ ปันพ้นื ท่ีสำหรับทกุ คนใหไ้ ด้ประโยชน์ร่วมกันแต่ทุกคนที่มา ยังได้ความรแู้ ละแรงบันดาลใจดีไกลับไปด้วยเสมอ การนำแนวคิดในการปลับเปลีย่ นการใหบ้ ริการห้องสมุดประชาชนให้เป็นแหล่งเรยี นรู้ในลักษณะ ศูนย์ การเรียนรตู้ ้นแบบ ( co-Leaning Space) ภายใตน้ โยบายการขบั เคล่อื น กศน.สู่ กศน. WOW ของรฐั มนตรี ช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (นางกนกวรรณ วิลาวัลย์) ในการพัฒนา กศน.ตำบลให้มีบรรยากาศและ สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ : Good Place – Best Check in ข้อหนึ่งโดยการจัดให้มีศูนย์การเรียนรู้ ต้นแบบ กศน.ใน 5 ภูมิภาค เป็นศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ ( co-Leaning Space) มีพื้นที่บริการการเรียนรู้ ร่วมกันตามความสนใจและความต้องการของผรู้ บั บริการการศึกษาตามอธั ยาศยั ทุกชว่ งวัย

2 องค์ประกอบเพอ่ื การให้บรกิ ารศนู ย์การเรยี นรู้ตน้ แบบ (Co-Learning Space) ของ ห้องสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกุมาร”ี จงั หวดั อดุ รธานี ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี”จงั หวดั อดุ รธานี มคี วามพรอ้ มในการจดั ทำ “ศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ เป็น ( co-Learning Space)” มีการจัดประชุมชี้แจงคณะทำงานเพื่อดำเนินงาน “ศูนย์การเรยี นรตู้ ้นแบบ เปน็ ( co-Learning Space)” ๑.ผบู้ ริหารสถานศึกษา ส่งเสริม สนบั สนนุ และติดตามผลการปฏิบัตงิ านของบรรณารักษ์และเจ้าหน้าท่ี ห้องสมุดในการพัฒนาห้องสมุดให้อยู่ในสภาพสะอาด สวยงาม พร้อมให้บริการ และเป็น “ศูนย์การเรียนรู้ ต้นแบบ เปน็ ( co-Learning Space)” ๒.บรรณารักษ์ควรจัดทำแผนการพัฒนาห้องสมุด แผนการจัดกิจกรรมห้องสมุดและประชาสัมพันธ์ให้ นักศึกษาและประชาชนได้ทราบข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดำเนินงานการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ภายใน และ ภายนอกหอ้ งสมดุ รวมถงึ การจัดกิจกรรมผา่ นระบบออนไลน์ ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี”จังหวัดอดุ รธานี มีการจัดพ้ืนทีใ่ ห้เป็น “ศูนย์การเรยี นรู้ต้นแบบ เป็น ( co-Learning Space)” ที่สอดคล้องกับสภาพและแนวทางการศึกษาในพืน้ ที่และมีการประเมินความ พงึ พอใจของผู้รบั บริการ โดยมีการจัดโซนต่างๆดังต่อไปน้ี  โซนทำงาน หรือประชมุ (Co – Working Zone)  โซนส่งเสริมการอา่ น คน้ ควา้ ข้อมลู ส่ือ (Learning Zone)  โซนกิจกรรม (Activities Zone)  โซน IT ศนู ย์ภาษา ห้องภาพยนตร์ (Multimedia Zone and Language Center)  โซนพักผอ่ น (Relax Zone)  โซนกาแฟ (Coffee Zone)  อืน่ ๆ (โปรดระบ)ุ ....กจิ กรรมดนตรีเพอื่ ความผ่อนคลายและกิจกรรมกลมุ่ สนใจ........

3 ภาพประกอบเปรียบเทียบก่อนและหลังการดำเนินงาน 1.โซนทำงาน หรือประชุม (Co – Working Zone) หลัง ก่อน 2.โซนสง่ เสริมการอา่ น คน้ คว้าขอ้ มลู สื่อ (Learning Zone) หลัง ก่อน 3.โซนกจิ กรรม (Activities Zone) หลงั ก่อน

4 4. โซน IT ศนู ย์ภาษา หอ้ งภาพยนตร์ (Multimedia Zone and Language Center) ก่อน หลัง 5.โซนพักผอ่ น (Relax Zone) หลงั กอ่ น 6.โซนกาแฟ (Coffee Zone) หลัง ก่อน

5 ข้นั ตอนการดำเนนิ งาน การจดั เตรียมองค์ประกอบภายในศนู ย์การเรยี นรู้ต้นแบบ ( co-Learning Space) สถานที่ (โซนการให้บรกิ ารตา่ งๆ) วสั ดอุ ุปกรณ์ และงบประมาณท่ใี ช้ 1. ศนู ย์การเรยี นรตู้ ้นแบบ (Co-Learning Space) จงั หวดั มีการจดั พน้ื ที่ใหบ้ รกิ าร ดังตอ่ ไปนี้  โซนทำงาน หรอื ประชมุ (Co – Working Zone)  โซนสง่ เสริมการอา่ น คน้ คว้าข้อมูล สอ่ื (Learning Zone)  โซนกจิ กรรม (Activities Zone)  โซน IT ศนู ย์ภาษา หอ้ งภาพยนตร์ (Multimedia Zone and Language Center)  โซนพักผ่อน (Relax Zone)  โซนกาแฟ (Coffee Zone)  อ่นื ๆ (โปรดระบ)ุ ......................................................... 2. การใหบ้ ริการอุปกรณ์ เคร่ืองอำนวยความสะดวกในโซนตา่ ง ๆ 2.1 โซนทำงาน หรอื ประชมุ (Co – Working Zone) - บริการ Wifi ฟรี แหล่งที่ได้มา  สำนกั งาน กศน.  หนว่ ยงานอนื่ ๆ ระบุ..........  เพียงพอ จำนวนที่บริการได้………1 ห้อง…………..  ไมเ่ พยี งพอ เนอ่ื งจาก.......................................................................... - โต๊ะ เกา้ อี้ ท่ีน่งั แหลง่ ทไ่ี ด้มา  สำนกั งาน กศน.  หนว่ ยงานอน่ื ๆ ระบุ..........  เพยี งพอ จำนวนที่บรกิ ารได้………60………คน - อุปกรณ์อำนวยความสะดวกอืน่ ๆ เชน่ สมาร์ท ทีวี , เครื่องขยายเสยี ง ฯลฯ แหล่งท่ไี ดม้ า  สำนักงาน กศน.  หนว่ ยงานอ่นื ๆ ระบ.ุ .........  เพยี งพอ จำนวนทบี่ ริการได้……………1…………จุด - จำนวนหอ้ งทำงาน หรือหอ้ งประชุม จำนวนที่ให้บริการ.......1........ห้อง/จุด  เพยี งพอ จำนวนท่ีบริการได้…………20 คน………… จดุ เด่นของโซนทำงาน หรือประชุม (Co – Working Zone) - แยกโซนออกจากโซนอน่ื เพอ่ื สามารใช้เสียงได้ แผน/แนวทางการพัฒนา - เพมิ่ อุปกรณอ์ ำนวยความสะดวกในการประชุม

6 2.2 โซนสง่ เสรมิ การอา่ น คน้ คว้าขอ้ มลู สื่อ (Learning Zone) 1) จำนวนเคร่อื งคอมพวิ เตอร์ แหล่งทีไ่ ด้มา  สำนักงาน กศน.  หน่วยงานอื่น ๆ ระบุ..........  เพยี งพอ จำนวนเคร่อื งคอมพิวเตอร์ทบี่ ริการได้……12…เครอ่ื ง  ไม่เพยี งพอ เน่อื งจาก.......................................................................... 2) จำนวนแท็บเลต็ แหลง่ ทไ่ี ด้มา  สำนกั งาน กศน.  หนว่ ยงานอน่ื ๆ ระบ.ุ .........  เพยี งพอ จำนวนแท็บเลต็ ท่ีบรกิ ารได้………………เครื่อง  ไม่เพยี งพอ เนื่องจาก....................สืบค้นจากคอมพวิ เตอร์...................... 3) หนงั สือและสอ่ื การเรียนรู้ แหลง่ ท่ีได้มา  สำนกั งาน กศน.  หนว่ ยงานอนื่ ๆ ระบุ..........  เพียงพอ จำนวนทีบ่ ริการได้……13,000………เรอื่ ง  ไมเ่ พยี งพอ เนื่องจาก.......................................................................... 4) การบริการ Digital Library  ระบบสืบค้น  ระบบยืมคืนหนังสอื  แอปพลเิ คชนั  e-book  บรกิ ารอนื่ ๆ (โปรดระบุ)...............เพจห้องสมดุ .......Line ห้องสมดุ ........................... แหล่งท่ีไดม้ า  สำนกั งาน กศน.  หน่วยงานอ่ืน ๆ ระบ.ุ .........  เพียงพอ จำนวนทบี่ ริการได้……3,000………คน การให้บรกิ ารและกจิ กรรม อ่ืน ๆ 1. ……………อ่านผ่านคิวอาร์โค้ด…………………………… 2. ……………E-Book…………………………………… 3. ……………Book online………………………………………………….. จุดเด่นของส่งเสริมการอ่าน/ค้นควา้ ขอ้ มลู /และ ส่อื การเรยี นรตู้ า่ ง ๆ (Learning Zone) .......................สามารถสืบคน้ ไดห้ ลายชอ่ งทาง.............................................................. แผน/แนวทางการพัฒนา....เพมิ่ กิจกรรมความรูต้ ่างๆและสามารถสบื คน้ ออนไลนไ์ ด้

7 2.3 โซนกจิ กรรม (Activities Zone) 1) พื้นทใี่ ห้บรกิ ารทสี่ ะดวกเหมาะสม  เหมาะสม  ไม่เหมาะสม เน่อื งจาก..................................................... 2) อปุ กรณ์อำนวยความสะดวกในการจัดกจิ กรรม  เหมาะสม  ไมเ่ หมาะสม เน่ืองจาก..................................................... 2.4 โซน IT ศนู ย์ภาษา หอ้ งภาพยนตร์ (Multimedia Zone and Language Center) บริการ Wifi ฟรี แหลง่ ทไ่ี ด้มา  สำนกั งาน กศน.  หนว่ ยงานอื่น ๆ ระบ.ุ .........  เพยี งพอ จำนวนทีบ่ ริการได้………300………คน  ไม่เพยี งพอ เนื่องจาก..................................................... จำนวนเคร่ืองคอมพิวเตอร์ แหลง่ ที่ได้มา  สำนกั งาน กศน.  หนว่ ยงานอนื่ ๆ ระบุ..........  เพียงพอ จำนวนเครอื่ งคอมพวิ เตอร์ทีบ่ ริการได้……12…………เครอื่ ง  ไม่เพยี งพอ เนอ่ื งจาก..................................................... อุปกรณ์โสตทัศนปู กรณ์ อืน่ ๆ  Smart TV  ส่ือมัลตมิ เี ดีย อ่นื ๆ  เคร่ืองเสียง  สอื่ อืน่ ๆ ............................................................................ แหล่งที่ไดม้ า  หนว่ ยงานอื่น ๆ ระบ.ุ .........  สำนกั งาน กศน. จำนวนท่บี ริการได้……200…คน  เพียงพอ จุดเด่นของโซน IT ศูนย์ภาษา ห้องภาพยนตร์ (Multimedia Zone and Language Center) - แยกออกจากโซนอ่ืนๆเพราะต้องใชเ้ สยี ง - เครื่องคอมพวิ เตอรท์ กุ เครื่องมหี ูฟังเพื่อไมใ่ หเ้ กดิ เสียงดงั แผน/แนวทางการพัฒนา.........................พัฒนาระบบใหท้ ันสมัยเหมาะกับปจั จบุ ัน ..........

8 2.5 โซนพักผอ่ น (Relax Zone) 1) บรกิ าร Wifi ฟรี  เพยี งพอ  ไม่เพยี งพอ เนอื่ งจาก...................................................... 2) พนื้ ทีใ่ ห้บรกิ ารเหมาะสมสะดวก  เหมาะสม  ไม่เหมาะสม เนื่องจาก..................................................... 3) อุปกรณ์อำนวยความสะดวกในการจัดกจิ กรรม  เหมาะสม  ไมเ่ หมาะสม เนอื่ งจาก..................................................... จดุ เด่นของโซนพกั ผอ่ น (Relax Zone) - แยกเปน็ สดั สว่ นเพื่อให้ผ้ใู ช้บริการพกั ผอ่ นเตม็ ท่ี แผน/แนวทางการพัฒนา...เพิม่ เบาะสำหรบั เอนหลังเพ่ือให้ผูใ้ ชบ้ รกิ ารพักผอ่ นไดส้ ะบายยิง่ ขึ้น 2.6 โซนกาแฟ (Coffee Zone)  มีใหบ้ ริการ  ไมม่ ีใหบ้ รกิ าร เนอ่ื งจากพื้นที่ใหบ้ ริการเหมาะสมสะดวก  เหมาะสม  ไม่เหมาะสม เนือ่ งจาก................................................. จดุ เดน่ ของโซนกาแฟ (Coffee Zone) - ใหบ้ รกิ ารสำหรบั ผู้ใชบ้ รกิ ารทุกคน แผน/แนวทางการพฒั นา......................นำขนมมาบริการเพมิ่ เตมิ ..................................................

9 การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ การให้บริการ และงบประมาณที่ใช้ (แยกตามโซนทใ่ี ห้บริการ) ดา้ นการจัดกจิ กรรมการเรียนรแู้ ละการใหบ้ รกิ าร จดั กจิ กรรมการเรยี นรู้  กิจกรรมสง่ เสริมการอ่าน  ภาพยนตร์สำหรับเด็ก  กิจกรรมบ้านหลังเรียน  กพช. สำหรับนักศึกษา กศน.  กิจกรรมสำหรับผู้สงู อายุ  กจิ กรรมพัฒนาทักษะอาชีพทุกชว่ งวยั  กิจกรรม DIY  นทิ รรศการใหค้ วามรูก้ ารศกึ ษาตามอธั ยาศยั ต่าง ๆ  กจิ กรรมสง่ เสรมิ ศิลปวัฒนธรรมตา่ ง ๆ เชน่ ดนตรใี นสวน การแสดงต่าง ๆ  กจิ กรรมอน่ื ๆ (โปรดระบุ).................................................................................... จุดเดน่ ของการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ - ผใู้ ชบ้ รกิ ารสามารถเรยี นรไู้ ดต้ ามความต้องการ แผน/แนวทางการพัฒนา.............เพม่ิ กจิ กรรมตามความต้องการของผูใ้ ช้บริการ............ การให้บริการต่าง ๆ  ห้องประชุม / ทำงาน กลุม่ ยอ่ ย  ห้องสอนเสรมิ  หอ้ งซ้อมดนตรี / นาฏศิลป์ ฯลฯ  พน้ื ที่จดั นทิ รรศการ / แสดงผลงาน / เผยแพรค่ วามรู้  พน้ื ทีพ่ ักคอย / พกั ผ่อนอา่ นหนังสือ / ดสู ื่อ  บริการอ่นื ๆ (โปรดระบ)ุ .......................................................................................

10 แบบติดตามการใชจ้ ่ายงบประมาณการดำเนนิ งานโครงการสำคัญ “โครงการศนู ยก์ ารเรียนรู้ตน้ แบบ กศน. ใน 5 ภมู ิภาค เป็น (Co-Learning space) พ.ศ. 2564” เพอ่ื การบรรลุเปา้ หมายของยทุ ธศาสตรช์ าติและแผนแมบ่ ทภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาติ -------------------------------- คำชี้แจง เพอื่ ให้การตดิ ตามโครงการสำคัญซ่ึงถกู กำหนดไว้ในแผนการขับเคลื่อนยทุ ธศาสตร์ชาติสู่ การปฏิบัติ สำนักงาน กศน. จึงขอให้สำนักงาน กศน. จังหวัด จัดทำรายงานการใช้จ่ายงบประมาณ โครงการสำคัญ “โครงการศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ กศน. ใน 5 ภูมิภาค เป็น (Co-Learning space) พ.ศ. 2564” จัดส่งให้สำนกั งาน กศน.ทุกไตรมาส เพอ่ื รายงานต่อสำนักงานสภาพฒั นาการเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ในระบบ eMENSCR ตอ่ ไป หน่วยงาน : สำนักงาน กศน. จังหวดั อดุ รธานี โอนเงนิ งบประมาณงวดแรก เดอื นมนี าคม 2564 จำนวน 48,000 บาท  ไตรมาส ท่ี 1 (เดอื นตุลาคม - ธนั วาคม 2563)  ไตรมาส ที่ 2 (เดอื นมกราคม - มีนาคม 2564) โอนเงินงบประมาณงวดสอง เมษายน 2564 จำนวน 27,000 บาท  ไตรมาส ท่ี 3 (เดือนเมษายน - มิถุนายน 2564) โอนเงนิ งบประมาณงวดสอง กันยายน 2564 จำนวน 29,000 บาท  ไตรมาส ที่ 4 (เดอื นกรกฎาคม – กันยายน 2564)

11 ที่ รายการวัสดุอุปกรณ/์ กิจกรรม จำนวนเงินที่ ผลการดำเนนิ งานที่ได้ 1 กระดาษถา่ ย Double A/80G ใช้ ผลการดำเนนิ งานเชงิ ปริมาณ ผลการดำเนินงานเชงิ คุณภาพ 2 กระดาษกาว 2 หน้าบาง ½ นว้ิ 3 กระดาษทำปกการ์ดสี A4 2,725 1. จำนวนศนู ย์การเรียนรู้ 1. เด็ก นักเรียน นักศึกษา 4 กระดาษ Photo Chic High Clossy 5 แผ่นโฟมจดั บอรด์ 3 มม. 1,116 ตน้ แบบ (Co – Learning ป ร ะ ช า ช น ท่ั ว ไ ป แ ล ะ 6 ปากกาไวค์บอรด์ PLOT สนี ำ้ เงิน 7 ปากกาไวคบ์ อร์ด PLOT สดี ำ 1,000 space) ผู้สูงอายุ ได้รับบริการที่ 8 แปรงลบกระดานพลาสตกิ 9 ต๊กุ ตาปูนปลาสเตอร์ ระบายสี 3,700 2. พัฒนาและจัดหาระบบการ หลากหลาย สามารถใช้เวลา 10 สนี ้ำโปสเตอร์ 60 ML 1,800 จดั กิจกรรม การ ว่างให้เกิดประโยชน์ มี 11 พู่กนั พลาสติก 3 นว้ิ ประชาสัมพนั ธ์ “ศนู ยเ์ รยี นรู้ โอกาสแลกเปลย่ี นและแสดง 12 จานสีพลาสติก 828 ต้นแบบ กศน. เป็น Co – ผ ล ง า น ท ี ่ ม ี ค ว า ม คิ ด 13 ดนิ สอดำ 2B 14 ปากกาลูกลน่ื 552 Learning Space” สรา้ งสรรคร์ วมท้ังสามารถ 15 ดนิ สอสีมาสเตอรเ์ ตอรอ์ าร์ต 2 หวั 16 เบาะรองน่ัง ขนาด 40X40 CM 220 -กจิ กรรมส่งเสริมการอ่าน สร้างนวัตกรรมในรูปแบบท่ี 17 หูฟงั คอมพวิ เตอร์ 18 พลาสตกิ เคลือบบัตร 5,000 -ภาพยนตร์สำหรับเด็ก หลากหลาย 19 แผน่ รองตดั AROMA A3 20 กระดาษพับนกใหญ่ 3,500 -กจิ กรรมบ้านหลังเรยี น 2. ห ้ อ ง ส ม ุ ด ป ร ะ ชาชน 21 หมกึ เติม EPSON L3150 คละสี 22 ป้ายสตกิ๊ เกอร์ติดฟวิ เจอรบ์ อรด์ 2,495 -กพช. สำหรับนกั ศกึ ษา กศน. “เฉลิมร าชก ุมารี ” เป็น 23 ปา้ ยโครงการศนู ย์การเรียนรูต้ น้ แบบ -กิจกรรมสำหรบั ผู้สูงอายุ แ ห ล ่ ง เ ร ี ย น ร ู ้ ท ี ่ ท ั น ส ม ั ย มี 5,940 -กิจกรรมพฒั นาทกั ษะอาชพี คุณภาพ ง่ายต่อการเข้าถึง (Co-Learning Space) 1,450 ทกุ ชว่ งวัย ยอดรวมทัง้ สิ้น สะดวก สวยงาม และ 2,500 ปลอดภยั 3,272 -กจิ กรรม DIY 2,000 -นทิ รรศการใหค้ วามรู้ 5,520 การศกึ ษาตามอธั ยาศยั ต่าง ๆ -กจิ กรรมส่งเสริม 710 ศิลปวฒั นธรรมตา่ ง ๆ เช่น 480 ดนตรใี นสวน การแสดงต่าง ๆ 430 -วาดภาพระบายสี 1,560 -ระบายสตี ุ๊กตาปูนปาสเตอร์ 600 -กิจกรรมฝกึ เล่นดนตรี 600 เบือ้ งตน้ -สอนภาษาจนี และอังกฤษ 47,998 เบือ้ งต้น

12 ที่ รายการวสั ดอุ ุปกรณ/์ กิจกรรม จำนวนเงิน ผลการดำเนินงานทไ่ี ด้ ทใ่ี ช้ ผลการดำเนนิ งานเชงิ ปริมาณ ผลการดำเนนิ งานเชงิ คณุ ภาพ 1 กระดาษถา่ ย Double A/80G 5,450 1. จำนวนศูนย์การเรยี นรตู้ น้ แบบ 1. เด็ก นักเรียน นักศึกษา 2 กระดาษ Photo Chic High Clossy 3,700 (Co – Learning space) ป ร ะ ช า ช น ท่ั ว ไ ป แ ล ะ 3 หมกึ เติม EPSON L3150 คละสี ผู้สูงอายุ ได้รับบริการที่ 4 กาวสองหน้าแบบบาง 3,120 2. พัฒนาและจัดหาระบบการจัด หลากหลาย สามารถใช้เวลา 5 กาวแท่ง UHU กิจกรรม การประชาสมั พันธ์ ว่างให้เกิดประโยชน์ มี 6 กาวลาเทก็ ซ์ 1,440 “ศนู ยเ์ รยี นรู้ โอกาสแลกเปลย่ี นและแสดง 7 แกว้ กระดาษ ผ ล ง า น ท ี ่ ม ี ค ว า ม คิ ด 2,700 ต้นแบบ กศน. เปน็ Co – สร้างสรรค์รวมทัง้ สามารถ 1,620 Learning Space” 1.210 -กจิ กรรมส่งเสรมิ การอ่าน 8 ปากกาเคมี สีแดง 720 -ภาพยนตร์สำหรบั เด็ก สร้างนวัตกรรมในรูปแบบท่ี 9 ปากกาเคมี สนี ำ้ เงิน หลากหลาย 10 ปากกาลกู ลน่ื สีน้ำเงิน 720 -กจิ กรรมบ้านหลังเรียน 2. ห ้ อ ง ส ม ุ ด ป ร ะ ชาชน 11 ปากกาลกู ลน่ื สแี ดง 1,000 -กพช. สำหรบั นกั ศึกษา กศน. “เฉลิมร าชก ุมารี ” เป็น 12 เทปใส 0.5 นิว้ -กจิ กรรมสำหรับผู้สงู อายุ แ ห ล ่ ง เ ร ี ย น ร ู ้ ท ี ่ ท ั น ส ม ั ย มี 13 มดี คัตเตอร์เล็ก 1,000 -กิจกรรมพัฒนาทกั ษะอาชพี ทุก คุณภาพ ง่ายต่อการเข้าถึง สะดวก สวยงาม และ 1,500 ช่วงวัย 1,080 14 ฟิวเจอรบ์ อร์ดเลก็ 600 ปลอดภัย 15 สต๊กิ เกอรใ์ ส A4 1,100 -กิจกรรม DIY 16 ไม้บรรทัด 42 -นิทรรศการให้ความรู้การศึกษา ตามอัธยาศยั ตา่ ง ๆ -กิจกรรมส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม ต่าง ๆ เช่น ดนตรีในสวน การ แสดงต่าง ๆ -วาดภาพระบายสี -ระบายสีตุ๊กตาปนู ปาสเตอร์ -กิจกรรมฝกึ เล่นดนตรีเบ้อื งตน้ -สอนภาษาจีนและอังกฤษ ยอดรวมท้ังสนิ้ 27,002 เบอ้ื งต้น

13 ท่ี รายการวัสดุอุปกรณ์/กิจกรรม จำนวนเงนิ ผลการดำเนินงานทไ่ี ด้ ทใ่ี ช้ ผลการดำเนินงานเชิงปรมิ าณ ผลการดำเนนิ งานเชิงคณุ ภาพ 1 พลาวติกเคลือบบัตร ออก้า 220*306 710 1. จำนวนศนู ยก์ ารเรยี นรู้ 1. เด็ก นักเรียน นักศึกษา A4 125 ไมครอน ต้นแบบ (Co – Learning ป ร ะ ช า ช น ท่ั ว ไ ป แ ล ะ 2 เจลล้างมอื ขนาด (1 ขวด/400 มลิ ลลิ ิตร) 4,900 space) ผู้สูงอายุ ได้รับบริการท่ี 3 กระดาษ Photo Chic High Clossy 3,700 2. พฒั นาและจัดหาระบบการ หลากหลาย สามารถใช้เวลา 4 ดินสอสมี าสเตอรอ์ ารต์ 2หวั 48 สี 3,270 จดั กจิ กรรม การ ว่างให้เกิดประโยชน์ มี 5 กระดาษถา่ ย Double A/80G ประชาสัมพนั ธ์ “ศนู ยเ์ รยี นรู้ โอกาสแลกเปลย่ี นและแสดง 6 กระดาษทำปกการด์ สี A4 คละสี 5,450 ตน้ แบบ กศน. เป็น Co – ผ ล ง า น ท ี ่ ม ี ค ว า ม คิ ด 7 กาวแทง่ UHU สร้างสรรค์รวมท้ังสามารถ 1,000 Learning Space” 2,700 -กจิ กรรมส่งเสริมการอา่ น สร้างนวัตกรรมในรูปแบบที่ 8 กาวลาเทก็ ซ์ 1,620 -ภาพยนตรส์ ำหรับเด็ก หลากหลาย 9 ปากกาลกู ลนื่ สนี ำ้ เงิน 1,000 -กจิ กรรมบ้านหลงั เรียน 2. ห ้ อ ง ส ม ุ ด ป ร ะ ชาชน 10 ปากกาลกู ลนื่ สแี ดง 1,000 -กพช. สำหรับนักศึกษา กศน. “เฉลิมร าชก ุมารี ” เป็น 11 เทปใส 0.5 นวิ้ 1,500 -กิจกรรมสำหรบั ผู้สูงอายุ แหล่งเรียนรู้ที่ทันสมัยมี 12 สตก๊ิ เกอรใ์ ส A4 -กิจกรรมพัฒนาทักษะอาชพี คุณภาพ ง่ายต่อการเข้าถึง 13 แกว้ กระดาษ 1,100 ทุกช่วงวยั สะดวก สวยงาม และ 1, ปลอดภยั 050 ยอดรวมทงั้ สนิ้ -กิจกรรม DIY -นิทรรศการใหค้ วามรู้ การศกึ ษาตามอัธยาศยั ตา่ ง ๆ -กิจกรรมส่งเสรมิ ศลิ ปวัฒนธรรมตา่ ง ๆ เชน่ ดนตรีในสวน การแสดงต่าง ๆ -วาดภาพระบายสี -ระบายสตี กุ๊ ตาปูนปาสเตอร์ -กิจกรรมฝกึ เลน่ ดนตรี เบ้อื งต้น 29,000 -สอนภาษาจนี และอังกฤษ เบอ้ื งตน้

ภาพประกอบ

15 ภาพกิจกรรมการให้บรกิ ารแตล่ ะโซน และการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ โซนทำงาน หรอื ประชุม (Co – Working Zone) โซนส่งเสริมการอา่ น (Learning Zone)

16 โซนกิจกรรม (Activities Zone โซน IT ศูนย์ภาษา หอ้ งภาพยนตร์

17 โซนพกั ผอ่ น (Relax Zone) โซนกาแฟ (Coffee Zone)

18 ห้องภาพยนตร์ กลมุ่ สนใจ

19 กจิ กรรมระบายสตี กุ๊ ตาปูนปาสเตอร์ กิจกรรมทำบายศรี กิจกรรมสอนภาษาองั กฤษเพื่อการสนทนา

20 กจิ กรรมทำบายศรี กจิ กรรมสอนดนตรี

21 กิจกรรมสอนดนตรี กจิ กรรมสอนดนตรี

22 มมุ กาแฟ มุม ICT

23 กลุ่มสนใจ กจิ กรรมเกมภาษาองั กฤษ

24 สรปุ ผลการดำเนนิ งาน 1.จำนวนผ้ใู ช้บรกิ ารประจำปีงบประมาณ 2564 โดยเฉลี่ย จำนวน 10,800 คน 2.ผลการประเมินความพงึ พอใจของผู้รบั บริการ จำนวน 100 คน แบบสอบถามความพึงพอใจในการเข้ารับบริการศูนย์การเรยี นรตู้ ้นแบบ (Co-Learning Space) ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ห้องสมุดประชาชน ..............................................อำเภอ................................จังหวัด.......................................... คำชี้แจง แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้รับบริการศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ (Co-Learning Space) จัดทำขึ้นเพื่อสอบถามความพึงพอใจของผู้รับบริการในการใช้บริการศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ (Co-Learning Space) และนำผลท่ไี ดม้ าใชใ้ นการพัฒนาปรับปรุงการดำเนินงานศนู ย์การเรยี นรู้ตน้ แบบ (Co-Learning Space) สามารถให้บริการได้ตรงตามความตอ้ งการ และความสนใจเกิดประโยชน์สงู สุดกับผรู้ บั บริการทุกช่วงวยั ตอนที่ 1 ข้อมูลทัว่ ไปของผ้ตู อบแบบสอบถาม (กรณุ าทำเครื่องหมาย ✓ หนา้ ขอ้ ความต่อไปน้ี) 1. เพศ  ชาย  หญงิ 2. อายุ  อายุตำ่ กว่า 15 ปี  16 – 30 ปี  31 – 40 ปี  41 – 50 ปี  51 ปขี ้ึนไป 3. วฒุ กิ ารศึกษาสูงสดุ (เลือกตอบเพียงขอ้ เดียว) 3.1 สำหรับบุคคลทั่วไป  ประถมศกึ ษา  มธั ยมศกึ ษาตอนตน้  มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย  ต่ำกว่าปรญิ ญาตรี  ปรญิ ญาตรี  สูงกว่าปริญญาตรี  อนื่ ๆ ระบ.ุ ................................................ 3.2 สำหรบั นกั ศึกษา กศน.  ประถมศกึ ษา  มัธยมศกึ ษาตอนตน้  มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ตอนที่ 2 ความพึงพอใจกิจกรรมการเรียนรู้ หรือการให้บริการ ที่เข้ารับบริการ (กรุณาทำเครื่องหมาย ✓ หน้าขอ้ ความที่ตรงกบั ความคดิ เหน็ ของทา่ นมากที่สุด) ประเด็นคำถาม ระดบั ความพงึ พอใจ มากทสี่ ุด มาก ปานกลาง นอ้ ย นอ้ ยทส่ี ดุ 1. โซนทำงาน หรอื ประชมุ (Co – Working Zone) 2. โซนสง่ เสริมการอ่าน ค้นคว้าข้อมูล ส่ือ (Learning Zone) 3. โซนกิจกรรม (Activities Zone) 4 โซน IT ศูนย์ภาษา ห้องภาพยนตร์ (Multimedia Zone and Language Center) 5. โซนพักผอ่ น (Relax Zone) 6. โซนกาแฟ (Coffee Zone) ขอ้ เสนอแนะอน่ื ๆ/ความไม่พงึ พอใจ ........................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................

25 ตอนที่ 1 ขอ้ มูลทวั่ ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม 1. เพศ ชาย จำนวน 45 คน หญงิ จำนวน 55 คน 2. อายุ อายุต่ำกว่า 15 ปี จำนวน 13 คน 30 คน 16 – 30 ปี จำนวน 18 คน 26 คน 31 – 40 ปี จำนวน 13 คน 41 – 50 ปี จำนวน 51 ปขี ึน้ ไป จำนวน 3. วุฒิการศึกษาสูงสุด 3.1 สำหรับบุคคลท่ัวไป ประถมศกึ ษา จำนวน 7 คน มธั ยมศกึ ษาตอนต้น จำนวน 12 คน มัธยมศกึ ษาตอนปลาย จำนวน 16 คน ตำ่ กว่าปริญญาตรี จำนวน 29 คน ปรญิ ญาตรี จำนวน 5 คน สูงกว่าปริญญาตรี จำนวน 1 คน 3.2 สำหรบั นักศกึ ษา กศน. ประถมศึกษา จำนวน 10 คน มัธยมศึกษาตอนตน้ จำนวน 10 คน มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย จำนวน 10 คน ตอนท่ี 2 ความพงึ พอใจกิจกรรมการเรยี นรู้ หรือการใหบ้ รกิ าร ทีเ่ ข้ารบั บริการ 1. โซนทำงาน หรือประชมุ (Co – Working Zone) ระดบั ความพึงพอใจ มากทส่ี ุด 2. โซนสง่ เสริมการอ่าน ค้นควา้ ข้อมูล สือ่ (Learning Zone) ระดับความพงึ พอใจ มากท่ีสดุ 3. โซนกิจกรรม (Activities Zone) ระดับความพงึ พอใจ มากท่ีสุด 4 โซน IT ศนู ยภ์ าษา หอ้ งภาพยนตร์ (Multimedia Zone and Language Center) ระดับความพึงพอใจ มากที่สดุ 5. โซนพักผ่อน (Relax Zone) ระดับความพึงพอใจ มากที่สุด 6. โซนกาแฟ (Coffee Zone) ระดับความพงึ พอใจ มากที่สุด ขอ้ เสนอแนะอ่นื ๆ/ความไมพ่ งึ พอใจ - ควรมกี ิจกรรมอย่างต่อเนือ่ ง

26 ปญั หาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ 1.ช่วงสถานการณ์ โควิด – 19 ทำให้ผ้รู ับบริการลดลง 2.ช่วงสถานการณ์ โควิด – 19 ทำให้การจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านไมเ่ ปน็ ตามเป้าหมายที่กำหนด 3.เพิม่ กิจกรรมส่งเสรมิ การอา่ นผ่าน เพจห้องสมุด Line ห้องสมุด สง่ เสรมิ การอา่ นผ่านควิ อาร์โคด้

ภาคผนวก

28

29

คณะผูจ้ ดั ทำเอกสาร วา่ ท่ี ร.ต.ศภุ ักษร พรหมมลู ที่ปรกึ ษา ผูอ้ ำนวยการศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตาม นางสาวเสาวภา บรุ มเลิศ อัธยาศัยอำเภอเมอื งอุดรธานี นางประคอง หาไชย บรรณารกั ษ์ชำนาญการพเิ ศษ นายเกษม แก้วดวง ครชู ำนาญการพเิ ศษ นายอภเิ ชษฐ์ ผาจวง ครู ครูผ้ชู ว่ ย นางสาวนงนชุ วงศ์หนองแวง สรปุ และเรียบเรยี ง บรรณารกั ษ์ ภาพประกอบ นางสาวนงนุช วงศ์หนองแวง บรรณารักษ์ นางสาวทองพูน วรรณสงคราม นักวชิ าการโสตทัศนศกึ ษา พิมพ/์ ปก นางสาวนงนุช วงศ์หนองแวง บรรณารักษ์ นางสาวทองพูน วรรณสงคราม นกั วชิ าการโสตทัศนศึกษา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook