คมู่ ือ (Work Manual) การตรวจวัดระดับความร้อน (Wet Bulb Globe Temperature: WBGT) ในโรงพยาบาลวชิรพยาบาล คณะแพทยศาสตรว์ ชริ พยาบาล หน่วยงาน อาชวี อนามัย สานักงานผอู้ านวยการโรงพยาบาลวชริ พยาบาล คณะแพทยศาสตรวชิรพยาบาล มหาวทิ ยาลยั นวมินทราธิราช
คำนำ คู่มือการปฏิบัติงานการวัดความร้อนในโรงพยาบาลวชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช ฉบับน้ี จัดทาขึ้นเพื่อต้องการให้บุคลากรได้รับความรู้ ความเข้าใจในข้ันตอนการทางานของ ตาแหน่งธุรการปฏิบัติงาน ในการตรวจวัดระดับความร้อน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของบุคลากรใน การประเมินความเสี่ยงของสภาพแวดล้อมทางกายภาพและทราบถึงขั้นตอนการปฏิบัติในการใช้ เครื่องวดั ระดบั ความร้อน (THERMAL ENVIRONMENT MONITOR) รนุ่ Quest temp ๐ 34 และ หวังเป็นอย่างย่ิงว่า คู่มือการปฏิบัติงานฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์แก่บุคลากรที่จะศึกษาเพื่อ กอ่ ให้เกดิ ประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการปฏิบตั ิงาน และสามารถบูรณาการความรู้ทไ่ี ด้รับกับ การปฏิบัติงานจริง เพื่อลดข้อผิดพลาดในกระบวนการดาเนินการที่จะเกิดข้ึนในการปฏิบัติงาน หากมีข้อบกพร่องประการใด ผู้จัดทาต้องขออภัยไว้ ณ ท่ีนี้ และจะพัฒนาระบบการดาเนินงาน ต่างๆให้เป็นระบบมากยง่ิ ขน้ึ งำนอำชวี อนำมยั และควำมปลอดภยั
สำรบญั หนา้ 1 คานา 1 1 สารบญั 1 1 บทท่ี 1 บทนา ความเป็นมาและความสาคัญ 2 วตั ถปุ ระสงค์ 2 ประโยชน์ทีค่ าดว่าจะได้รบั 2 ขอบเขตของค่มู อื ปฏบิ ัติงาน คาจากดั ความเบอื้ งตน้ 3 7 บทที่ 2 โครงสรา้ งและหน้าท่คี วามรับผดิ ชอบ 9 หนา้ ที่รับผิดชอบของหนว่ ยงาน ลักษณะงานทีป่ ฏิบตั ิ 10 โครงสรา้ งการบริหาร 11 บทท่ี 3 หลักเกณฑ์วธิ กี ารปฏบิ ัตงิ าน 11 หลักเกณฑ์การปฏบิ ัติงาน 11 วิธกี ารปฏบิ ัตงิ าน เงอ่ื นไข/ข้อสงั เกต/ขอ้ ควรระวัง/ส่ิงที่ควรคานึงในการปฏิบัติงาน บทที่ 4 เทคนคิ การปฏิบตั ิงาน กรณตี วั อยา่ งศกึ ษา ขนั้ ตอนการปฏิบตั ิงาน บทท่ี 5 ปญั หาและอปุ สรรคและข้อเสนอแนะ ปัญหาอุปสรรคในการปฏิบตั งิ าน แนวทางแก้ไขและพัฒนา ข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก
หน้า l 1 บทที่ 1 1.1 ควำมเป็นมำและควำมสำคัญ การตรวจวัดความร้อนในหน่วยงานเสี่ยง ต้องใช้เคร่ืองมือที่มีคุณภาพเป็นท่ียอมรับและมีบุคลากรที่ ชานาญ เข้าใจขั้นตอน กระบวนการ และข้อพิจารณา ในการประเมินความเส่ียงในที่ทางาน จึงจัดทาคู่มือการ ปฏิบัติงาน (Work Manual) เร่ืองการตรวจวัดความร้อนขึ้น ประกอบด้วยเนื้อหาและวิธีการปฏิบัติที่ใช้เป็น มาตรฐานการปฏิบตั งิ านให้เป็นในแนวทางเดยี วกัน 1.2 วัตถปุ ระสงค์ 1.2.1 เพื่อเป็นแนวทางให้ผู้ปฏิบัติงานสามารถตรวจวัดความร้อน และวิเคราะห์ผลการตรวจได้ถูกต้อง ครบถว้ น ตามลาดบั ขั้นตอนของกระบวนการการดาเนนิ งาน 1.2.2 เพ่ือใหผ้ ปู้ ฏบิ ัตงิ านใหม่สามารถใชเ้ ปน็ แนวทางการดาเนนิ งานใหไ้ ด้มาตรฐานเดยี วกนั 1.3 ประโยชน์ที่คำดวำ่ จะได้รบั 1.3.1 ทาให้ผู้ปฏิบัติงานทางานได้ครบถ้วนตามข้ันตอน และดาเนินงานซ่ึงจะส่งผลต่อประสิทธิภาพและความ เท่ยี งตรงของผลการตรวจ ใหเ้ กดิ ความนา่ เช่อื ถือมากข้นึ 1.3.2 ทาให้ผู้ท่ีมาปฏิบัติงานใหม่สามารถปฏิบัติได้ตามข้ันตอนที่วางไว้ได้อย่างถูกต้องและเป็นระบบการ ทางานทเี่ หมาะสมตามข้อกาหนดของท่ีสาคัญของกระบวนการ 1.4 ขอบเขตของคู่มือปฏิบัติงำน 1.4.1 คมู่ ือเล่มนี้ได้อธิบายถึงแนวทางการปฏบิ ัติงานเรื่องการตรวจวัดความรอ้ นในโรงพยาบาลวชริ พยาบาล 1.4.2 เนื้อหาในคู่มือจะนาเสนอแนวทางการปฏิบัติงาน ขั้นตอน วิธีการดาเนินงาน ได้เสนอ แนวทางในการ ควบคุมกากับดูแลการปฏิบัติงานและระบบงานที่เก่ียวข้อง เพื่อให้ผู้บริหาร หัวหน้างาน และผู้ที่เกี่ยวข้อง ได้รู้ กระบวนการการดาเนนิ งานตามหลักเกณฑ์ที่ถูกต้อง 1.5 คำจำกดั ควำมเบอ้ื งต้น ควำมร้อน เป็นพลังงานท่ีเกิดจากการเคลื่อนไหวหรือส่ันสะเทือนของโมเลกุลของวัตถุ ความร้อนเกิดจาก แหล่งกาเนิดที่สาคัญ 3 แหล่งคือ 1.เกิดจากการได้รับจากส่ิงแวดล้อมรอบตัว 2.เกิดจากกิจกรรมหรือการทางาน และ 3.เกดิ จากกระบวนการเผาผลาญสารอาหารทร่ี า่ งกายกินเข้าไป (Metabolism) ระดับควำมร้อน หมายความว่า อุณหภูมิเวตบัลบ์โกลบในบริเวณท่ีลูกจ้างทางาน ตรวจวัดโดยค่าเฉล่ียใน ช่วงเวลาสองชั่วโมงที่มีอุณหภูมิเวตบัลบ์โกลบสูงสุดของการทางานปกติ (ตามกฎกระทรวงฯเก่ียวกับความร้อน แสงสว่าง และเสียง พ.ศ. 2549) อุณหภูมิเวตบัลบ์โกลบ (Wet Bulb Globe Temperature : WBGT) เป็นดัชนีวัดสภาพความร้อนใน สิ่งแวดล้อมการทางาน (มีหน่วยวัดเป็นองศาเซลเซียส หรือองศาฟาเรนไฮท์) ซึ่งได้นาปัจจัยที่มีผลกระทบต่อ ความร้อนท่ีสะสมในร่างกายมาพิจารณา ได้แก่ ความร้อนที่เกิดข้ึนภายในร่างกายขณะทางาน และความร้อนจาก ส่งิ แวดล้อมการทางาน ซ่งึ ความรอ้ นจากสิง่ แวดล้อมการทางานถูกถ่ายเทมายงั ร่างกายได้ 3 วิธี คอื การนา การพา และการแผร่ ังสคี วามร้อน คมู่ ือปฏิบตั งิ าน Work Manual) เรอื่ ง การตรวจวดั ระดับความร้อน งานอาชีวอนามัย สานกั งานผอู้ านวยการโรงพยาบาล โทร.3567
หนา้ l 2 บทท่ี 2 โครงสรำ้ งและหน้ำทีค่ วำมรับผิดชอบ 2.1 หน้ำทค่ี วำมรับผดิ ชอบของหน่วยงำน ให้บริการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยแก่บุคลากรภายในคณะแพทยศาสตรว์ ชิรพยาบาล ในการประเมิน การสัมผัสสงิ่ คุกคามต่อสุขภาพ การจัดทาโปรแกรมตรวจสุขภาพตามความเสี่ยงของลักษณะงาน โดยใชเ้ ครือ่ งมือทาง อาชีวเวชศาสตร์ในการตรวจคัดกรองโรคจากการทางาน ได้แก่ การตรวจสมรรถภาพการมองเห็น การได้ยิน สมรรถภาพปอด ร่วมกับการตรวจวัดส่ิงแวดล้อมในการทางาน จัดทาโครงการเพ่ือป้องกันและเฝ้าระวังโรคจากการ ทางาน 2.2 ลกั ษณะงำนทปี่ ฏิบัติ งานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย เป็นหน่วยให้การดูแลสุขภาพบุคลากรในโรงพยาบาล เน้นการเฝ้า ระวังและป้องกันสิ่งคุกคามต่อสุขภาพ ประเมินภาวะสุขภาพของบุคลากรกลุ่มเสี่ยงตามลักษณะงาน ด้านสร้าง เสริมสุขภาพ ป้องกันโรค/การบาดเจ็บท่ีเกิดจากการทางาน เช่น การประเมินการสัมผัสสิ่งคุกคามต่อสุขภาพ การจัดโปรแกรมตรวจสุขภาพตามความเส่ียงของลักษณะงาน การตรวจวัดส่ิงแวดล้อมในการทางานและคัดกรอง โรคจากการทางาน โดยใช้เครื่องมือทางอาชีวเวชศาสตร์ ส่งเสริมสนับสนุนการส่ือสารและให้ความรู้ด้านสุขภาพ เพ่ือการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมสุขภาพ สร้างความเข้าใจให้แก่บุคลากรเก่ียวกับงานที่ส่งผลต่อสุขภาพ และ สุขภาพทีส่ ่งผลต่องาน ให้ความร่วมมือในการบริหารจัดการอนื่ ๆ ท่เี กย่ี วขอ้ ง เช่น กาหนดนโยบายด้านสขุ ภาพและ ความปลอดภัย จัดทาคู่มอื การปฏิบัตงิ าน และการเฝ้าระวงั บคุ ลากรรวมถงึ สิ่งแวดล้อมอย่างตอ่ เนื่อง 2.3 โครงสร้ำงกำรบรหิ ำร งานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ดาเนินงานภายใต้สานักงานผู้อานวยการโรงพยาบาลวชิรพยาบาล คณะแพทยศาสตรว์ ชริ พยาบาล มหาวิทยาลยั นวมนิ ทราธิราช อธิการบดี มหาวิทยาลยั นวมินทราธิราช คณบดี คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล กลุม่ ภารกจิ การศกึ ษา โรงพยาบาลวชริ พยาบาล กลมุ่ ภารกิจสนับสนนุ สานักงานผูอ้ านวยการโรงพยาบาล งานอาชวี อนามัยและความปลอดภัย พยาบาลวิชาชพี นักวิชาการสาธารณสุข นักจัดการงานท่วั ไป เจ้าพนกั งานธรุ การ พนักงานทวั่ ไป คมู่ อื ปฏิบตั ิงาน Work Manual) เรอ่ื ง การตรวจวดั ระดบั ความร้อน งานอาชีวอนามัย สานักงานผู้อานวยการโรงพยาบาล โทร.3567
หนา้ l 3 บทที่ 3 หลักเกณฑว์ ธิ กี ำรปฏบิ ตั ิ หลกั เกณฑ์กำรปฏิบัตงิ ำน การตรวจวัดความร้อนในโรงพยาบาลนั้น เป็นการตรวจวัดเพ่ือป้องกันการเกิดภาวะอันตรายจากความร้อน อาจมีผลทาให้พนักงานหรือผู้ทางานเกิดการเป็นลม ช็อกหมดสติ เกิดการขาดน้าอย่างเฉียบพลัน ซ่ึงเป็นภาวะท่ี อันตรายต่อสุขภาพและชีวิตทั้งสิ้น ดังนั้น จึงควรมีการตรวจวัดความร้อนในโรงพยาบาล เคร่ืองมือที่ใช้ตรวจวัด ความร้อนในโรงพยาบาลมีทั้งเครื่องมือแบบธรรมดาและเคร่ืองมือแบบอตั โนมตั ิซึ่งเคร่ืองมือแบบอัตโนมัติแบงออก เป็น 2 ประเภท ดงั น้ี 1. การประเมนิ ผลกระทบของความร้อนแบบบุคคล (Personal Heat Stress) 2. การประเมนิ ผลกระทบของความรอ้ นแบบพน้ื ที่ (Area Heat Stress) คุณลกั ษณะของเคร่อื งมือและอปุ กรณ์ (เครอ่ื งมือวัดระดับควำมร้อนWBGTชนิดท่ีสำมำรถอำ่ นค่ำไดทันที) QUESTEMP ๐ 34 เป็นเครื่องตรวจวัดค่า Heat Stress การคานวณค่าของเคร่ืองจะอยู่ในรูปของดัชนี WBGT ซึ่งเป็นวิธีท่ีได้รับการยอมรับสาหรับการพิจารณาระดับค่า Heat Stress ซ่ึงข้ึนกับสภาพแวดล้อมน้ันๆ QUESTEMP ๐ 34 จะวัดค่าพารามิเตอร์ 3 ตัว เช่น DRY BULB (DB), EWT BULB (WB) และ GLOBE (G) ดัชนี WBGT เป็นคา่ เฉลย่ี ถ่วงน้าหนกั ของการวดั คา่ เหลา่ น้ี QUESTEMP ๐ 34 จะแสดงคา่ WBGT (Indoor) และ WBGT (Outdoor) เช่นเดยี วกับค่าอน่ื ๆ ของอณุ หภูมิ ของ sensor แต่ละอนั ซ่ึงถกู ใช้การคานวณหาค่า WBGT อณุ หภูมจิ ะแสดงค่าได้ท้งั องศาเซลเซียสและองศาฟาเรนไฮต์ ชุด sensor ท่ีอยู่ส่วนบนของเคร่ือง สามารถถอดออกได้ง่าย สาหรับการประยุกต์ใช้วัดค่าอุณหภูมิ ในระยะห่าง ออกไปจากปกติท่อี ยู่บนเครื่อง เมื่อใช้ Battery เป็นแหล่งพลังงานจะสามารถจัดเก็บข้อมูลอย่างต่อเน่ืองได้ถึง 140 ชั่วโมง การพิมพ์ข้อมูล สามารถทาได้โดยการต่อสายเคเบ้ิลท่ี data port ด้านขา้ งของ QUESTEMP ๐ 34 เข้ากับ printer เครื่องคอมพิวเตอร์ QUESTEMP ๐ 34 จะมี hardware ซ่ึงทาให้ sensor ทั้ง 3 สามารถใช้ในการตรวจวัดค่าอุณหภูมิได้ในท่ีมี ความสูง 3 ระดับ การอ่านค่า WBGT ทงั้ 3 จะถูกเฉลีย่ โดยมาตรฐานของ ISO 7243 เพ่อื จะได้คา่ ดัชนีประกอบ คมู่ อื ปฏบิ ัติงาน Work Manual) เรอ่ื ง การตรวจวดั ระดับความรอ้ น งานอาชวี อนามัย สานกั งานผ้อู านวยการโรงพยาบาล โทร.3567
SENSOR NATURAL WET BULB หนา้ l 4 THERMOMETER DRY BULB THERMOMETER GLOBE THERMOMETER NATURAL WET BULB THERMOMETER เทอร์โมมิเตอร์กระเปาะเปียกแบบธรรมชาติจะให้ค่าที่มีผลจากความชื้น ท่ีมีต่อความช้ืนสัมพัทธ์แต่ละอัน และความเร็วลม โดยวัดค่าจากปริมาณการระบายความร้อนแบบระเหย ณ จุดที่เทอร์โมมิเตอร์ถูกสวมด้วยปลอก ผ้าที่เปียกชื้น QUESTEMP ๐ 34 ใช้ปลอกผ้าท่ีทาจากผ้าฝ้ายสวมใส่ไปในภาชนะซึ่งบรรจุน้าไว้ ควรใช้น้ากล่ัน สะอาด นา้ ประปาธรรมดาไม่ควรใช้ เพราะจะทง้ิ คราบไวภ้ ายหลังการระเหย ทาให้อายุการใช้งานของปลอกผ้าสั้นลง และยังเป็นสาเหตุให้การอ่านค่าของอุณหภูมิสูงกว่าท่ีควรจะเป็น ถ้าปลอกผ้าเสียให้ทาการเปลี่ยนโดยดึงปลอกผ้า ออกมา หลังจากน้นั ทาการเปลย่ี นสวมปลอกผา้ อันใหมจ่ นสดุ ถึงพนื้ ภาชนะ GLOBE THERMOMETER เ ท อ ร์ โ ม มิ เ ต อ ร์ ลู ก ก ล ม จ ะ แ ส ด ง ค่ า ก า ร แ ผ่ ค ว า ม ร้ อ น ซ่ึ ง ขึ้ น กั บ ทิ ศ ท า ง ข อ ง แ ส ง ห รื อ วั ต ถุ ท่ี ร้ อ น ใ น สภาพแวดลอ้ มภายใน Sensor อุณหภมู จิ ะมวี ัตถุทรงกลมทาด้วยทองแดงเคลือบสีดา ทาให้สามารถวัดคา่ อุณหภูมิ ที่สูงขึ้นได้ ดัชนี WBGT ข้ึนกับการตอบสนองของลูกกลมขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 6 น้ิว เครื่อง QUESTEMP ๐ 34 จะใช้ลูกกลมขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 2 นิ้ว สาหรับเวลาตอบสนองที่เร็วกว่าอุณหภูมิของลูกกลมขนาด เสน้ ผา่ ศูนย์กลาง 6 น้วิ DRY BULB THERMOMETER เทอร์โมมิเตอร์ของกระเปาะแหง้ ใชว้ ดั อุณหภมู ิของอากาศโดยรอบ การวัดแบบนใ้ี ช้ในการคานวณค่า WBGT OUTDOOR เม่อื มกี ารแผค่ วามร้อนของแสงอาทิตย์ กำรใช้ QUESTEMP ๐ 34 ในการวัดค่าความร้อน เครื่องควรถูกตั้งในที่ที่สูง 3.5 ฟุต หรือ 1.1 เมตร สาหรับการตั้งเคร่ืองในแนวต้ัง 2 ฟุต หรือ 0.6 เมตร ในกรณีทต่ี ง้ั บนแกน sensor array การติดตงั้ บนขาตั้งควรติดต้งั ให้อยู่ในตาแหนง่ ที่ไมโ่ ดนสิ่งใด ปิดกั้น การแผ่รังสีความร้อนหรือการไหลเวียนของลมเกลียวขนาด ¼ นิ้ว จะไม่อยู่ในตาแหน่งใต้ของเครื่อง QUESTEMP ๐ 34 ใช้ในการต่อกับขาตัง้ 3 ขา แบบกลอ้ งถ่ายรูปมาตรฐาน เวลาทาการ RUN เก็บขอ้ มูลหรอื วัดค่า ไม่ควรยืนอยู่ใกล้เครื่อง เพราะตัวเราอาจเป็นตัวแผ่ความร้อน ตัวก้ันความร้อนหรือตัวบังการพัดพาของอากาศ ทาใหค้ า่ ที่วดั ไดไ้ มใ่ ชค่ า่ ท่ีแทจ้ รงิ ของสภาพแวดล้อมน้นั ในการใชง้ านจะตอ้ งตรวจเชค็ เสมอเพอ่ื ให้เกิดความแน่ใจว่ากระเปาะเปียกชืน้ นา้ อยู่ ภายหลังจากการเตมิ น้า หรอื การเปล่ยี นสถานท่ีต้ังเคร่ืองใหม่ทุกครั้งจะต้องปล่อยให้เครื่องทางานก่อนเปน็ เวลา 10 นาที ก่อนทาการ RUN เครอื่ ง เพ่อื ใหก้ ารอ่านคา่ ของลูกกลมและกระเปาะเปียกมีความเสถยี รภาพ คมู่ อื ปฏิบตั ิงาน Work Manual) เร่ือง การตรวจวดั ระดับความรอ้ น งานอาชีวอนามยั สานกั งานผอู้ านวยการโรงพยาบาล โทร.3567
หน้า l 5 กำรวัดคำ่ WBGT ที่ควำมสูง 3 ระดับ ตำมมำตรฐำน ISO-7243 ในการวัดอุณหภูมิในพ้นื ท่ีที่คนงานมีอุณหภมู ิไม่เทา่ กันทุกระดบั จึงเปน็ ความจาเป็นในการพจิ ารณาค่าดัชนี WBGT ในความสูง 3 ระดับ ได้แก่ ระดับของ ข้อเท้า ท้อง และศีรษะ อุณหภูมิท่ีได้จาก sensor ทั้งสามชุดจะถูก คดิ เป็นคา่ เฉลีย่ ถ่วงนา้ หนกั หรือ AVG ปมุ่ กำรใชง้ ำน ปมุ่ การใชง้ านมี 4 ปมุ่ ดงั น้ี 1 2 4 3 1. I/O (ENTER) ใช้ในการเปิด-ปิดเครอ่ื ง, ใชเ้ ลือก Mode หรอื เปลย่ี นแปลงคา่ ตา่ งๆ ในการ Setup และใช้ใน การเปล่ียนดคู ่าการแสดงผลของ Sensor Bar ชดุ อื่น 2. ARROW ใช้ในการเล่ือนขน้ึ ดูคา่ ต่างๆ 3. ARROW ใช้ในการเลื่อนลงดูคา่ ต่างๆ 4. RUN (STOP) ใชใ้ นการเริม่ – หยดุ เกบ็ ตวั อย่าง และใชใ้ นการออกจาก Setup, Print หรือ Reset Mode หน้าจอแสดงผล เป็น LCD ขนาดใหญม่ ีการแสดงผลดงั น้ี หนา้ จอท่ี 1 Wet (Wet Bulb) และ DRY (Dry Bulb) หน้าจอท่ี 2 GLOBE หนา้ จอท่ี 3 WBGTi (WBGT Indoor) และ (WBGTo (WBGT Outdoor) หน้าจอท่ี 4 RH (Relative Humidity) และ H.I. หรอื HU (Heat หรือ Humidex) หนา้ จอที่ 5 BAT (Battery Voltage) และ MEM (จานวน Memory เหลอื แสดงเป็นวนั ) ทางด้านขวาบนของหน้าจอจะแสดงชุดของ sensor ทแ่ี สดงผลการตรวจวัด ทางด้านขวาล่างของหน้าจอจะแสดงเคร่ืองหมาย * เมื่ออย่ใู น RUN Mode และมีการเก็บข้อมูลหน้าจอจะ แสดงผล --- เมือ่ o Heat Index หรอื Humidex อยนู่ อกชว่ งการตรวจวัด o อุณหภมู ิอยู่นอกชว่ งการตรวจวัด o Sensor ตรวจวดั อณุ หภมู เิ สยี คูม่ ือปฏิบัตงิ าน Work Manual) เรอ่ื ง การตรวจวดั ระดบั ความรอ้ น งานอาชวี อนามัย สานกั งานผู้อานวยการโรงพยาบาล โทร.3567
หน้า l 6 Mode ในกำรตรวจวดั หนา้ จอแสดง Mode ในการตรวจวัด ดังน้ี VIEW PRINT SETUP RESET โดยใช้ปุ่ม ARROW เล่อื นเลอื ก ใหอ้ ยดู่ า้ นหน้า แลว้ กดปุม่ ENTER 1. VIEW หนา้ จอแสดงผลการตรวจวัดแตไ่ ม่เก็บข้อมูล โดยถ้ามีการต่อชดุ sensor ตรวจวัดมากกว่า 1 ชุด จะสามารถเปลี่ยนดูขอ้ มูลของการตรวจวดั จากชุดอนื่ ได้โดยยกเลกิ ENTER และสามารถกลบั ไปส่หู น้าจอหลักได้ โดยกดปุ่ม ENTER ค้างไว้ 3 วนิ าที 2. SETUP โดยใช้ปุ่ม ARROW เลือก Parameter ทต่ี ้องการเปล่ยี นแปลงแล้วกดปุ่ม ENTER Temperature : Celsius , Fahrenheit Language : English, Spanish, French, Italian, German Time : แบบ 24 hr. Date : Day-Month-Year Log Rate : 1, 2, 5, 10, 15, 30, 60 min Heat Index (United State), Humidex (Canada) ออกจากการ Setup โดยการกดปมุ่ RUN STOP 3. PRINT สามารถพมิ พข์ ้อมูลไดโ้ ดยตรงผา่ นเครื่องพิมพ์ โดยการกดปุ่ม I/O เพือ่ เริ่มพิมพ์ผล และกดปมุ่ RUN STOP เพือ่ กลับสู่ Main Menu 4. RESET ใช้ในการลบข้อมลู จากหนว่ ยความจา โดยการกดปุ่ม I/O ไปท่ี Reset Mode จากน้ันทาการลบ ขอ้ มลู โดยการกดป่มุ I/O ค้างไว้ 3 วินาที 5. RUN เริ่มเกบ็ ข้อมลู โดยกดปุม่ RUN หนา้ จอจะแสดงผล * และสามารถหยดุ เก็บไดโ้ ดยกดปุ่ม STOP หรอื กดปุ่ม I/O ทง้ิ ไว้ 3 วนิ าที ถ้า Memory Full หรอื ไม่ได้ต่อ Sensor กบั ตัวเครอื่ ง แลว้ กดปมุ่ RUN หนา้ จอจะแสดงผล Error Message และถ้า Memory Full ในขณะเก็บตวั อยา่ ง * ที่ด้านขวาลา่ งของจอ จะเปลยี่ นเปน็ F และหนา้ จอ หนว่ ยความจาจะแสดง 0.0 กำรเก็บขอ้ มูล สามารถเกบ็ ขอ้ มูลไดส้ งู สดุ ประมาณ 11 วัน เมือ่ Logging Interval เป็น 1 นาที ตรวจเช็คกำรทำงำน โมดลู สอบเทียบรนุ่ 053 – 923 ใหต้ รวจเชค็ การทางานของตวั เครอ่ื ง QUEST TEMP กอ่ นและหลงั การใช้ งาน โดยถอดชดุ sensor bar บนตัวเครือ่ งออก และเสยี บชุดโมดลู สอบเทยี บเข้าไปแทนจากนนั้ อ่านคา่ บนหนา้ จอ ท่เี คร่อื ง เทยี บกบั คา่ พารามิเตอรบ์ นโมดลู ท่กี าหนดมาถ้า +/- มากกวา่ หรือน้อยกวา่ 0.5 องศา ต้องส่งเครอ่ื ง กลับมาทาการสอบเทยี บ , ปรับเทยี บ(Calibrate) ต่อไป ควร Calibrate ปลี ะ 1 ครง้ั ท้ังตวั เคร่ืองและโมดูล คมู่ ือปฏบิ ัติงาน Work Manual) เร่อื ง การตรวจวดั ระดับความร้อน งานอาชีวอนามยั สานักงานผอู้ านวยการโรงพยาบาล โทร.3567
หนา้ l 7 ตรวจสอบรำยละเอียดเคร่ืองมือตรวจวัดสภำพควำมร้อนในบรรยำกำศกำรทำงำนใหเ้ ป็นไปตำมกฎหมำยกำหนด เคร่ืองมือตรวจวัดระดับความร้อนตามที่กฎหมายกาหนดซึ่งปัจจุบันนิยมใช้เคร่ืองมือวัดระดับความร้อน WBGT เป็นชนิดท่ีสามารถอ่านค่าและคานวณค่า WBGT ไดโดยตรง คุณลักษณะของเครื่องมือวัดระดับความร้อน WBGT ต้องสอดคลองกับมาตรฐานขององค์การมาตรฐานระหว่างประเทศ(International Organization for Standardization : ISO) คอื ISO 7243 หรือเทียบเท่า เช่น DIN EN 27243 (เยอรมัน) หรือดีกวา่ ก่อนการใช้งาน ทุกคร้ังต้องทาการปรับเทียบความถูกต้องของเคร่ืองมือวัดระดับความร้อน WBGT ด้วยอุปกรณ์ปรับเทียบของ เคร่อื งซงึ่ ผผู้ ลติ จัดไวให้พรอมอุปกรณ์ เช่น Calibration Verification Module และทาการปรับเทยี บทั้งเคร่ืองมือ วัดระดับความร้อน WBGT และ Calibration Verification Module หรืออุปกรณ์สาหรับการปรับเทียบท่ีผู้ผลิต กาหนด ไวจากหน่วยงานท่ีไดรบั การรับรองอยา่ งน้อยปีละ 1 คร้ัง หรือตามคูมอื ทผ่ี ู้ผลติ กาหนดไว วิธีกำรปฏบิ ัติ รำยละเอยี ดงำน วธิ ีกำรปฏิบตั ิงำน 1. ลงพ้นื ท่ีสำรวจตำมหน่วยงำนทีจ่ ะ ไปวัดระดบั ควำมร้อน ลงพืน้ ท่ีเพ่ือหาขอ้ มลู เกย่ี วกับความเสยี งลักษณะงาน และผลกระทบ จากการเกิดความร้อน 2. ประชุม - ลงสารวจพน้ื ทีท่ ่เี สย่ี งต่อการสัมผสั ความร้อน เชน่ งานบริการ ผ้า ฝา่ ยโภชนาการ กับพยาบาลอาชีวอนามัย นักวิชาการสาธารณสขุ โดยการจดั บนั ทึกความเสี่ยงและรายละเอียดการสมั ผัสสง่ิ แวดล้อมท่ี เสี่ยงต่อสขุ ภาพของบคุ ลากรทั้งหมด จดั ลาดบั สาคัญ และผลกระทบจากการไดร้ ับความร้อน - ประชุมเพอ่ื หารือถึงความสาคญั ของปญั หาและบรเิ วณท่มี ี สงิ่ แวดล้อมเส่ยี งต่อสขุ ภาพของบคุ ลากร พร้อมลงมติจดุ ตรวจวดั ท่ี ชัดเจน ตามแตล่ ะจดุ โดยมีพยาบาลอาชีวอนามัยและนกั วิชาการ สาธารณสขุ แสดงความคิดเห็นในจดุ เสี่ยง - บันทึกขอ้ มลู บรเิ วณทเี่ ข้าตรวจวดั งำนบรกิ ำรผ้ำ 1. หน้าเคร่ืองซักผ้า เบอร์ 1 - 2 2. หน้าเครอื่ งซกั ผ้าอุโมงค์ 1 - 4 3. เครอื่ งซักผา้ เบอร์ 3 – 4 (ด้านนอก) งำนโภชนำกำร 1.จุดปรุงอาหารเฉพาะโรค 2.จดุ ปรงุ อาหารพเิ ศษ - สามัญ 3.จดุ ปรุงอาหารอิสลาม + น้าซุป 4.จดุ หุงข้าว 5.บริเวณล้างจาน คูม่ อื ปฏบิ ัติงาน Work Manual) เรอื่ ง การตรวจวดั ระดับความร้อน งานอาชีวอนามยั สานกั งานผอู้ านวยการโรงพยาบาล โทร.3567
หน้า l 8 3. กำรเตรยี มเครื่องมอื พรอ้ มใช้ สอบเทียบเคร่ืองวัดระดบั ความรอ้ น ก่อนใช้งานเพอ่ื ให้เครื่องมือ (Calibrate) พร้อมใช้ และได้มาตรฐาน มีข้ันตอนดงั น้ี 4. กำรตดิ ตง้ั เครอื่ ง ตรวจวัดควำมรอ้ น 1. นาเครื่องวัดระดับความร้อน (THERMAL ENVIRONMENT MONITOR) รุ่น QUESTEMP ๐ 34 ถอดฝาครอบออก 5. วิเครำะหผ์ ลกำรตรวจวัดระดับ 2. นาเอาตัว Calibrate มาเสียบดา้ นบนตัวเครอื่ ง ควำมรอ้ น 3. เปิดเครอื่ งแลว้ อา่ นผล ค่าทีไ่ ดต้ ้องเทา่ กับ Wet : 12.7, Dry : 46.1, Globe : 69.8, RH : 53 % ตดิ ต้ังเครื่องตรวจวดั ระดบั ความรอ้ นบรเิ วณที่บคุ ลากรปฏิบัตงิ าน มขี ั้นตอนดังน้ี 1. จัดเตรยี มและตรวจสอบอปุ กรณ์ หรือเครื่องมือที่ใช้ในการ ตรวจวดั ระดบั ความร้อนให้มคี ุณลกั ษณะตามท่ีกาหนดไว 2. ปรับระดับขาตั้งออกแลว้ ยกระดบั ความสงู ของขาตั้ง อยู่ในระดบั หนา้ อกของพนักงาน นาไปวางไว้ตรงจุดที่ต้องการวัด ใกล้กบั จดุ ที่ คนทางานอยูมากทีส่ ดุ ทง้ั น้ีต้องไมขดั ขวางการทางานของคนงาน 3. นาเคร่อื งวัดระดบั ความร้อน (THERMAL ENVIRONMENT MONITOR) ร่นุ Quest temp ๐ 34 มาตดิ กบั ขาต้งั หยดน้ากลั่นลง บนกระเปาะเทอรโมมเิ ตอร์ โดยปลายอกี ด้านหนง่ึ ของผ้าจุ่มอยู่ในน้า กลัน่ ใหจ้ ดั กระเปาะของเทอรโมมเิ ตอรอยู่สงู เหนือระดบั น้ากลั่นที่ บรรจุในภาชนะ ประมาณ 1 นว้ิ 4. ต้งั อุปกรณห์ รือเครื่องมือไวอยา่ งน้อย 30 นาที กอ่ นอ่านค่า บนั ทึกคา่ NWB, GT, DB หรอื คา WBGT และระยะเวลาการทางาน ของพนักงานในจุดการทางานนนั้ ๆสาหรบั อปุ กรณ์ตรวจวดั สภาพ ความร้อนที่ไมสามารถคานวณ คาจากเคร่ืองมือโดยตรงได้ ให้นามา ต่อกับอปุ กรณ์คอมพิวเตอร์ 5.1 นาผลทตี่ รวจวัดจากเคร่ืองวดั ระดบั ความร้อนมาแปลผลจาก เครื่องคอมพิวเตอร์ มขี น้ั ตอนดังนี้ 1. นาเครอื่ งวดั ระดับความร้อนมาต่อเขา้ กับอุปกรณค์ อมพิวเตอร์ 2. เลอื กจุดทีต่ ้องการอา่ นผลการตรวจ 3. ดาวนโ์ หลดข้อมูลในเครื่องวดั ระดับความร้อน 4. แลว้ ดูผลระดบั ความรอ้ นจากค่า WBGT Out Avg คู่มอื ปฏบิ ัติงาน Work Manual) เร่อื ง การตรวจวดั ระดบั ความรอ้ น งานอาชีวอนามยั สานักงานผู้อานวยการโรงพยาบาล โทร.3567
6. รำยงำนผล หนา้ l 9 รายงานผลการตรวจวดั ระดบั ความร้อนแจง้ ให้หนว่ ยงาน - หากผลการตรวจวดั ระดบั ความร้อน เกนิ 32 องศา ให้แนะนา วธิ ีปฏิบตั ิขณะทางาน และตดิ ป้ายเตอื น เพ่ือป้องกนั ผลกระทบต่อ สุขภาพขณะปฏิบตั งิ าน - หากผลการตรวจวดั ระดับความรอ้ น ไม่เกิน 32 องศา รายงาน ผลใหก้ บั หน่วยงาน และเฝา้ ระวังป้องกนั ต่อไป โดยการตรวจวัดซา้ ทกุ ๆ 3 เดือน เงอื่ นไข/ข้อสังเกต/ข้อควรระวงั /ส่ิงทค่ี วรคำนงึ ในกำรปฏบิ ตั ิงำน -ตอ้ งสอบเทียบ (Calibrate) ก่อนนาเครื่องมือมาตรวจวัดทุกครง้ั -ผู้ตรวจวัดตอ้ งมีความรใู้ นการใช้เคร่อื งวัดระดบั ความร้อน คู่มอื ปฏบิ ตั งิ าน Work Manual) เร่ือง การตรวจวดั ระดับความร้อน งานอาชีวอนามยั สานกั งานผู้อานวยการโรงพยาบาล โทร.3567
หนา้ l 10 บทที่ 4 เทคนิคกำรปฏิบัติงำน ขนั้ ตอนกำรปฏิบตั งิ ำน Work Flow ขัน้ ตอนการปฏิบตั ิงาน การวดั ระดบั ความรอ้ นในโรงพยาบาลวชิรพยาบาล ลำดั ระยะ ผังกระบวนกำร รำยละเอียดงำน ผู้รบั ผดิ ชอบ เอกสำรท่เี ก่ียวข้อง บที่ เวลำ 1 1 วนั ลงพ้ืนทส่ี ารวจตาม ลงพ้นื ทีเ่ พื่อหาข้อมูล - พยาบาลอาชวี อนามยั แบบประเมิน 2 2 ซ.ม. หนว่ ยงานที่จะไปวดั เกย่ี วกบั ความเส่ียง - นักวิชาการสาธารณสุข สิ่งแวดล้อม ลกั ษณะงาน และ - เจา้ หน้าที่ธุรการ ระดบั ความร้อน ผลกระทบจากการเกดิ แบบประเมนิ ความรอ้ น - พยาบาลอาชวี อนามัย สิง่ แวดล้อม ประชมุ - นักวชิ าการสาธารณสขุ สรุปผลการประชมุ จัดลาดับสาคัญ และ - เจ้าหนา้ ท่ธี ุรการ ผลกระทบจากการไดร้ ับ ความรอ้ น 3 20 การเตรยี มเครื่องมือพรอ้ มใช้ สอบเทยี บเคร่อื งวดั - เจ้าหน้าทีธ่ ุรการ - ใบรายการอุปกรณ์ นาที (Calibrate) ระดบั ความร้อน กอ่ นใช้ -เคร่อื งวดั ระดบั ความ งานเพ่อื ให้เครื่องมือ - นกั วิชาการสาธารณสขุ รอ้ น (THERMAL 4 30 การติดตง้ั เครอื่ ง พร้อมใช้ และได้ - เจา้ หนา้ ทธ่ี ุรการ ENVIRONMENT นาที วดั ระดบั ความร้อน มาตรฐาน MONITOR) รุ่น ตอ่ จุด - นกั วชิ าการสาธารณสขุ Quest temp ๐ 34 วิเคราะหผ์ ลการตรวจวัด ตดิ ตัง้ เครือ่ งวัดระดบั - เจ้าหน้าท่ีธุรการ 5 10 ระดับความรอ้ น ความร้อนบรเิ วณท่ี -ใบลงผลการวดั นาที บุคลากรปฏบิ ตั ิงาน - นกั วชิ าการสาธารณสุข -เครอ่ื งวัดระดบั ความ ตอ่ จดุ รายงานผล - เจา้ หนา้ ที่ธุรการ ร้อน (THERMAL นาผลทีต่ รวจวัดจาก ENVIRONMENT 6 3 ช.ม. เครือ่ งวดั ระดบั ความ MONITOR) รนุ่ รอ้ นมาแปลผลจาก Quest temp ๐ 34 เครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ - ขาตง้ั เครอ่ื ง ผลการตรวจวัดระดบั - เคร่ืองวดั ระดบั ความ ความรอ้ นท่ไี ด้ ร้อน (THERMAL ประมวลผลแลว้ ตอ้ งแจ้ง ENVIRONMENT ใหห้ นว่ ยงานที่ทาการ MONITOR) รุ่น ตรวจวัดทราบ Quest temp ๐ 34 - สายUSB เช่อื มต่อ คอมพิวเตอร์ - ใบรายงานผล - ป้ายเตอื น ในจดุ ทว่ี ดั แลว้ อุณหภมู คิ วาม รอ้ น เกนิ มาตาฐาน ค่มู อื ปฏบิ ตั ิงาน Work Manual) เรือ่ ง การตรวจวดั ระดบั ความรอ้ น งานอาชีวอนามัย สานักงานผู้อานวยการโรงพยาบาล โทร.3567
หน้า l 11 บทที่ 5 ปัญหำและอุปสรรคและข้อเสนอแนะ ปัญหำอุปสรรคในกำรปฏิบตั งิ ำน งานโภชนาการและงานบรกิ ารผ้ามปี รมิ าณงานในแตล่ ะวันไมเ่ ท่ากัน ดังนน้ั เวลาในการปฏิบตั งิ านอาจจะไม่ ตรงตามเวลาท่กี าหนดได้ แนวทำงกำรแก้ไขและพฒั นำ เน่อื งจากงานบริการผา้ และฝ่ายโภชนาการปฏิบตั งิ านตามปริมาณงานจริงทาให้ไมส่ ามารถระบรุ ะยะเวลาที่ ชดั เจนได้ ดังนั้นเจ้าหน้าท่ีอาชวี อนามยั ตอ้ งประสานงานทุก ๆ ครง้ั ก่อนท่จี ะลงไปปฏบิ ัติหนา้ ที่ ขอ้ เสนอแนะ ปฏิบัตติ ามขั้นตอนขบวนการการทางานชว่ ยเพิ่มประสทิ ธภิ าพจากการทางานได้ คมู่ อื ปฏิบตั งิ าน Work Manual) เรอื่ ง การตรวจวดั ระดบั ความรอ้ น งานอาชีวอนามยั สานักงานผู้อานวยการโรงพยาบาล โทร.3567
หน้า l 12 บรรณำนกุ รม กฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการดา้ นความปลอดภัย อาชวี อนามยั และ สภาพแวดลอ้ มในการทางานเก่ยี วกบั ความร้อน แสงสว่าง และเสยี ง พ.ศ. 2559 แนวปฏิบัติตามกฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการดา้ นความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางานเกีย่ วกับความร้อนแสงสว่าง และเสียง พ.ศ. 2559 คมู่ ือปฏบิ ตั งิ าน Work Manual) เรื่อง การตรวจวดั ระดับความรอ้ น งานอาชีวอนามยั สานกั งานผูอ้ านวยการโรงพยาบาล โทร.3567
หนา้ l 13 ภาคผนวก ก แบบรายงานผลการตรวจวัดระดับความร้อน (WBGT) ในท่ีทางาน ค่มู อื ปฏิบตั งิ าน Work Manual) เรื่อง การตรวจวดั ระดับความรอ้ น งานอาชวี อนามยั สานักงานผู้อานวยการโรงพยาบาล โทร.3567
หนา้ l 14 คูม่ อื ปฏบิ ตั งิ าน Work Manual) เรอื่ ง การตรวจวดั ระดับความร้อน งานอาชีวอนามัย สานักงานผ้อู านวยการโรงพยาบาล โทร.3567
หน้า l 15 ภาคผนวก ข กฎกระทรวง กาหนดมาตรฐานในการบรกิ าร จัดการ และดาเนนิ การดา้ นความปลอดภยั อาชีวอนามยั และ สภาพแวดล้อมในการทางานเกี่ยวกบั ความร้อน แสงสว่าง และเสยี ง พ.ศ. 2559 คู่มอื ปฏิบตั ิงาน Work Manual) เร่อื ง การตรวจวดั ระดับความร้อน งานอาชวี อนามยั สานกั งานผอู้ านวยการโรงพยาบาล โทร.3567
หนา้ l 16 คูม่ อื ปฏบิ ตั งิ าน Work Manual) เรอื่ ง การตรวจวดั ระดับความร้อน งานอาชีวอนามัย สานักงานผ้อู านวยการโรงพยาบาล โทร.3567
หนา้ l 17 คูม่ อื ปฏบิ ตั งิ าน Work Manual) เรอื่ ง การตรวจวดั ระดับความร้อน งานอาชีวอนามัย สานักงานผ้อู านวยการโรงพยาบาล โทร.3567
หนา้ l 18 คูม่ อื ปฏบิ ตั งิ าน Work Manual) เรอื่ ง การตรวจวดั ระดับความร้อน งานอาชีวอนามัย สานักงานผ้อู านวยการโรงพยาบาล โทร.3567
หนา้ l 19 คูม่ อื ปฏบิ ตั งิ าน Work Manual) เรอื่ ง การตรวจวดั ระดับความร้อน งานอาชีวอนามัย สานักงานผ้อู านวยการโรงพยาบาล โทร.3567
หนา้ l 20 คูม่ อื ปฏบิ ตั งิ าน Work Manual) เรอื่ ง การตรวจวดั ระดับความร้อน งานอาชีวอนามัย สานักงานผ้อู านวยการโรงพยาบาล โทร.3567
หนา้ l 21 คูม่ อื ปฏบิ ตั งิ าน Work Manual) เรอื่ ง การตรวจวดั ระดับความร้อน งานอาชีวอนามัย สานักงานผ้อู านวยการโรงพยาบาล โทร.3567
หนา้ l 22 ภาคผนวก ค อปุ กรณต์ รวจเครือ่ งตรวจวัดระดับความร้อน (Wet Bulb Globe Temperature : WBGT) คู่มอื ปฏิบัตงิ าน Work Manual) เร่ือง การตรวจวดั ระดับความร้อน งานอาชีวอนามยั สานกั งานผู้อานวยการโรงพยาบาล โทร.3567
หนา้ l 23 อปุ กรณ์ตรวจวัดระดับกำรตรวจวดั ระดับควำมรอ้ น (Wet Bulb Globe Temperature : WBGT) 1. เครื่องวัดระดับควำมรอ้ น 2. SPARE WICK KIT (ผำ้ ฝำ้ ยสำรอง) 3. CALIBRATION VERFICATION MODULE (อปุ กรณ์สอบเทียบเคร่ืองมือก่อนใชง้ ำน) 4. ขวดบรรจนุ ำ้ กล่ัน (WATER BOTTLE) 5. สำยตอ่ เคร่ืองคอมพวิ เตอร์ PC CABLE, ไขควง 6. ฐำนรองตัวเครอื่ งกบั ขำต้ังกล้อง 7. ถ่ำน alkaline 9 A คู่มอื ปฏบิ ัติงาน Work Manual) เรื่อง การตรวจวดั ระดับความรอ้ น งานอาชีวอนามัย สานกั งานผูอ้ านวยการโรงพยาบาล โทร.3567
Search
Read the Text Version
- 1 - 26
Pages: